ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอ การแปล - ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอ ไทย วิธีการพูด

ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจาก

ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย หรือระบอบ ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ มีกฎหมายสูงสุด คือรัฐธรรมนูญ โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์พระประมุขของประเทศ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475
แต่ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ประเทศไทยยังเป็นประชาธิปไตยที่ไม่เป็นไปตามหลักการ มีการปฏิวัติรัฐประหารยึด อำนาจ ตั้งคณะรัฐบาลและกำหนดบทบัญญัติขึ้นเอง ประชาชนไม่มีสิทธิเสรีภาพดังที่ควรจะเป็น ดังนั้น จึงเกิดเหตุการณ์ ใหญ่ขึ้นถึง 3 ครั้ง คือ
ในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 มีกลุ่มเรียกร้องประชาธิปไตยและต่อต้านอำนาจเผด็จการ อันประกอบไปด้วยประชาชน จากทุกสาขาอาชีพ ภายใต้การนำของนิสิต นักศึกษาจากทุกสถาบัน เป็นเหตุการณ์ที่บันทึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองการ ปกครองของไทย เพื่อให้เยาวชนรุ่นหลังได้รับรู้ เกิดความหวงแหนและร่วมกันธำรงไว้ซึ่งการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยที่ต้องแลกมาด้วยชีวิต และความยากลำบากของเพื่อนร่วมชาติ
เหตุการณ์ครั้งที่สอง เกิดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ได้มีนิสิตนักศึกษาและประชาชนร่วมกันปกป้องประชาธิปไตย ต่อต้านการกลับมาของกลุ่มอำนาจเก่า ทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีค่ายิ่งไปเป็นจำนวนมาก
และครั้งล่าสุดเกิดขึ้นวันที่ 17 พฤษภาคม 2535 มีกลุ่มต่อต้านอำนาจเผด็จการและเรียกร้องประชาธิปไตยขึ้นอีก ผลจากการเรียกร้องในครั้งนี้ นำไปสู่การแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งต่อมาได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
สถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปกครองประเทศ มีดังนี้
1. ฝ่ายบริหาร คือ คณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล
2. ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา ประกอบด้วยสมาชิก 2 ส่วน คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ซึ่งประชาชนเลือกตั้งเข้ามาทั้งหมด และวุฒิสมาชิก ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ตามการเสนอ ขึ้นโปรดเกล้าฯ ของนายกรัฐมนตรี
3. ฝ่ายตุลาการ คือ ศาล มีหน้าที่พิจารณาคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามบัญญัติของกฏหมาย เพื่อให้เกิดความ ยุติธรรมแก่ประชาชน ทั้งนี้ในรัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้ศาลเป็นสถาบันอิสระจากรัฐสภาและรัฐบาล มีคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) ทำหน้าที่ควบคุมการแต่งตั้งข้าราชการตุลาการ เพื่อให้ศาลเป็นสถาบันที่ ธำรงไว้ซึ่งความบริสุทธิ์ยุติธรรมอย่างแท้จริง

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยหรือระบอบปรมิตตาญาสิทธิราชย์มีกฎหมายสูงสุดคือรัฐธรรมนูญโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์พระประมุขของประเทศเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475แต่ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยยังเป็นประชาธิปไตยที่ไม่เป็นไปตามหลักการมีการปฏิวัติรัฐประหารยึดอำนาจตั้งคณะรัฐบาลและกำหนดบทบัญญัติขึ้นเองประชาชนไม่มีสิทธิเสรีภาพดังที่ควรจะเป็นดังนั้นจึงเกิดเหตุการณ์ใหญ่ขึ้นถึง 3 ครั้งคือในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 มีกลุ่มเรียกร้องประชาธิปไตยและต่อต้านอำนาจเผด็จการอันประกอบไปด้วยประชาชนจากทุกสาขาอาชีพภายใต้การนำของนิสิตนักศึกษาจากทุกสถาบันเป็นเหตุการณ์ที่บันทึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยเพื่อให้เยาวชนรุ่นหลังได้รับรู้เกิดความหวงแหนและร่วมกันธำรงไว้ซึ่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่ต้องแลกมาด้วยชีวิตและความยากลำบากของเพื่อนร่วมชาติทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีค่ายิ่งไปเป็นจำนวนมากต่อต้านการกลับมาของกลุ่มอำนาจเก่าได้มีนิสิตนักศึกษาและประชาชนร่วมกันปกป้องประชาธิปไตยเหตุการณ์ครั้งที่สองเกิดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม 2519และครั้งล่าสุดเกิดขึ้นวันที่ 17 พฤษภาคม 2535 มีกลุ่มต่อต้านอำนาจเผด็จการและเรียกร้องประชาธิปไตยขึ้นอีกผลจากการเรียกร้องในครั้งนี้นำไปสู่การแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญซึ่งต่อมาได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันคือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540สถาบันต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปกครองประเทศมีดังนี้1. ฝ่ายบริหารคือคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล2. ฝ่ายนิติบัญญัติคือรัฐสภาประกอบด้วยสมาชิก 2 ส่วนคือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ซึ่งประชาชนเลือกตั้งเข้ามาทั้งหมดและวุฒิสมาชิกซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ตามการเสนอขึ้นโปรดเกล้าฯ ของนายกรัฐมนตรี3. ฝ่ายตุลาการคือศาลมีหน้าที่พิจารณาคดีต่างๆ ให้เป็นไปตามบัญญัติของกฏหมายเพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชนทั้งนี้ในรัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้ศาลเป็นสถาบันอิสระจากรัฐสภาและรัฐบาลมีคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) ทำหน้าที่ควบคุมการแต่งตั้งข้าราชการตุลาการเพื่อให้ศาลเป็นสถาบันที่ธำรงไว้ซึ่งความบริสุทธิ์ยุติธรรมอย่างแท้จริง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตยหรือระบอบปรมิตตาญาสิทธิราชย์มีกฎหมายสูงสุดคือรัฐธรรมนูญโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์พระประมุขของประเทศเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475
แต่ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทย ยังเป็นประชาธิปไตยที่ไม่เป็นไปตาม หลักการมีการปฏิวัติรัฐประหารยึดอำนาจตั้งคณะรัฐบาลและกำหนดบทบัญญัติขึ้นเองประชาชนไม่มีสิทธิเสรีภาพดังที่ควรจะเป็นดังนั้นจึงเกิดเหตุการณ์ใหญ่ขึ้นถึง 3 ครั้งคือ
ในห้างหุ้นส่วนจำกัดการธนาคารวันที่ 14 ตุลาคม 2516 มีกลุ่ม เรียกร้องประชาธิปไตยและต่อต้านอำนาจเผด็จการอัน ประกอบไปด้วยประชาชนจากทุกสาขาอาชีพภายใต้การนำของนิสิตนักศึกษาจากทุกสถาบันเป็นเหตุการณ์ที่บันทึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยเพื่อให้เยาวชนรุ่นหลังได้รับรู้เกิดความหวงแหนและร่วม กันธำรงไว้ซึ่งหัวเรื่อง: การปกครองในห้างหุ้นส่วนจำกัดระบอบประชาธิปไตยที่คุณต้องแลกมาด้วยชีวิตและความสามารถยากลำบากของเชิ้ตร่วมคุณชาติ
เหตุการณ์ครั้งที่สองเกิดขึ้นในห้างหุ้นส่วนจำกัดการธนาคารวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ได้มีนิสิตนักศึกษาและประชาชนร่วมกัน ปกป้องประชาธิปไตยต่อต้านการกลับมาของ กลุ่มอำนาจเก่าทำให้ประเทศไทยคุณต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีค่ายิ่งไปเป็นจำนวนมาก
และครั้งล่าสุดเกิดขึ้นการธนาคารวันที่ 17 พฤษภาคม 2535 มีกลุ่มต่อต้านอำนาจเผด็จการและเรียกร้อง ประชาธิปไตยขึ้นอีกผลจากการเรียกร้องในครั้งนี้นำไปสู่ การแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญซึ่งต่อมาได้ มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันคือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540
สถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ประเทศมีดังนี้
1 ฝ่ายบริหารคือคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล
2 ฝ่ายนิติบัญญัติคือรัฐสภาประกอบด้วยสมาชิก 2 ส่วนคือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ( ส.ส. ) ซึ่งประชาชนเลือกตั้งเข้ามาทั้งหมดและวุฒิสมาชิก ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ตามการเสนอขึ้นโปรดเกล้าฯของนายกรัฐมนตรี
3 ฝ่ายตุลาการคือศาลมีหน้าที่พิจารณาคดี ต่าง ๆ ให้เป็นไปตามบัญญัติของกฏหมายเพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชนทั้งนี้ในรัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้ศาลเป็นสถาบันอิสระจากรัฐสภาและรัฐบาลมีคณะกรรมการตุลาการ ( ก.ต. ) ทำหน้าที่ควบคุมการแต่งตั้งข้าราชการตุลาการเพื่อ ให้ศาลเป็นสถาบันที่ธำรงไว้ซึ่งความบริสุทธิ์ยุติธรรมอย่างแท้จริง

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยหรือระบอบปรมิตตาญาสิทธิราชย์มีกฎหมายสูงสุดคือรัฐธรรมนูญโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์พระประมุขของประเทศเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475แต่ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยยังเป็นประชาธิปไตยที่ไม่เป็นไปตามหลักการมีการปฏิวัติรัฐประหารยึดอำนาจตั้งคณะรัฐบาลและกำหนดบทบัญญัติขึ้นเองประชาชนไม่มีสิทธิเสรีภาพดังที่ควรจะเป็นดังนั้นจึงเกิดเหตุการณ์ใหญ่ขึ้นถึง 3 ครั้งความในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 มีกลุ่มเรียกร้องประชาธิปไตยและต่อต้านอำนาจเผด็จการอันประกอบไปด้วยประชาชนจากทุกสาขาอาชีพภายใต้การนำของนิสิตนักศึกษาจากทุกสถาบันเป็นเหตุการณ์ที่บันทึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยเพื่อให้เยาวชนรุ่นหลังได้รับรู้เกิดความห วงแหนและร่วมกันธำรงไว้ซึ่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่ต้องแลกมาด้วยชีวิตและความยากลำบากของเพื่อนร่วมชาติเหตุการณ์ครั้งที่สองเกิดขึ้นในวันที่ตุลาคมได้มีนิสิตนักศึกษาและประชาชนร่วมกันปกป้องประชาธิปไตยต่อต้านการกลับมาของกลุ่มอำนาจเก่าทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีค่ายิ่งไปเป็นจำนวนมาก 6 ดวงและครั้งล่าสุดเกิดขึ้นวันที่ 17 พฤษภาคม 2535 มีกลุ่มต่อต้านอำนาจเผด็จการและเรียกร้องประชาธิปไตยขึ้นอีกผลจากการเรียกร้องในครั้งนี้นำไปสู่การแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญซึ่งต่อมาได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันความรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540สถาบันต่างจะที่เกี่ยวข้องกับการปกครองประเทศมีดังนี้1 . ฝ่ายบริหารความคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล2 . ฝ่ายนิติบัญญัติความรัฐสภาประกอบด้วยสมาชิก 2 ส่วนความสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ( ส . ส ) ซึ่งประชาชนเลือกตั้งเข้ามาทั้งหมดและวุฒิสมาชิกซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ตามการเสนอขึ้นโปรดเกล้าฯของนายกรัฐมนตรี3 . ฝ่ายตุลาการความศาลมีหน้าที่พิจารณาคดีต่างจะให้เป็นไปตามบัญญัติของกฏหมายเพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชนทั้งนี้ในรัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้ศาลเป็นสถาบั
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: