สรุปสถานการณ์ SMEs ประจำปี 2556 และคาดการณ์แนวโน้มปี 2557  จำนวน SMEs  การแปล - สรุปสถานการณ์ SMEs ประจำปี 2556 และคาดการณ์แนวโน้มปี 2557  จำนวน SMEs  ไทย วิธีการพูด

สรุปสถานการณ์ SMEs ประจำปี 2556 และ

สรุปสถานการณ์ SMEs ประจำปี 2556 และคาดการณ์แนวโน้มปี 2557

จำนวน SMEs ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 2.74 ล้านราย คิดเป็นร้อยละ 98.5 ของจำนวนวิสาหกิจรวมทั้งหมด ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มภาคการขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์มากที่สุด จำนวน 1,193,038 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.6 รองลงมา คือ ภาคบริการ มีจำนวน 1,035,089 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.8 และภาคการผลิต จำนวน 511,015 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.7 โดย SMEs ก่อให้เกิดการจ้างงาน จำนวน 11,783,143 คน คิดเป็นร้อยละ 80.4 ของการจ้างงานรวมทั้งหมด สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจซึ่งเห็นได้จาก GDP SMEs ในปี 2555 (ฐานข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน) รวม 4,211,262 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 37.0 ของ GDP รวมทั้งประเทศ

สถานการณ์ SMEs ปี 2556
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์ว่าในปี 2556 เศรษฐกิจของประเทศจะมีการขยายตัวร้อยละ 3 และ จากการคาดการณ์ของ สสว. เศรษฐกิจของ SMEs จะมีการขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.3 โดยการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2556 ต่ำกว่าประมาณการณ์ที่หลายหน่วยงานเคยคาดการณ์ไว้ (ร้อยละ 4-5) เป็นผลมาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ เช่น ราคาพืชผลการเกษตรหลายประเภทตกต่ำ การขยายตัวของการส่งออกที่ลดลงอย่างต่อ เนื่องต้นทุนด้านพลังงานสูงขึ้น สถานการณ์การชุมนุมทางการเมือง รวมทั้งเศรษฐกิจในประเทศคู่ค้าหลักที่ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป
จากการประมาณการของ สสว. พบว่า ภาวะเศรษฐกิจของ SMEs ในปี 2556 ผ่านจุดต่ำสุดมาแล้ว และปัจจุบันอยู่ในช่วงขาขึ้น (ต.ค.-ธ.ค.2556) โดยดัชนีชี้นำภาวะเศรษฐกิจของ SMEs (SMEs Leading Economic Index) ณ เดือนกันยายน ปี 2556 อยู่ที่ระดับ 110.64 ขยายตัวจากเดือนสิงหาคม 2556 เล็กน้อยร้อยละ 0.48 มีผลมาจากการขยายตัวของยอดผลิตรถยนต์นั่ง ยอดผลิตพาหนะเพื่อการพาณิชย์ ยอดผลิตซีเมนต์ผสม ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ mai พื้นที่ก่อสร้างที่ได้รับอนุญาต และปริมาณเงินความหมายแคบ (เงินที่สามารถใช้ได้ทันที เช่น เงินสด บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต ฯลฯ) สำหรับตัวแปรชี้นำที่มีการหดตัว ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ยอดผลิตรถยนต์ Pick up และจำนวนนักท่องเที่ยว ทั้งนี้ควรเฝ้าระวังการขยายตัวของดัชนีตลาด Mai เนื่องจากเดือนกันยายน ส่งสัญญาณร้อนแรงผิดปกติ สำหรับดัชนีพ้องเศรษฐกิจของ SMEs ณ กันยายน 2556 อยู่ที่ระดับ 109.54 ขยายตัวร้อยละ 0.25 จากเดือนก่อน โดยมาจากการขยายตัวของมูลค่านำเข้าสินค้าของ SMEs ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ mai ดัชนีราคาน้ำมัน และดัชนีราคาวัตถุดิบ สำหรับตัวแปรที่มีการหดตัว ได้แก่ ยอดผลิตรถจักรยานยนต์ จำนวนนักท่องเที่ยว และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาโดยสถานการณ์ SMEs สามารถสะท้อนได้ ดังนี้

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SMEs ภาคการค้าและบริการ
(Trade & Service Sentiment Index : TSSI)TSSI
ในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2556 มีทิศทางลดลงในช่วง 8 เดือนแรก และมีแน้วโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 9 และ 10 ซึ่งค่าดัชนีที่ได้ยังคงอยู่ในระดับต่ำกว่าค่าฐานที่ 50 เป็นเดือนที่ 8 โดยในเดือนตุลาคมปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 49.0 จากระดับ 45.2 โดยองค์ประกอบปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้งหมดโดยเฉพาะด้านกำไรและยอดจำหน่ายเป็นหลัก โดยสาขาธุรกิจที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น อาทิ ค้าส่งสินค้าเกษตร สถานีบริการน้ำมัน บริการการท่องเที่ยว และการขนส่ง เป็นต้น
สาเหตุที่ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งในปัจจุบันปรับตัวในทิศทางที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากภาคการเกษตรเริ่มปรับตัวดีขึ้น ส่วนด้านการท่องเที่ยวยังคงสดใสต่อเนื่อง ด้านการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ยังคงปิดในแดนบวก ผนวกกับราคาน้ำมันขายปลีกเบนซิน 95 ในช่วงปลายเดือนตุลาคม ปรับตัวลดลง ในขณะที่ราคาน้ำมันดีเซลยังคงทรงตัว ซึ่งส่งผลดีต่อต้นทุนการประกอบการของผู้ประกอบการและกำลังซื้อของผู้บริโภค
เมื่อเปรียบเทียบดัชนีความเชื่อมั่น 4 ภาคธุรกิจ ระหว่าง ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการภาคการค้าและบริการ (TSSI) ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) และดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCI) พบว่า ดัชนี TSSI TISI ปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่ CCI และ BSI ปรับตัวลดลงจากเดือนก่อน ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ดัชนี TSSI และ TISI ปรับตัวเพิ่มขึ้นเกิดจากเก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
สรุปสถานการณ์ Sme ประจำปี 2556 และคาดการณ์แนวโน้มปี 2557

จำนวน SMEs ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 2.74 ล้านรายคิดเป็นร้อยละ 985 ของจำนวนวิสาหกิจรวมทั้งหมดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มภาคการขายส่งขายปลีกการซ่อมแซมยานยนต์มากที่สุดจำนวน 1,193,038 รายคิดเป็นร้อยละ 43.6 รองลงมาคือภาคบริการมีจำนวน 1,035,089 รายคิดเป็นร้อยละ 37.8 และภาคการผลิตจำนวน 511015 รายคิดเป็นร้อยละ 18.7 โดย SMEs ก่อให้เกิดการจ้างงานจำนวน 11,783,143 คนคิดเป็นร้อยละ 80.4 ของการจ้างงานรวมทั้งหมดสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจซึ่งเห็นได้จาก GDP SMEs ในปี 2555 (ฐานข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน) รวม 4,211262 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 37.0 นั้น ๆ GDP รวมทั้งประเทศ

สถานการณ์ SMEs ปี 2556
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์ว่าในปี 2556 เศรษฐกิจของประเทศจะมีการขยายตัวร้อยละ 3 และจากการคาดการณ์ของสสว เศรษฐกิจของ SMEs จะมีการขยายตัวในอัตราร้อยละ 33 โดยการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2556 ต่ำกว่าประมาณการณ์ที่หลายหน่วยงานเคยคาดการณ์ไว้ (ร้อยละ 4-5) เป็นผลมาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศเช่นราคาพืชผลการเกษตรหลายประเภทตกต่ำ เนื่องต้นทุนด้านพลังงานสูงขึ้นสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองรวมทั้งเศรษฐกิจในประเทศคู่ค้าหลักที่ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป
จากการประมาณการของสสว พบว่าภาวะเศรษฐกิจของ Sme ในปี 2556 ผ่านจุดต่ำสุดมาแล้วและปัจจุบันอยู่ในช่วงขาขึ้น (ต.ค. -ธ.ค.2556) โดยดัชนีชี้นำภาวะเศรษฐกิจของ SMEs (SMEs นำดัชนีเศรษฐกิจ) ณเดือนกันยายนปี 2556 อยู่ที่ระดับ 110เล็กน้อยร้อยละ 64 ขยายตัวจากเดือนสิงหาคม 2556 048 มีผลมาจากการขยายตัวของยอดผลิตรถยนต์นั่งยอดผลิตพาหนะเพื่อการพาณิชย์ยอดผลิตซีเมนต์ผสมดัชนีตลาดหลักทรัพย์เชียงใหม่พื้นที่ก่อสร้างที่ได้รับอนุญาตและปริมาณเงินความหมายแคบ (เงินที่สามารถใช้ได้ทันทีเช่นเงินสด รับได้แก่บัตรเครดิตฯลฯ) สำหรับตัวแปรชี้นำที่มีการหดตัวภาษีเงินได้บุคคลธรรมดายอดผลิตรถยนต์และจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งนี้ควรเฝ้าระวังการขยายตัวของดัชนีตลาดเชียงใหม่เนื่องจากเดือนกันยายน สำหรับดัชนีพ้องเศรษฐกิจของ SMEs ณกันยายน 2556 อยู่ที่ระดับ 10954 ขยายตัวร้อยละ 025 จากเดือนก่อนโดยมาจากการขยายตัวของมูลค่านำเข้าสินค้าของ Sme ดัชนีตลาดหลักทรัพย์เชียงใหม่ดัชนีราคาน้ำมันและดัชนีราคาวัตถุดิบสำหรับตัวแปรที่มีการหดตัวได้แก่ยอดผลิตรถจักรยานยนต์จำนวนนักท่องเที่ยว ดังนี้ Sme สามารถสะท้อนได้

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SMEs ภาคการค้าและบริการ
(&บริการดัชนีความเชื่อมั่นค้า: TSSI) TSSI
ในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2556 มีทิศทางลดลงในช่วง 8 เดือนแรกและมีแน้วโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 9 และ 10 ซึ่งค่าดัชนีที่ได้ยังคงอยู่ในระดับต่ำกว่าค่าฐานที่ 50 เป็นเดือนที่ 8 490 จากระดับ 452 โดยองค์ประกอบปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้งหมดโดยเฉพาะด้านกำไรและยอดจำหน่ายเป็นหลักโดยสาขาธุรกิจที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอาทิค้าส่งสินค้าเกษตรสถานีบริการน้ำมันบริการการท่องเที่ยวและการขนส่งเป็นต้น
สาเหตุที่ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งในปัจจุบันปรับตัวในทิศทางที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากภาคการเกษตรเริ่มปรับตัวดีขึ้นส่วนด้านการท่องเที่ยวยังคงสดใสต่อเนื่องด้านการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ยังคงปิดในแดนบวก 95 ในช่วงปลายเดือนตุลาคมปรับตัวลดลงในขณะที่ราคาน้ำมันดีเซลยังคงทรงตัวซึ่งส่งผลดีต่อต้นทุนการประกอบการของผู้ประกอบการและกำลังซื้อของผู้บริโภค
เมื่อเปรียบเทียบดัชนีความเชื่อมั่น 4 ภาคธุรกิจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (สมอ.) ระหว่างดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการภาคการค้าและบริการ (TSSI) ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) (CCI) พบว่าดัชนี TSSI สมอปรับตัวเพิ่มขึ้นขณะที่ CCI และ BSI ปรับตัวลดลงจากเดือนก่อนปัจจัยสำคัญที่ทำให้ดัชนี TSSI และสมอปรับตัวเพิ่มขึ้นเกิดจากเก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
สรุปสถานการณ์ SMEs ประจำปี 2556 และคาดการณ์แนวโน้มปี 2557

จำนวน SMEs ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 2.74 ล้านราย คิดเป็นร้อยละ 98.5 ของจำนวนวิสาหกิจรวมทั้งหมด ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มภาคการขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์มากที่สุด จำนวน 1,193,038 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.6 รองลงมา คือ ภาคบริการ มีจำนวน 1,035,089 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.8 และภาคการผลิต จำนวน 511,015 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.7 โดย SMEs ก่อให้เกิดการจ้างงาน จำนวน 11,783,143 คน คิดเป็นร้อยละ 80.4 ของการจ้างงานรวมทั้งหมด สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจซึ่งเห็นได้จาก GDP SMEs ในปี 2555 (ฐานข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน) รวม 4,211,262 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 37.0 ของ GDP รวมทั้งประเทศ

สถานการณ์ SMEs ปี 2556
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์ว่าในปี 2556 เศรษฐกิจของประเทศจะมีการขยายตัวร้อยละ 3 และ จากการคาดการณ์ของ สสว. เศรษฐกิจของ SMEs จะมีการขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.3 โดยการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2556 ต่ำกว่าประมาณการณ์ที่หลายหน่วยงานเคยคาดการณ์ไว้ (ร้อยละ 4-5) เป็นผลมาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ เช่น ราคาพืชผลการเกษตรหลายประเภทตกต่ำ การขยายตัวของการส่งออกที่ลดลงอย่างต่อ เนื่องต้นทุนด้านพลังงานสูงขึ้น สถานการณ์การชุมนุมทางการเมือง รวมทั้งเศรษฐกิจในประเทศคู่ค้าหลักที่ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป
จากการประมาณการของ สสว. พบว่า ภาวะเศรษฐกิจของ SMEs ในปี 2556 ผ่านจุดต่ำสุดมาแล้ว และปัจจุบันอยู่ในช่วงขาขึ้น (ต.ค.-ธ.ค.2556) โดยดัชนีชี้นำภาวะเศรษฐกิจของ SMEs (SMEs Leading Economic Index) ณ เดือนกันยายน ปี 2556 อยู่ที่ระดับ 110.64 ขยายตัวจากเดือนสิงหาคม 2556 เล็กน้อยร้อยละ 0.48 มีผลมาจากการขยายตัวของยอดผลิตรถยนต์นั่ง ยอดผลิตพาหนะเพื่อการพาณิชย์ ยอดผลิตซีเมนต์ผสม ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ mai พื้นที่ก่อสร้างที่ได้รับอนุญาต และปริมาณเงินความหมายแคบ (เงินที่สามารถใช้ได้ทันที เช่น เงินสด บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต ฯลฯ) สำหรับตัวแปรชี้นำที่มีการหดตัว ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ยอดผลิตรถยนต์ Pick up และจำนวนนักท่องเที่ยว ทั้งนี้ควรเฝ้าระวังการขยายตัวของดัชนีตลาด Mai เนื่องจากเดือนกันยายน ส่งสัญญาณร้อนแรงผิดปกติ สำหรับดัชนีพ้องเศรษฐกิจของ SMEs ณ กันยายน 2556 อยู่ที่ระดับ 109.54 ขยายตัวร้อยละ 0.25 จากเดือนก่อน โดยมาจากการขยายตัวของมูลค่านำเข้าสินค้าของ SMEs ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ mai ดัชนีราคาน้ำมัน และดัชนีราคาวัตถุดิบ สำหรับตัวแปรที่มีการหดตัว ได้แก่ ยอดผลิตรถจักรยานยนต์ จำนวนนักท่องเที่ยว และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาโดยสถานการณ์ SMEs สามารถสะท้อนได้ ดังนี้

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SMEs ภาคการค้าและบริการ
(Trade & Service Sentiment Index : TSSI)TSSI
ในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2556 มีทิศทางลดลงในช่วง 8 เดือนแรก และมีแน้วโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 9 และ 10 ซึ่งค่าดัชนีที่ได้ยังคงอยู่ในระดับต่ำกว่าค่าฐานที่ 50 เป็นเดือนที่ 8 โดยในเดือนตุลาคมปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 49.0 จากระดับ 45.2 โดยองค์ประกอบปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้งหมดโดยเฉพาะด้านกำไรและยอดจำหน่ายเป็นหลัก โดยสาขาธุรกิจที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น อาทิ ค้าส่งสินค้าเกษตร สถานีบริการน้ำมัน บริการการท่องเที่ยว และการขนส่ง เป็นต้น
สาเหตุที่ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งในปัจจุบันปรับตัวในทิศทางที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากภาคการเกษตรเริ่มปรับตัวดีขึ้น ส่วนด้านการท่องเที่ยวยังคงสดใสต่อเนื่อง ด้านการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ยังคงปิดในแดนบวก ผนวกกับราคาน้ำมันขายปลีกเบนซิน 95 ในช่วงปลายเดือนตุลาคม ปรับตัวลดลง ในขณะที่ราคาน้ำมันดีเซลยังคงทรงตัว ซึ่งส่งผลดีต่อต้นทุนการประกอบการของผู้ประกอบการและกำลังซื้อของผู้บริโภค
เมื่อเปรียบเทียบดัชนีความเชื่อมั่น 4 ภาคธุรกิจ ระหว่าง ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการภาคการค้าและบริการ (TSSI) ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) และดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCI) พบว่า ดัชนี TSSI TISI ปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่ CCI และ BSI ปรับตัวลดลงจากเดือนก่อน ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ดัชนี TSSI และ TISI ปรับตัวเพิ่มขึ้นเกิดจากเก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
สรุปสถานการณ์ SMEs ประจำปี 2556 2557 และคาดการณ์แนวโน้มปี

จำนวน SMEs ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 2.74 ล้านรายคิดเป็นร้อยละ 985 ของจำนวนวิสาหกิจรวมทั้งหมดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มภาคการขายส่งขายปลีกการซ่อมแซมยานยนต์มากที่สุดจำนวน 1193038 รายคิดเป็นร้อยละ 43.6 รองลงมาความภาคบริการมีจำนวน 1035089 รายคิดเป็นร้อยละ 37.8 และภาคการผลิตจำนวน 511 ,015 รายคิดเป็นร้อยละ 18.7 โดย SMEs ก่อให้เกิดการจ้างงานจำนวน 11783143 คนคิดเป็นร้อยละ 80.4 ของการจ้างงานรวมทั้งหมดสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจซึ่งเห็นได้จาก GDP SMEs สามารถรวม 4211 2555 ( ฐานข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน ) ,262 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละเพิ่มของ GDP รวมทั้งประเทศ

สถานการณ์ SMEs . 2556
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ( สศช ) คาดการณ์ว่าในปี 2556 เศรษฐกิจของประเทศจะมีการขยายตัวร้อยละ 3 และจากการคาดการณ์ของสสว .เศรษฐกิจของ SMEs จะมีการขยายตัวในอัตราร้อยละ 33 โดยการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2556 ต่ำกว่าประมาณการณ์ที่หลายหน่วยงานเคยคาดการณ์ไว้ ( ร้อยละ 4-5 ) เป็นผลมาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศเช่นราคาพืชผลการเกษตรหลายประเภทตกต่ำเนื่องต้นทุนด้านพลังงานสูงขึ้นสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองรวมทั้งเศรษฐกิจในประเทศคู่ค้าหลักที่ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป
จากการประมาณการของสสว . พบว่าภาวะเศรษฐกิจของ SMEs สามารถ 2556 ผ่านจุดต่ำสุดมาแล้วและปัจจุบันอยู่ในช่วงขาขึ้น ( ต . ค . โดย . ค . 2556 ) โดยดัชนีชี้นำภาวะเศรษฐกิจของ SMEs ( SMEs นำดัชนีทางเศรษฐกิจ ) ณเดือนกันยายน . 2556 อยู่ที่ระดับ 110 .64 ขยายตัวจากเดือนสิงหาคม 2556 เล็กน้อยร้อยละ 048 มีผลมาจากการขยายตัวของยอดผลิตรถยนต์นั่งยอดผลิตพาหนะเพื่อการพาณิชย์ยอดผลิตซีเมนต์ผสมดัชนีตลาดหลักทรัพย์เชียงใหม่พื้นที่ก่อสร้างที่ได้รับอนุญาตและปริมาณเงินความหมายแคบ ( เงินที่สามารถใช้ได้ทันทีเช่นเงินสดบัตรเครดิตฯลฯ ) สำหรับตัวแปรชี้นำที่มีการหดตัวได้แก่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดายอดผลิตรถยนต์รับและจำนวนนักท่องเที่ยวเนื่องจากเดือนกันยายนทั้งนี้ควรเฝ้าระวังการขยายตัวของดัชนีตลาดเชียงใหม่สำหรับดัชนีพ้องเศรษฐกิจของ SMEs ณกันยายน 2556 อยู่ที่ระดับ 10954 ขยายตัวร้อยละ 025 จากเดือนก่อนโดยมาจากการขยายตัวของมูลค่านำเข้าสินค้าของ SMEs ดัชนีตลาดหลักทรัพย์เชียงใหม่ดัชนีราคาน้ำมันและดัชนีราคาวัตถุดิบสำหรับตัวแปรที่มีการหดตัวได้แก่ยอดผลิตรถจักรยานยนต์จำนวนนักท่องเที่ยวSMEs สามารถสะท้อนได้ดังนี้


( ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SMEs ภาคการค้าและบริการ&ดัชนีความเชื่อมั่นการค้าบริการ : tssi ) tssi
10 เดือนแรกของปี said studies 2556 มีทิศทางลดลงในช่วง 8 เดือนแรกและมีแน้วโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 9 และ 10 ซึ่งค่าดัชนีที่ได้ยังคงอยู่ในระดับต่ำกว่าค่าฐานที่ 50 เป็นเดือนที่ 849 .0 จากระดับ 452 โดยองค์ประกอบปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้งหมดโดยเฉพาะด้านกำไรและยอดจำหน่ายเป็นหลักโดยสาขาธุรกิจที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอาทิค้าส่งสินค้าเกษตรสถานีบริการน้ำมันบริการการท่องเที่ยวและการขนส่งเป็นต้น
สาเหตุที่ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งในปัจจุบันปรับตัวในทิศทางที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากภาคการเกษตรเริ่มปรับตัวดีขึ้นส่วนด้านการท่องเที่ยวยังคงสดใสต่อเนื่องด้านการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ยังคงปิดในแดนบวก95 ในช่วงปลายเดือนตุลาคมปรับตัวลดลงในขณะที่ราคาน้ำมันดีเซลยังคงทรงตัวซึ่งส่งผลดีต่อต้นทุนการประกอบการของผู้ประกอบการและกำลังซื้อของผู้บริโภค
เมื่อเปรียบเทียบดัชนีความเชื่อมั่น 4 ภาคธุรกิจระหว่างดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการภาคการค้าและบริการ ( tssi ) ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ( สมอ. ) ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ ( BSI )( CCI ) พบว่าดัชนี tssi สมอ. ปรับตัวเพิ่มขึ้นขณะที่ CCI และ BSI ปรับตัวลดลงจากเดือนก่อนปัจจัยสำคัญที่ทำให้ดัชนี tssi ปรับตัวเพิ่มขึ้นเกิดจากเกและสมอ.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: