3. มาตรอันตรภาค (Interval Scale) เป็นระดับของการวัดที่สูงกว่าสองมาตราท การแปล - 3. มาตรอันตรภาค (Interval Scale) เป็นระดับของการวัดที่สูงกว่าสองมาตราท ไทย วิธีการพูด

3. มาตรอันตรภาค (Interval Scale) เป

3. มาตรอันตรภาค (Interval Scale)
เป็นระดับของการวัดที่สูงกว่าสองมาตราที่กล่าว มาโดยมีคุณสมบัติเพิ่มขึ้นอีก 2 ประการ คือ มี
ศูนย์สมมุติ (Arbitrary Zero or Relative Zero) และมีหน่วยของการวัดที่เท่ากัน ตัวอย่างของมาตรานี้ ได้แก่
การวัดอุณหภูมิ เช่น ในหน่วยวัดอุณหภูมิแบบเซลเซียส จะก าหนดจุดที่น้ ากลายเป็นน้ าแข็งเป็น 0° ซ. เป็นศูนย์
เทียมไม่ได้หมายความว่าถึง ณ อุณหภูมิ 0° ซ. นี้ไม่มีความร้อนอยู่เลยแต่เป็นเพียงจุดที่น้ ากลายเป็นน้ าแข็ง
จากการที่มีหน่วยของการวัดที่เท่ากัน และมีศูนย์เทียมจึงสามารถเปรียบเทียบปริมาณ หรือคุณภาพได้ว่า
มากกว่ากันเท่าไร เช่น 40° ซ. จะมีอุณหภูมิสูงกว่า 30° ซ. อยู่ 10° ซ. และสามารถพูดได้ว่าอุณหภูมิ 20° ซ. สูง
กว่าอุณหภูมิ 15° ซ. เท่ากับอุณหภูมิ 14° ซ. สูงกว่าอุณหภูมิ 9° ซ. เพราะต่างก็สูงกว่ากัน 5° ซ. (ไม่อาจพูดได้
ว่าอุณหภูมิ 60° ซ. ร้อนเป็นสองเท่าของอุณหภูมิ 30° ซ. เพราะความร้อนไม่ได้เริ่มที่จุด 0° ซ.) หรือ 60° ซ. =
2 (30° ซ.) แต่ปริมาณความร้อนของสสาร 60° ซ. ? 2 (ความร้อนของสสาร 30° ซ.) นักพฤติกรรมศาสตร์มัก
ถือเอาว่าคะแนนการสอบเป็นการวัดในมาตรานี้ จึงตีความในลักษณะเดียวกันกับกรณีของอุณหภูมิที่กล่าวมา
เช่น ในแบบทดสอบที่มีจ านวน 60 ข้อ ถ้า ก สอบได้ 50 คะแนน ข สอบได้ 30 คะแนน ค สอบได้ 25 คะแนน
และ ง สอบได้ 5 คะแนน ก็กล่าวว่า ก ได้คะแนนมากกว่า ข 20 คะแนน ข ได้คะแนนมากกว่า ง 25 คะแนน ก
ได้คะแนนมากกว่า ข เท่ากับ ค ได้คะแนนมากกว่า ง (ต่างกันมากกว่า 20 คะแนน) แต่ไม่สามารถตีความได้ว่า
ก มีความรู้เป็น 2 เท่าของ ค เพราะจุดเริ่มต้นไม่ใช้ศูนย์แท้ ผู้สอบได้คะแนนศูนย์ไม่ได้หมายความว่าไม่มีความรู้
ในวิชานั้น เป็นเพียงแต่ว่าท าข้อสอบชุดนั้นไม่ได้ ถ้าออกข้อสอบมากกว่านั้น หรือง่ายกว่านั้นเขาอาจท าได้บ้าง
มาตราอันตราภาคนับว่าเป็นมาตราที่เป็นปริมาณอย่างแท้จริงไม่เหมือนมาตรานามบัญญัติและมาตรา
เรียงล าดับข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราอันตรภาค (Interval scale)
เป็นข้อมูลที่มีลักษณะจ าแนกกลุ่ม เรียงอันดับ และแบ่งเป็นช่วง ๆ โดยแต่ละช่วงมีขนาดเท่ากัน
ศูนย์ของข้อมูลประเภทนี้เป็นศูนย์สมมติ ไม่มีศูนย์แท้ เช่น คะแนนสอบ อุณหภูมิ เวลา IQ
สรุป ถ้าข้อมูลบอกความแตกต่างเป็นหน่วยที่เท่ากันได้ เป็นการจ าแนกความแตกต่างที่ละเอียด
ขึ้น เพราะสามารถบอกความแตกต่างเป็นปริมาณหน่วยที่เท่ากัน ท าให้บอกระดับความแตกต่างที่ละเอียดมาก
และบอกได้ว่าแต่ละคนแตกต่างกันเป็นปริมาณเท่าใด โดยเปรียบเทียบกับหน่วยปริมาณที่เท่ากันได้ เช่น
คะแนนสอบของนักศึกษาทั้ง 30 คน เราเรียกข้อมูลที่จ าแนกถึง หน่วยที่แตกต่างกันได้ว่า ข้อมูลระดับช่วง
บัญญัติ ( Interval scale)
4. มาตรอัตราส่วน (Ratio Scale)
เป็นระดับของการวัดที่สูงที่สุด มีความสมบูรณ์ มากกว่ามาตราวัดอันตรภาค นอกจากจะมี
คุณสมบัติเหมือนมาตราวัดอันตรภาคแล้วยังมี ศูนย์แท้ (Absolute Zero) ในขณะที่มาตราอันตรภาคมีเพียง
ศูนย์สมมุติ ตัวอย่างการวัดในมาตรานี้ได้แก่ การวัดความยาว น้ าหนัก ส่วนสูง อายุแต่ละหน่วยของความยาว
จะมีช่วงเท่ากันแต่ละหน่วยของ น้ าหนักมีขนาดเท่ากัน เช่น เอื้อมพร หนัก 40 กิโลกรัม จะหนักเป็น 2 เท่าของ
นิตยารัตน์ ซึ่งหนัก 20 กิโลกรัม การที่กล่าวเช่นนี้ได้เนื่องจากแต่ละหน่วยกิโลกรัมมีน้ าหนักเท่ากัน และเริ่มจาก
ศูนย์แท้ น้ าหนักศูนย์กิโลกรัมก็คือไม่มีน้ าหนักเลยเนื่องจากการวัดระดับนี้มีความสมบูรณ์ทุกประการ จึง
สามารถน ามาจัดกระท าตามหลักคณิตศาสตร์ได้ทุกประการ เช่น บวก ลบ คูณ หาร ถอดราก และยกก าลังได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
3. มาตรอันตรภาค (ช่วงสเกล) เป็นระดับของการวัดที่สูงกว่าสองมาตราที่กล่าวมาโดยมีคุณสมบัติเพิ่มขึ้นอีก 2 ประการคือมี ได้แก่ตัวอย่างของมาตรานี้และมีหน่วยของการวัดที่เท่ากันศูนย์สมมุติ (ศูนย์กำหนดหรือศูนย์สัมพัทธ์) การวัดอุณหภูมิเช่นในหน่วยวัดอุณหภูมิแบบเซลเซียสจะกาหนดจุดที่น้ากลายเป็นน้าแข็งเป็น 0° ซ. เป็นศูนย์เทียมไม่ได้หมายความว่าถึงณอุณหภูมิ 0° ซ. นี้ไม่มีความร้อนอยู่เลยแต่เป็นเพียงจุดที่น้ากลายเป็นน้าแข็ง จากการที่มีหน่วยของการวัดที่เท่ากันและมีศูนย์เทียมจึงสามารถเปรียบเทียบปริมาณหรือคุณภาพได้ว่ามากกว่ากันเท่าไรเช่น 40° ซ. จะมีอุณหภูมิสูงกว่า 30° ซ. อยู่ 10° ซ. และสามารถพูดได้ว่าอุณหภูมิ 20° ซสูงกว่าอุณหภูมิ 15° ซ. เท่ากับอุณหภูมิ 14° ซ. สูงกว่าอุณหภูมิ 9° ซ. เพราะต่างก็สูงกว่ากัน 5 ซ. (ไม่อาจพูดได้ว่าอุณหภูมิ 60 °ซ. ร้อนเป็นสองเท่าของอุณหภูมิ 30 °ซ. เพราะความร้อนไม่ได้เริ่มที่จุด 0 °ซ) หรือ 60° ซ. = 2 (30° ซ.) แต่ปริมาณความร้อนของสสาร 60° ซ. นักพฤติกรรมศาสตร์มัก (ความร้อนของสสาร 30° ซ.) 2ถือเอาว่าคะแนนการสอบเป็นการวัดในมาตรานี้จึงตีความในลักษณะเดียวกันกับกรณีของอุณหภูมิที่กล่าวมา เช่นในแบบทดสอบที่มีจานวน 60 ข้อถ้าพบว่ามีสอบได้ 50 คะแนนขสอบได้ 30 คะแนนคสอบได้ 25 คะแนน และงสอบได้ 5 คะแนนก็กล่าวว่าพบว่ามีได้คะแนนมากกว่าข 20 คะแนนขได้คะแนนมากกว่าง 25 คะแนนพบว่ามี ได้คะแนนมากกว่าขเท่ากับคได้คะแนนมากกว่าง (ต่างกันมากกว่า 20 คะแนน) แต่ไม่สามารถตีความได้ว่า พบว่ามีมีความรู้เป็น 2 เท่าของคเพราะจุดเริ่มต้นไม่ใช้ศูนย์แท้ผู้สอบได้คะแนนศูนย์ไม่ได้หมายความว่าไม่มีความรู้ในวิชานั้นเป็นเพียงแต่ว่าทาข้อสอบชุดนั้นไม่ได้ถ้าออกข้อสอบมากกว่านั้นหรือง่ายกว่านั้นเขาอาจทาได้บ้าง มาตราอันตราภาคนับว่าเป็นมาตราที่เป็นปริมาณอย่างแท้จริงไม่เหมือนมาตรานามบัญญัติและมาตราเรียงลาดับข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราอันตรภาค (ช่วงสเกล) เป็นข้อมูลที่มีลักษณะจาแนกกลุ่มเรียงอันดับและแบ่งเป็นช่วงๆ โดยแต่ละช่วงมีขนาดเท่ากัน ศูนย์ของข้อมูลประเภทนี้เป็นศูนย์สมมติไม่มีศูนย์แท้คะแนนสอบเช่นอุณหภูมิเวลาไอคิว สรุปถ้าข้อมูลบอกความแตกต่างเป็นหน่วยที่เท่ากันได้เป็นการจาแนกความแตกต่างที่ละเอียดขึ้นเพราะสามารถบอกความแตกต่างเป็นปริมาณหน่วยที่เท่ากันทาให้บอกระดับความแตกต่างที่ละเอียดมาก และบอกได้ว่าแต่ละคนแตกต่างกันเป็นปริมาณเท่าใดโดยเปรียบเทียบกับหน่วยปริมาณที่เท่ากันได้เช่น คะแนนสอบของนักศึกษาทั้ง 30 คนเราเรียกข้อมูลที่จาแนกถึงหน่วยที่แตกต่างกันได้ว่าข้อมูลระดับช่วงบัญญัติ (ช่วงสเกล) 4. มาตรอัตราส่วน (อัตราส่วนมาตราส่วน) เป็นระดับของการวัดที่สูงที่สุดมีความสมบูรณ์มากกว่ามาตราวัดอันตรภาคนอกจากจะมีในขณะที่มาตราอันตรภาคมีเพียงคุณสมบัติเหมือนมาตราวัดอันตรภาคแล้วยังมีศูนย์แท้ (ศูนย์สัมบูรณ์)ศูนย์สมมุติตัวอย่างการวัดในมาตรานี้ได้แก่การวัดความยาวน้าหนักส่วนสูงอายุแต่ละหน่วยของความยาวจะมีช่วงเท่ากันแต่ละหน่วยของน้าหนักมีขนาดเท่ากันเช่นเอื้อมพรหนัก 40 กิโลกรัมจะหนักเป็น 2 เท่าของนิตยารัตน์ซึ่งหนัก 20 กิโลกรัมการที่กล่าวเช่นนี้ได้เนื่องจากแต่ละหน่วยกิโลกรัมมีน้าหนักเท่ากันและเริ่มจากศูนย์แท้น้าหนักศูนย์กิโลกรัมก็คือไม่มีน้าหนักเลยเนื่องจากการวัดระดับนี้มีความสมบูรณ์ทุกประการจึงสามารถนามาจัดกระทาตามหลักคณิตศาสตร์ได้ทุกประการเช่นบวกลบคูณหารถอดรากและยกกาลังได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
3. มาตรอันตรภาค (ช่วงเวลา
มาโดยมีคุณสมบัติเพิ่มขึ้นอีก 2 ประการคือมี
ศูนย์สมมุติ (โดยพลการเป็นศูนย์หรือญาติเป็นศูนย์) และมีหน่วยของการวัดที่เท่ากันตัวอย่างของมาตรานี้ ได้แก่
การวัดอุณหภูมิเช่นในหน่วยวัดอุณหภูมิแบบเซลเซียสจะกาหนดจุด ที่น้ากลายเป็นน้าแข็งเป็น 0 °ซ
ณ อุณหภูมิ 0 °ซ ากลายเป็นน้
หรือคุณภาพได้ว่า
มากกว่ากันเท่าไรเช่น 40 °ซ. จะมีอุณหภูมิสูงกว่า 30 °ซ. อยู่ที่ 10 °ซ. และสามารถพูดได้ว่าอุณหภูมิ 20 °ซ. สูง
กว่าอุณหภูมิ 15 °ซ. เท่ากับอุณหภูมิ 14 °ซ. สูง กว่าอุณหภูมิ 9 °ซ. เพราะต่างก็สูงกว่ากัน 5 °ซ. (ไม่รัตนาพูดได้
ว่าอุณหภูมิ 60 °ซ. ร้อนเป็นสองเท่าของอุณหภูมิ 30 °ซ. เพราะความร้อนไม่ได้เริ่มที่จุด 0 °ซ.) หรือ 60 °ซ. =
2 (30 °ซ.) แต่ปริมาณความร้อนของสสาร 60 °ซ. 2 (ความร้อนของสสารที่ 30 °ซ.) ในแบบทดสอบที่มีจานวน 60 ข้อถ้ากสอบได้ 50 คะแนนขสอบได้ 30 คะแนนคสอบได้ 25 คะแนนและงสอบได้ 5 คะแนนก็กล่าวว่ากได้คะแนนมากกว่าข 20 คะแนนขได้คะแนนมากกว่าง 25 คะแนน กได้คะแนนมากกว่าขเท่ากับคได้คะแนนมากกว่าง (ต่างกันมากกว่า 20 คะแนน) แต่ไม่สามารถตีความได้ว่ากมีความรู้เป็น 2 เท่าของคเพราะจุดเริ่มต้นไม่ใช้ศูนย์แท้ เป็นเพียงแต่ว่าทาข้อสอบชุดนั้นไม่ได้ถ้าออกข้อสอบมากกว่านั้นหรือง่ายกว่านั้นเขาอาจท (ขนาดช่วง) เป็นข้อมูลที่มีลักษณะจาแนกกลุ่มเรียงอันดับและแบ่งเป็นช่วง ๆ ไม่มีศูนย์แท้เช่นคะแนนสอบอุณหภูมิเวลา IQ สรุป เป็นการจาแนกความแตกต่างที่ละเอียดขึ้น ท เช่นคะแนนสอบของนักศึกษาทั้ง 30 คนเราเรียกข้อมูลที่จาแนกถึงหน่วยที่แตกต่างกันได้ว่าข้อมูลระดับช่วงบัญญัติ (ขนาดช่วง) 4. มาตรอัตราส่วน (Ratio สเกล) เป็นระดับของการวัดที่สูงที่สุดมีความ สมบูรณ์มากกว่ามาตราวัดอันตรภาค ศูนย์แท้ (สัมบูรณ์) ตัวอย่างการวัดในมาตรานี้ ได้แก่ การวัดความยาวน้าหนักส่วนสูง น้าหนักมีขนาดเท่ากันเช่นเอื้อมพรหนัก 40 กิโลกรัมจะหนักเป็น 2 เท่าของนิตยารัตน์ซึ่งหนัก 20 กิโลกรัม าหนักเท่ากันและเริ่มจากศูนย์แท้น้าหนักศูนย์กิโลกรัมก็คือไม่มีน้ จึงสามารถนามาจัดกระทาตามหลักคณิตศาสตร์ได้ทุกประการเช่นบวกลบคูณหารถอดรากและยกกาลังได้






















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: