1.กังหันลมขนาดจิ๋ว (Micro Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าน้อยกว่า 1 การแปล - 1.กังหันลมขนาดจิ๋ว (Micro Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าน้อยกว่า 1 ไทย วิธีการพูด

1.กังหันลมขนาดจิ๋ว (Micro Wind Turb

1.กังหันลมขนาดจิ๋ว (Micro Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าน้อยกว่า 1.5 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนัก เช่น การใช้กับเครื่องมือสื่อสาร หรือแสงสว่างในบางเวลา
2.กังหันลมขนาดเล็ก (Small Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 1.5-20 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนัก เช่น ใช้ตามครัวเรือนหรือสำนักงานขนาดเล็กที่อยู่ห่างไกล
3.กังหันลมขนาดกลาง (Medium Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 20-200 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในระบบผสมผสานกับการผลิตไฟฟ้าชนิดอื่น เช่น ระบบผสมผสานดีเซล-เซลล์แสงอาทิตย์-กังหันลม เพื่อใช้ในระบบ Minigrid ตามชุมชนห่างไกล
4.กังหันลมขนาดใหญ่ (Large Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 200-1,500 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่ง เพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง (Grid Connection)
5.กังหันลมขนาดใหญ่มาก (Very Large Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตมากกว่า 1,500 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่งและนอกชายฝั่ง เพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง (Grid Connection)
สรุปได้ว่า ศักยภาพของประเทศไทยที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น หากเปรียบเทียบกับประเทศในยุโรปแล้วถือว่าตํ่ามาก ถือว่าไม่เหมาะสมกับการติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ่ระดับเมกกะวัตต์ได้เพราะต้องการความเร็วลมเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ12 - 15 เมตร/วินาที ดังนั้นทางเลือกที่เหมาะสมของประเทศไทยหากจะส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานจากลมในการผลิตไฟฟ้าควรจะเป็นระบบขนาดเล็กในช่วงพิกัดกำลังระดับกิโลวัตต์จึงจะเหมาะสมกว่า












0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1.กังหันลมขนาดจิ๋ว (Micro Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าน้อยกว่า 1.5 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนัก เช่น การใช้กับเครื่องมือสื่อสาร หรือแสงสว่างในบางเวลา2.กังหันลมขนาดเล็ก (Small Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 1.5-20 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนัก เช่น ใช้ตามครัวเรือนหรือสำนักงานขนาดเล็กที่อยู่ห่างไกล3.กังหันลมขนาดกลาง (Medium Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 20-200 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในระบบผสมผสานกับการผลิตไฟฟ้าชนิดอื่น เช่น ระบบผสมผสานดีเซล-เซลล์แสงอาทิตย์-กังหันลม เพื่อใช้ในระบบ Minigrid ตามชุมชนห่างไกล4.กังหันลมขนาดใหญ่ (Large Wind Turbine) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 200-1,500 กิโลวัตต์ เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่ง เพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง (Grid Connection)5.กังหันลมขนาดใหญ่มาก เพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่งเหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่งและนอกชายฝั่งกิโลวัตต์มีขนาดกำลังผลิตมากกว่า 1,500 (กังหันลมขนาดใหญ่มาก) (ตารางเชื่อมต่อ) สรุปได้ว่า ศักยภาพของประเทศไทยที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น หากเปรียบเทียบกับประเทศในยุโรปแล้วถือว่าตํ่ามาก ถือว่าไม่เหมาะสมกับการติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ่ระดับเมกกะวัตต์ได้เพราะต้องการความเร็วลมเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ12 - 15 เมตร/วินาที ดังนั้นทางเลือกที่เหมาะสมของประเทศไทยหากจะส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานจากลมในการผลิตไฟฟ้าควรจะเป็นระบบขนาดเล็กในช่วงพิกัดกำลังระดับกิโลวัตต์จึงจะเหมาะสมกว่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1 . กังหันลมขนาดจิ๋ว ( กังหันลมขนาดเล็ก ) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าน้อยกว่า 1.5 กิโลวัตต์เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนักเช่นการใช้กับเครื่องมือสื่อสารหรือแสงสว่างในบางเวลา2 . กังหันลมขนาดเล็ก ( กังหันลมขนาดเล็ก ) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 1.5-20 กิโลวัตต์เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนักเช่นใช้ตามครัวเรือนหรือสำนักงานขนาดเล็กที่อยู่ห่างไกล3 . กังหันลมขนาดกลาง ( กังหันลมขนาดกลาง ) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 20-200 กิโลวัตต์เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าในระบบผสมผสานกับการผลิตไฟฟ้าชนิดอื่นเช่นระบบผสมผสานดีเซล - เซลล์แสงอาทิตย์ - กังหันลมเพื่อใช้ในระบบ minigrid ตามชุมชนห่างไกล4 . กังหันลมขนาดใหญ่ ( กังหันลมขนาดใหญ่ ) มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 200-1500 กิโลวัตต์เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่งเพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง ( ตารางการเชื่อมต่อ )5 . กังหันลมขนาดใหญ่มาก ( กังหันลมขนาดใหญ่มาก ) มีขนาดกำลังผลิตมากกว่า 1500 กิโลวัตต์เหมาะสำหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่งและนอกชายฝั่งเพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง ( ตารางการเชื่อมต่อ )สรุปได้ว่าศักยภาพของประเทศไทยที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นหากเปรียบเทียบกับประเทศในยุโรปแล้วถือว่าตํ่ามากถือว่าไม่เหมาะสมกับการติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ่ระดับเมกกะวัตต์ได้เพราะต้องการความเร็วลมเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 12 - 15 เมตร / วินาทีดังนั้นทางเลือกที่เหมาะสมของประเทศ ไทยหากจะส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานจากลมในการผลิตไฟฟ้าควรจะเป็นระบบขนาดเล็กในช่วงพิกัดกำลังระดับกิโลวัตต์จึงจะเหมาะสมกว่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: