2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจิตตรา ดอกบัว (2551) งานวิจัยนี้ศึกษาประสิทธิ การแปล - 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจิตตรา ดอกบัว (2551) งานวิจัยนี้ศึกษาประสิทธิ ไทย วิธีการพูด

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจิตตรา ดอก

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จิตตรา ดอกบัว (2551) งานวิจัยนี้ศึกษาประสิทธิภาพเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวและชานอ้อยเพื่อใช้ดูดซับตะกั่วและแคสเมียมในน้ำเสีย โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการเพิ่มปริมาณฟอสฟอรัสในฟางข้าวและชานอ้อยที่ผ่านปฏิกิริยาฟอสฟอไรเลชัน เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเซลลูโลสฟอสเฟตที่เตรียมไดจากฟางข้าวและชานอ้อยในการดูดซับโลหะหนักและเพื่อจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องการบําบัดโลหะหนักในน้ำเสียด้วยเซลลูโลสฟอสเฟตผลการวิจัยพบว่า ปริมาณฟอสเฟตในฟางข้าวและชานอ้อยเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิและเวลาที่เพิ่มขึ้นในการทําปฏิกิริยาฟอสฟอไรเลชัน และเมื่อทําการทดสอบประสิทธิภาพการดูดซับตะกั่วและแคดเมียมในน้ำเสียที่เตรียมขึ้นในห้องปฏิบัติการและน้ำเสียจากโรงงาน พบว่าเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวและชานอ้อยมีความสามารถในการดูดซับ ตะกั่วได้ดีกว่าแคดเมียม และเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวมีความสามารถในการดูดซับตะกั่วและแคดเมียมได้ดีกว่าเซลลูโลสฟอสเฟตจากชานอ้อย
6
สุวรรณา ละม้ายอินทร์ (2553) งานวิจัยนี้ศึกษาการปรับปรุงกระบวนการผลิตฟองน้ำเซลลูโลสจากฟางข้าว โดยจะมุ่งเน้นไปที่การปรับสภาพฟางข้าวก่อนนำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นฟองน้ำเซลลูโลส การทดลองนี้จะทำการศึกษาผลของความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไอดรอกไซด์และอุณหภูมิที่มีผลต่อการปรับสภาพฟางข้าว พบว่าสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการปรับสภาพ คือ ที่ความเข้มข้น ของโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 10 ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 90 นาที จากนั้นจึงนำฟางข้าวที่ผ่านการปรับสภาพมาผลิตเป็นฟองน้ำเซลลูโลสผ่านกระบวนการเตรียมวิสคอส (Viscose Process) โดยศึกษาผลของปริมาณเซลลูโลสในสารละลายวิสคอส อัตราส่วนระหว่างวิสคอสต่อโซเดียมซัลเฟตและปริมาณเส้นใยฝ้ายที่มีต่อการดูดซับน้ำ การพองตัว และการทนต่อแรงดึงของฟองน้ำเซลลูโลส จากผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตฟองน้ำเซลลูโลสได้แก่ สภาวะที่มีปริมาณเซลลูโลสในวิสคอสร้อยละ 6 อัตราส่วนระหว่างวิสคอสต่อโซเดียมซัลเฟต เป็น 1:2 และใส่เส้นใยฝ้ายร้อยละ 1 โดยน้ำหนักเทียบกับน้ำหนักวิสคอส และฟองน้ำที่ผลิตได้มีความสามารถในการดูดซึมได้สูงมากถึง 31 เท่าเมื่อเทียบกับน้ำหนักของฟองน้ำแห้ง จากผลการทดลองนี้ ฟองน้ำเส้นใยธรรมชาติสามารถดูดซับน้ำได้ดีกว่าผลงานวิจัยเดิมถึง 2.14 เท่า
ภาคภูมิ จตุรภูมิสวัสดิ์ และคณะ (2554) งานวิจัยนี้ศึกษาการเตรียมตัวดูดซับจากเถ้าแกลบเพื่อดูดซับกรดไขมันอิสระในน้ามันปาล์มดิบจากการศึกษาสภาวะที่ใช้ในการเตรียมตัวดูดซับการเถ้าแกลบซึ่งเตรียมจากการเผาแกลบที่อุณหภูมิ 450 และ 700 °C และแช่กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 โมลาร์ก่อนหรือหลังเผาและตัวดูดซับทดลองดูดซับกรดไขมันอิสระในน้ามันปาล์มดิบโดยใช้ตัวดูดซับ 0.4 กรัมต่อน้ามันปาล์มดิบ 20 กรัมที่อุณหภูมิ 50 °C เป็นเวลา 3 ชั่วโมงพบว่าเถ้าแกลบ 700 °C ดูดซับดีกว่าเถ้าแกลบ 450 °C เนื่องจากการเผาแกลบที่อุณหภูมิสูงทาให้สิ่งเจือปนน้อยและรูพรุนมีขนาดใหญ่สาหรับการแช่กรดของเถ้าแกลบที่ 450 °C จะส่งผลให้ความสามารถในการดูดซับเพิ่มขึ้นแต่การแช่กรดของเถ้าแกลบที่ 700 °C จะส่งผลให้ความสามารถในการดูดซับลดลงอาจเนื่องจากการแช่กรดส่งผลต่อขนาดรูพรุนพื้นที่ผิวและองค์ประกอบของตัวดูดซับโดยลาดับการแช่กรดก่อนหลังไม่มีนัยสำคัญตัวดูดซับที่มีความสามารถในการดูดซับดีที่สุดคือเถ้าแกลบแช่กรดก่อนเผาที่ 450 °C สามารถดูดซับกรดไขมันอิสระได้ 210 มิลลิกรัมของกรดไขมันต่อกรัมของตัวดูดซับ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจิตตรา ดอกบัว (2551) งานวิจัยนี้ศึกษาประสิทธิภาพเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวและชานอ้อยเพื่อใช้ดูดซับตะกั่วและแคสเมียมในน้ำเสีย โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการเพิ่มปริมาณฟอสฟอรัสในฟางข้าวและชานอ้อยที่ผ่านปฏิกิริยาฟอสฟอไรเลชัน เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเซลลูโลสฟอสเฟตที่เตรียมไดจากฟางข้าวและชานอ้อยในการดูดซับโลหะหนักและเพื่อจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องการบําบัดโลหะหนักในน้ำเสียด้วยเซลลูโลสฟอสเฟตผลการวิจัยพบว่า ปริมาณฟอสเฟตในฟางข้าวและชานอ้อยเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิและเวลาที่เพิ่มขึ้นในการทําปฏิกิริยาฟอสฟอไรเลชันและเมื่อทําการทดสอบประสิทธิภาพการดูดซับตะกั่วและแคดเมียมในน้ำเสียที่เตรียมขึ้นในห้องปฏิบัติการและน้ำเสียจากโรงงานพบว่าเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวและชานอ้อยมีความสามารถในการดูดซับตะกั่วได้ดีกว่าแคดเมียมและเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวมีความสามารถในการดูดซับตะกั่วและแคดเมียมได้ดีกว่าเซลลูโลสฟอสเฟตจากชานอ้อย6สุวรรณาละม้ายอินทร์ (2553) งานวิจัยนี้ศึกษาการปรับปรุงกระบวนการผลิตฟองน้ำเซลลูโลสจากฟางข้าวโดยจะมุ่งเน้นไปที่การปรับสภาพฟางข้าวก่อนนำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นฟองน้ำเซลลูโลสการทดลองนี้จะทำการศึกษาผลของความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไอดรอกไซด์และอุณหภูมิที่มีผลต่อการปรับสภาพฟางข้าวพบว่าสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการปรับสภาพคือที่ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 10 ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 90 นาทีจากนั้นจึงนำฟางข้าวที่ผ่านการปรับสภาพมาผลิตเป็นฟองน้ำเซลลูโลสผ่านกระบวนการเตรียมวิสคอส (กระบวนการ Viscose) โดยศึกษาผลของปริมาณเซลลูโลสในสารละลายวิสคอสอัตราส่วนระหว่างวิสคอสต่อโซเดียมซัลเฟตและปริมาณเส้นใยฝ้ายที่มีต่อการดูดซับน้ำการพองตัวและการทนต่อแรงดึงของฟองน้ำเซลลูโลสจากผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตฟองน้ำเซลลูโลสได้แก่สภาวะที่มีปริมาณเซลลูโลสในวิสคอสร้อยละ 6 อัตราส่วนระหว่างวิสคอสต่อโซเดียมซัลเฟตเป็น 1:2 และใส่เส้นใยฝ้ายร้อยละ 1 โดยน้ำหนักเทียบกับน้ำหนักวิสคอสและฟองน้ำที่ผลิตได้มีความสามารถในการดูดซึมได้สูงมากถึง 31 เท่าเมื่อเทียบกับน้ำหนักของฟองน้ำแห้งจากผลการทดลองนี้ฟองน้ำเส้นใยธรรมชาติสามารถดูดซับน้ำได้ดีกว่าผลงานวิจัยเดิมถึง 2.14 เท่า ภาคภูมิ จตุรภูมิสวัสดิ์ และคณะ (2554) งานวิจัยนี้ศึกษาการเตรียมตัวดูดซับจากเถ้าแกลบเพื่อดูดซับกรดไขมันอิสระในน้ามันปาล์มดิบจากการศึกษาสภาวะที่ใช้ในการเตรียมตัวดูดซับการเถ้าแกลบซึ่งเตรียมจากการเผาแกลบที่อุณหภูมิ 450 และ 700 °C และแช่กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 โมลาร์ก่อนหรือหลังเผาและตัวดูดซับทดลองดูดซับกรดไขมันอิสระในน้ามันปาล์มดิบโดยใช้ตัวดูดซับ 0.4 กรัมต่อน้ามันปาล์มดิบ 20 กรัมที่อุณหภูมิ 50 °C เป็นเวลา 3 ชั่วโมงพบว่าเถ้าแกลบ 700 °C ดูดซับดีกว่าเถ้าแกลบ 450 °C เนื่องจากการเผาแกลบที่อุณหภูมิสูงทาให้สิ่งเจือปนน้อยและรูพรุนมีขนาดใหญ่สาหรับการแช่กรดของเถ้าแกลบที่ 450 °C จะส่งผลให้ความสามารถในการดูดซับเพิ่มขึ้นแต่การแช่กรดของเถ้าแกลบที่ 700 °C จะส่งผลให้ความสามารถในการดูดซับลดลงอาจเนื่องจากการแช่กรดส่งผลต่อขนาดรูพรุนพื้นที่ผิวและองค์ประกอบของตัวดูดซับโดยลาดับการแช่กรดก่อนหลังไม่มีนัยสำคัญตัวดูดซับที่มีความสามารถในการดูดซับดีที่สุดคือเถ้าแกลบแช่กรดก่อนเผาที่ 450 °C สามารถดูดซับกรดไขมันอิสระได้ 210 มิลลิกรัมของกรดไขมันต่อกรัมของตัวดูดซับ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2.3
วิจัยที่งานเกี่ยวข้องคุณจิตตราคุณดอกบัว(2551) ตะกั่วได้ดีกว่าแคดเมียม ละม้ายอินทร์ (2553) คือที่ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 10 ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 90 นาที (Viscose กระบวนการ) การพองตัว 6 เป็น 1: 2 และใส่เส้นใยฝ้ายร้อยละ 1 โดยน้ำหนักเทียบกับน้ำหนักวิสคอส วันที่ 31 จากผลการทดลองนี้ 2.14 เท่าภาคภูมิจตุรภูมิสวัสดิ์และคณะ(2554) 450 และ 700 องศาเซลเซียสและแช่กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 0.4 กรัมต่อน้ามันปาล์มดิบ 20 กรัมที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 3 ชั่วโมงพบว่าเถ้าแกลบ 700 ° C ดูดซับดีกว่าเถ้าแกลบ 450 ° C 450 ° C 700 ° C 450 องศาเซลเซียสสามารถดูดซับกรดไขมันอิสระได้ 210



การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จิตตราดอกบัว ( 2551 ) งานวิจัยนี้ศึกษาประสิทธิภาพเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวและชานอ้อยเพื่อใช้ดูดซับตะกั่วและแคสเมียมในน้ำเสียเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเซลลูโลสฟอสเฟตที่เตรียมไดจากฟางข้าวและชานอ้อยในการดูดซับโลหะหนักและเพื่อจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่นักศึกษาในเรื่องการบําบัดโลหะหนักในน้ำเสียด้วยเซลลูโลสฟอสเฟตผลการวิจัยพบว่าปริมาณฟอสเฟตในฟางข้าวและชานอ้อยเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิและเวลาที่เพิ่มขึ้นในการทําปฏิกิริยาฟอสฟอไรเลชันพบว่าเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวและชานอ้อยมีความสามารถในการดูดซับตะกั่วได้ดีกว่าแคดเมียมและเซลลูโลสฟอสเฟตจากฟางข้าวมีความสามารถในการดูดซับตะกั่วและแคดเมียมได้ดีกว่าเซลลูโลสฟอสเฟตจากชานอ้อย
6
สุวรรณาละม้ายอินทร์ ( 2553 ) งานวิจัยนี้ศึกษาการปรับปรุงกระบวนการผลิตฟองน้ำเซลลูโลสจากฟางข้าวโดยจะมุ่งเน้นไปที่การปรับสภาพฟางข้าวก่อนนำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นฟองน้ำเซลลูโลสพบว่าสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการปรับสภาพความที่ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 10 ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสเป็นเวลานาที 90( กระบวนการเหนียว ) โดยศึกษาผลของปริมาณเซลลูโลสในสารละลายวิสคอสอัตราส่วนระหว่างวิสคอสต่อโซเดียมซัลเฟตและปริมาณเส้นใยฝ้ายที่มีต่อการดูดซับน้ำการพองตัวและการทนต่อแรงดึงของฟองน้ำเซลลูโลส
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: