วัฒนธรมประเทศมาเลเซีย ในประเทศมาเลเซีย ดินแดนที่มีประชากรมุสลิมเป็นประ การแปล - วัฒนธรมประเทศมาเลเซีย ในประเทศมาเลเซีย ดินแดนที่มีประชากรมุสลิมเป็นประ ไทย วิธีการพูด

วัฒนธรมประเทศมาเลเซีย ในประเทศมาเลเ

วัฒนธรมประเทศมาเลเซีย
ในประเทศมาเลเซีย ดินแดนที่มีประชากรมุสลิมเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญในภูมิหลังในการเข้ามาของอิสลาม โดยอาณาจักรมะละกา ดินแดนส่วนหนึ่งในประเทศมาเลเซียเป็นรัฐโบราณ รัฐแรกๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับเอาอิสลามขึ้นมาเป็นศาสนาประจำรัฐ และมีอิทธิพลภายในราชสำนักของอาณาจักรมะละกอ
ภายหลังการได้รับเอกราชจากอังกฤษโดยสมบูรณ์เมื่อ ค.ศ. 1957 มาเลเซียได้กลายเป็นรัฐที่ปกครองระบอบประชาธิปไตย แต่ก็มีความพยายามที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบการปกครองของมาเลเซียให้เป็นไปตาม ระบอบของอิสลาม ความพยายามเหล่านี้เริ่มเด่นชัดในช่วงทศวรรษ 1970 หรือชื่อเรียกปรากฏการณ์ในครั้งนั้นกันอย่างทั่วไปว่า การเคลื่อนไหวในการเชิญชวน (หรือว่าปรากฏการณ์ดะวะฮ) เป็นช่วงเวลาที่การทำงาน การเผยแพร่อิสลามมีการดำเนินงานอย่างชัดเจนมากขึ้น จากปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ดังกล่าวคือ เกิดจากเหตุการณ์วิกฤติน้ำมัน จากการที่ชาติอาหรับผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ของโลกมีมติในการลดการส่งออกน้ำมัน ส่งผลให้ราคาน้ำมันในตลาดโลกมีมูลค่าที่สูงขึ้นและได้สร้างความมั่งคั่งให้ ผู้ส่งออกน้ำมัน ผลตามมาหลังจากนั้นคือ การให้การสนับสนุนจากชาติอาหรับเกี่ยวกับกิจการทางศาสนา และการสนับสนุนให้ทุนการศึกษาไปศึกษาต่อในประเทศตะวันออกกลาง


การแสดงของประเทศมาเลเซีย

การแสดงประเภทร่ายรำของชาวมาเลเชีย เช่น
1. ระบำซาปิน เป็นการแสดงฟ้อนรำหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซียโบราณ ตามประวัติเกิดขึ้นก่อนในดินแดนอาระเบีย และต่อมาได้มีคนนำมาเผยแพร่ในมาเลเซียในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ชาวบ้านทางภาคเหนือและตะวันตกของแหลมมลายูนิยมชมชอบการฟ้อนรำแบบนี้มาก การแสดงระบำซาปินมีผู้แสดง 12 คน แบ่งเป็นหญิงชายจำนวนเท่ากัน ฝ่ายละ 6 จับคู่เต้นกันเป็นกลุ่ม ใช้การยกเท้ายกขาพร้อมกันเป็นจังหวะ เครื่องแต่งกายเป็นแบบเรียบๆ ชายใส่หมวกอิสลามหรือหมวกแขก ใสเสื้อกั๊ก นุ่งโสร่ง หญิงนุ่งกระโปรง เสื้อรัดรูป มีผ้าแพรคลุมศีรษะ เต้นรำตามจังหวะดนตรี ซึ่งบรรเลงจากช้าไปหาเร็ว เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในการแสดงระบำซาปินนี้ คือ กีตาร์แบบอาระเบียน หรือชื่อภาษาฝรั่งว่า Gambus กีตาร์ชนิดนี้คล้ายๆ แบนโจ นักดนตรีคนหนึ่งจะถือไว้ระหว่างอก ดีดไปด้วย เต้นสลับเท้าไปด้วย นอกจากกีตาร์แล้ว เครื่องดนตรีอื่นๆ ก็มีใช้ให้จังหวะคือกลองเล็ก 2 หน้า ที่ใช้ตีด้วยฝ่ามือ กลองชนิดนี้มีชื่อเรียกว่า Maruas ให้จังหวะนำกีตาร์
2. ระบำโรดัต เป็นการเต้นรำพื้นเมือง ชุดนี้เป็นการเต้นในเทศกาลประเพณีทางศาสนา ครั้งแรกนิยมใช้แสดงโดยผู้ชายล้วนๆ ต่อมาวิวัฒนาการมาเป็นแบบสากล คือ ใช้ทั้งหญิงและชายแสดงเป็นกลุ่มรวมกัน เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในการเต้นรำโรดัต คือ กลอง 2 หน้าลูกเล็กๆ ที่มีชื่อว่า คาปัต (Kapat) ตีกันให้จังหวะเท้าของผู้เต้น นอกจากกลองแล้วก็มีหีบเพลงบรรเลงด้วย การแสดงชุดนี้จะช้าไม่รวดเร็วเป็นลักษณะเล่นเท้าธรรมดา
3. ระบำอาชัค เป็นการรำอวยพรที่เก่าแก่ในราชสำนักของมาเลเชียในโอกาสที่ต้อนรับราชอาคันตุกะ หรือบุคคลสำคัญของราชสำนัก นอกจากนั้นยังใช้ในการแสดงละครมะโย่งด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วัฒนธรมประเทศมาเลเซีย ในประเทศมาเลเซียดินแดนที่มีประชากรมุสลิมเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศเป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญในภูมิหลังในการเข้ามาของอิสลามโดยอาณาจักรมะละกาดินแดนส่วนหนึ่งในประเทศมาเลเซียเป็นรัฐโบราณรัฐแรก ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับเอาอิสลามขึ้นมาเป็นศาสนาประจำรัฐและมีอิทธิพลภายในราชสำนักของอาณาจักรมะละกอภายหลังการได้รับเอกราชจากอังกฤษโดยสมบูรณ์เมื่อค.ศ. 1957 มาเลเซียได้กลายเป็นรัฐที่ปกครองระบอบประชาธิปไตยแต่ก็มีความพยายามที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบการปกครองของมาเลเซียให้เป็นไปตามระบอบของอิสลามความพยายามเหล่านี้เริ่มเด่นชัดในช่วงทศวรรษ 1970 หรือชื่อเรียกปรากฏการณ์ในครั้งนั้นกันอย่างทั่วไปว่าการเคลื่อนไหวในการเชิญชวน (หรือว่าปรากฏการณ์ดะวะฮ) เป็นช่วงเวลาที่การทำงานการเผยแพร่อิสลามมีการดำเนินงานอย่างชัดเจนมากขึ้นจากปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ดังกล่าวคือเกิดจากเหตุการณ์วิกฤติน้ำมันจากการที่ชาติอาหรับผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ของโลกมีมติในการลดการส่งออกน้ำมันส่งผลให้ราคาน้ำมันในตลาดโลกมีมูลค่าที่สูงขึ้นและได้สร้างความมั่งคั่งให้ผู้ส่งออกน้ำมันผลตามมาหลังจากนั้นคือการให้การสนับสนุนจากชาติอาหรับเกี่ยวกับกิจการทางศาสนาและการสนับสนุนให้ทุนการศึกษาไปศึกษาต่อในประเทศตะวันออกกลาง การแสดงของประเทศมาเลเซีย การแสดงประเภทร่ายรำของชาวมาเลเชียเช่น 1. ระบำซาปินเป็นการแสดงฟ้อนรำหมู่ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซียโบราณตามประวัติเกิดขึ้นก่อนในดินแดนอาระเบียและต่อมาได้มีคนนำมาเผยแพร่ในมาเลเซียในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมาชาวบ้านทางภาคเหนือและตะวันตกของแหลมมลายูนิยมชมชอบการฟ้อนรำแบบนี้มากการแสดงระบำซาปินมีผู้แสดง 12 คนแบ่งเป็นหญิงชายจำนวนเท่ากันฝ่ายละ 6 จับคู่เต้นกันเป็นกลุ่มใช้การยกเท้ายกขาพร้อมกันเป็นจังหวะเครื่องแต่งกายเป็นแบบเรียบ ๆ ชายใส่หมวกอิสลามหรือหมวกแขกใสเสื้อกั๊กนุ่งโสร่งหญิงนุ่งกระโปรงเสื้อรัดรูปมีผ้าแพรคลุมศีรษะเต้นรำตามจังหวะดนตรีซึ่งบรรเลงจากช้าไปหาเร็วเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในการแสดงระบำซาปินนี้คือกีตาร์แบบอาระเบียนหรือชื่อภาษาฝรั่งว่า Gambus กีตาร์ชนิดนี้คล้าย ๆ แบนโจนักดนตรีคนหนึ่งจะถือไว้ระหว่างอกดีดไปด้วยเต้นสลับเท้าไปด้วยนอกจากกีตาร์แล้วเครื่องดนตรีอื่น ๆ ก็มีใช้ให้จังหวะคือกลองเล็ก 2 หน้าที่ใช้ตีด้วยฝ่ามือกลองชนิดนี้มีชื่อเรียกว่า Maruas ให้จังหวะนำกีตาร์ 2. ระบำโรดัตเป็นการเต้นรำพื้นเมืองชุดนี้เป็นการเต้นในเทศกาลประเพณีทางศาสนาครั้งแรกนิยมใช้แสดงโดยผู้ชายล้วน ๆ ต่อมาวิวัฒนาการมาเป็นแบบสากลคือใช้ทั้งหญิงและชายแสดงเป็นกลุ่มรวมกันเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในการเต้นรำโรดัตคือกลอง 2 หน้าลูกเล็ก ๆ ที่มีชื่อว่าคาปัต (Kapat) ตีกันให้จังหวะเท้าของผู้เต้นนอกจากกลองแล้วก็มีหีบเพลงบรรเลงด้วยการแสดงชุดนี้จะช้าไม่รวดเร็วเป็นลักษณะเล่นเท้าธรรมดา 3. ระบำอาชัคเป็นการรำอวยพรที่เก่าแก่ในราชสำนักของมาเลเชียในโอกาสที่ต้อนรับราชอาคันตุกะหรือบุคคลสำคัญของราชสำนักนอกจากนั้นยังใช้ในการแสดงละครมะโย่งด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

โดยอาณาจักรมะละกา รัฐแรก ๆ
ค.ศ. 1957 ระบอบของอิสลาม 1970 การเคลื่อนไหวในการเชิญชวน (หรือว่าปรากฏการณ์ดะวะฮ) เป็นช่วงเวลาที่การทำงาน เกิดจากเหตุการณ์วิกฤติน้ำมัน ผู้ส่งออกน้ำมันผลตามมาหลังจากนั้นคือ เช่น1 ระบำซาปินเป็นการแสดงฟ้อนรำหมู่ 15 เป็นต้นมา การแสดงระบำซาปินมีผู้แสดง 12 คนแบ่งเป็นหญิงชายจำนวนเท่ากันฝ่ายละ 6 จับคู่เต้นกันเป็นกลุ่ม เครื่องแต่งกายเป็นแบบเรียบๆชายใส่หมวกอิสลามหรือหมวกแขกใสเสื้อกั๊กนุ่งโสร่งหญิงนุ่งกระโปรงเสื้อรัดรูปมีผ้าแพรคลุมศีรษะเต้นรำตามจังหวะดนตรีซึ่งบรรเลงจากช้าไปหาเร็ว คือกีตาร์แบบอาระเบียนหรือชื่อภาษาฝรั่งว่า Gambus กีตาร์ชนิดนี้คล้าย ๆ แบนโจนักดนตรีคนหนึ่งจะถือไว้ระหว่างอกดีดไปด้วยเต้นสลับเท้าไปด้วยนอกจากกีตาร์แล้วเครื่องดนตรีอื่น ๆ ก็มีใช้ให้จังหวะคือกลองเล็ก 2 หน้าที่ใช้ตีด้วยฝ่ามือกลองชนิดนี้มีชื่อเรียกว่า Maruas ให้จังหวะนำกีตาร์2 ระบำโรดัตเป็นการเต้นรำพื้นเมือง ครั้งแรกนิยมใช้แสดงโดยผู้ชายล้วนๆต่อมาวิวัฒนาการมาเป็นแบบสากลคือ คือกลอง 2 หน้าลูกเล็ก ๆ ที่มีชื่อว่าคาปัต (ปิด) ตีกันให้จังหวะเท้าของผู้เต้น ระบำอาชัค หรือบุคคลสำคัญของราชสำนัก








การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วัฒนธรมประเทศมาเลเซีย
ในประเทศมาเลเซีย ดินแดนที่มีประชากรมุสลิมเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญในภูมิหลังในการเข้ามาของอิสลาม โดยอาณาจักรมะละกา ดินแดนส่วนหนึ่งในประเทศมาเลเซียเป็นรัฐโบราณ รัฐแรกๆ และมีอิทธิพลภายในราชสำนักของอาณาจักรมะละกอ
ภายหลังการได้รับเอกราชจากอังกฤษโดยสมบูรณ์เมื่อค . ศ . 1957 มาเลเซียได้กลายเป็นรัฐที่ปกครองระบอบประชาธิปไตย แต่ก็มีความพยายามที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบการปกครองของมาเลเซียให้เป็นไปตาม ระบอบของอิสลาม ความพยายามเหล่านี้เริ่มเด่นชัดในช่วงทศวรรษ 1970 การเคลื่อนไหวในการเชิญชวน (หรือว่าปรากฏการณ์ดะวะฮ) เป็นช่วงเวลาที่การทำงาน การเผยแพร่อิสลามมีการดำเนินงานอย่างชัดเจนมากขึ้น จากปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ดังกล่าวคือ จากการที่ชาติอาหรับผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ของโลกมีมติในการลดการส่งออกน้ำมัน ส่งผลให้ราคาน้ำมันในตลาดโลกมีมูลค่าที่สูงขึ้นและได้สร้างความมั่งคั่งให้ ผู้ส่งออกน้ำมัน ผลตามมาหลังจากนั้นคือ และการสนับสนุนให้ทุนการศึกษาไปศึกษาต่อในประเทศตะวันออกกลาง


การแสดงของประเทศมาเลเซีย

การแสดงประเภทร่ายรำของชาวมาเลเชีย เช่น
1. ระบำซาปิน เป็นการแสดงฟ้อนรำหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซียโบราณ ตามประวัติเกิดขึ้นก่อนในดินแดนอาระเบีย และต่อมาได้มีคนนำมาเผยแพร่ในมาเลเซียในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา การแสดงระบำซาปินมีผู้แสดง 12 คนแบ่งเป็นหญิงชายจำนวนเท่ากันฝ่ายละ 6 จับคู่เต้นกันเป็นกลุ่มใช้การยกเท้ายกขาพร้อมกันเป็นจังหวะเครื่องแต่งกายเป็นแบบเรียบๆชายใส่หมวกอิสลามหรือหมวกแขกใสเสื้อกั๊กนุ่งโสร่งเสื้อรัดรูป มีผ้าแพรคลุมศีรษะ เต้นรำตามจังหวะดนตรี ซึ่งบรรเลงจากช้าไปหาเร็ว เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในการแสดงระบำซาปินนี้ คือ กีตาร์แบบอาระเบียน หรือชื่อภาษาฝรั่งว่า Gambus กีตาร์ชนิดนี้คล้ายๆ แบนโจ ดีดไปด้วย เต้นสลับเท้าไปด้วย นอกจากกีตาร์แล้ว เครื่องดนตรีอื่นๆ ก็มีใช้ให้จังหวะคือกลองเล็ก 2 หน้า ที่ใช้ตีด้วยฝ่ามือ กลองชนิดนี้มีชื่อเรียกว่า Maruas ให้จังหวะนำกีตาร์
2. ระบำโรดัต เป็นการเต้นรำพื้นเมือง ชุดนี้เป็นการเต้นในเทศกาลประเพณีทางศาสนา ครั้งแรกนิยมใช้แสดงโดยผู้ชายล้วนๆ ต่อมาวิวัฒนาการมาเป็นแบบสากล คือ ใช้ทั้งหญิงและชายแสดงเป็นกลุ่มรวมกัน คือ กลอง 2 หน้าลูกเล็กๆ ที่มีชื่อว่า คาปัต (Kapat) ตีกันให้จังหวะเท้าของผู้เต้น นอกจากกลองแล้วก็มีหีบเพลงบรรเลงด้วย การแสดงชุดนี้จะช้าไม่รวดเร็วเป็นลักษณะเล่นเท้าธรรมดา
3 . ระบำอาชัคเป็นการรำอวยพรที่เก่าแก่ในราชสำนักของมาเลเชียในโอกาสที่ต้อนรับราชอาคันตุกะหรือบุคคลสำคัญของราชสำนักนอกจากนั้นยังใช้ในการแสดงละครมะโย่งด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: