หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา 1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบขอ การแปล - หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา 1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบขอ ไทย วิธีการพูด

หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา 1.ขันธ

หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา

1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม

รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่
- ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)
- ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่น เลือด น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำตา )
- ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออก ลมในกระเพาะอาหาร)
- ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่ ความร้อนในร่างกายมนุษย์)

นาม คือ ส่วนที่มองไม่เห็นหรือจิตใจ ได้แก่
- เวทนา คือ ความรู้สึกที่เกิดจากประสาทสัมผัส เช่น สุขเวทนา ทุกขเวทนาและอุเบกขาเวทนา ไม่ยินดียินร้าย
- สัญญา คือ ความจำได้โดยอาศัยประสาทสัมผัส เมื่อสัมผัสอีกครั้งก็สามารถบอกได้
- สังขาร คือ สภาพที่ปรุงแต่งจิตใจให้คิดดี คิดชั่ว หรือเป็นกลาง สิ่งที่เข้ามาปรุงแต่งจิต ได้แก่ เจตนา ค่านิยม ความสนใจ ความโลภ และความหลง
- วิญญาณ คือ ความรับรู้ที่ผ่านมาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อายตนะ 6)

2.อริยสัจ 4
อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ เป็นหลักคำสอนที่สำคัญที่สุดของพระพุทธศาสนา
เพราะเป็นคำสอนที่จะช่วยให้บุคคลรอดพ้นจากความทุกข์เพื่อสู่นิพพาน ได้แก่
1. ทุกข์ หมายถึง สภาพที่ทนได้ยากทั้งร่างกายและจิตใจ
1.1 สภาวทุกข์ หรือ ทุกข์ประจำ ได้แก่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
1.2 ปกิณกทุกข์ หรือทุกข์จร เป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นภายหลัง เกิดขึ้นแล้วก็ผ่านไปและเกิดขึ้นเนืองๆ เช่น ความเศร้าโศก ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ
2. สมุทัย หมายถึง เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา( ความอยาก)
2.1 กามตัณหา คือ อยากในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่ตนยังไม่มี
2.2 ภวตัณหา คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นานๆ
2.3 วิภวตัณหา คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นานๆ
3. นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข์ คือ ให้ดับที่เหตุ ซึ่งมีขั้นตอนตามลำดับในมรรค 8
4. มรรคมีองค์ 8 หนทางแห่งการดับทุกข์
4.1 สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ คือ มีความเข้าใจว่าอะไรคือทุกข์ อะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์ อะไรคือความดับทุกข์
4.2 สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ คือ ความคิดที่ปลอดโปร่ง ความคิดไม่พยาบาท ความคิดไม่เบียดเบียน
4.3 สัมมาวาจา วาจาชอบ คือ ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ
4.4 สัมมากัมมันตะ การงานชอบ คือ ไม่ทำลายชีวิตคนอื่น ไม่ขโมยของ ไม่ผิดในกาม
4.5 สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ คือ การทำมาหากินด้วยอาชีพสุจริต
4.6 สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ คือ เพียรระวังมิให้ความชั่วที่ยังไม่เกิดขึ้น เพียรละความชั่วที่เกิดขึ้น เพียรรักษาความดีที่เกิดขึ้นแล้ว
4.7 สัมมาสติ ความระลึกชอบ คือ พิจารณากาย พิจารณาเวทนา พิจารณาจิต พิจารณาธรรม
4.8 สัมมาสมาธิ การตั้งใจชอบ คือ การตั้งจิตที่แน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง ไม่ฟุ้งซ่านเพื่อมุ่งมั่นกระทำความดี

จากอริยสัจ 4 สังเกตได้ว่า
1. ทุกข์ คือ ตัวปัญหา
2. สมุทัย คือ สาเหตุของปัญหา
3. นิโรธ คือ การแก้ปัญหา
4. มรรค คือ วิธีการแก้ปัญหา

มรรคมีองค์แปด คือ ไตรสิกขา ได้แก่
ศีล: สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ
สมาธิ: สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
ปัญญา: สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ

ความสำคัญของอริยสัจ 4
1. เป็นคำสอนที่คลุมหลักธรรมทั้งหมดของพระพุทธศาสนา
2. เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาตามหลักวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการแห่งปัญญา
3. คำสอนที่ชี้ให้เห็นว่ามนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้ ตามหลักความจริงแห่งธรรมชาติ

3. ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะทั่วไปของสิ่งทั้งปวง
1. อนิจจตา หรือ อนิจจัง ความไม่คงที่ ไม่เที่ยง ไม่ถาวร ไม่แน่นอน
2. ทุกขตา หรือ ทุกขัง สภาพที่อยู่ในสภาวะเดิมไม่ได้ ต้องแปรปรวนไป
3. อนัตตา ความไม่ใช่ตัวตนแท้จริง ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชา ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
ในเรื่งไตรลักษณ์ พระพุทธศาสนาถือว่าเป็นคำสอนสูงสุด ซึ่งทุกสิ่งในสากลจักรวาลล่วนเป็นอนัตตาทั้งสิ้น

4. กฎแห่งกรรม หมายถึง กระบวนการกระทำและการให้ผลการกระทำของมนุษย์ ซึ่งมีหลักอยู่ว่า “คนหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ทำความดีย่อมได้รับผลดี ผู้ทำกรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว”
กรรม คือ การกระทำทางกาย วาจา หรือใจ ที่ประกอบด้วยเจตนา ดังพุทธวจนะตรัสว่า “ ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่าเจตนาเป็นกรรม บุคคลจงใจแล้ว ย่อมกระทำทางกาย ทางวาจาและทางใจ

5. พรหมวิหาร 4
ธรรมสำหรับผู้เป็นใหญ่ ผู้ปกครอง พ่อแม่ จำเป็นต้องมีไว้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวสำหรับดำเนินชีวิต ได้แก่
1. เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็นสุข
2. กรุณา ความสงสาร ต้องการที่จะช่วยบุคคลอื่น สัตว์อื่นให้หลุดพ้นจากความทุกข์
3. มุทิตา ความชื่นชมยินดีเมื่อเห็นบุคคลอื่นเขาได้ดี
4. อุเบกขา ความวางเฉยไม่ดีใจไม่เสียใจ เมื่อบุคคลอื่นประสบความวิบัติ

6. อัปปมาท
ธรรมที่กล่าวถึงความไม่ประมาท คือ การดำเนินชีวิตที่มีสติเป็นเครื่องกำกับความประพฤติปฏิบัติและการกระทำทุกอย่าง ระมัดระวังไม่ถลำตัวไปในทางเสื่อมเสีย พระพุทธเจ้าทรงมีพระดำรัสเกี่ยวกับความไม่ประมาทว่า “ ความไม่ประมาท ย่อมเป็นประโยชน์ยิ่งใหญ่”

7. สังคหวัตถุ 4
หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจคน
1. ทาน การให้
2. ปิยวาจา การกล่าวถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน
3. อัตถจริยา การบำเพ็ญประโยชน์
4. สมานัตตตา การประพฤติตนสม่ำเสมอทั้งต่อหน้าและลับหลัง

8. ฆราวาสธรรม 4
หลักธรรมสำหรับผู้ครองเรือน ได้แก่
1. สัจจะ การมีความซื่อตรงต่อกัน
2. ทมะ การรู้จักข่มจิตของตน ไม่หุนหันพลันแล่น
3. ขันติ ความอดทนและให้อภัย
4. จาคะ การเ สียสละแบ่งปันของตนแก่คนที่ควรแบ่งปัน

9. บุญกิริยาวัตถุ 10
หลักธรรมแห่งการทำบุญ ทางแห่งการทำความดี 10 ประการ
1. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน
2. ศีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล
3. ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา
4. อปจายนมัย บุญสำเร็จด้วยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่
5. เวยยาวัจจมัย บุญสำเร็จด้วยการช่วยเหลือขวนขวายในกิจการงานต่างๆ
6. ปัตติทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ
7. ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ
8. ธัมมัสสวนมัย บุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม
9. ธัมมเทสนามัย บุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม
10. ทิฏฐุชุกัมม์ บุญสำเร็จด้วยการทำความคิดค
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา 1.ขันธ์ 5 หรือเบญจขันธ์คือองค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม รูปคือส่วนที่เป็นร่างกายประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่ -ธาตุดิน (ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็งเช่นเนื้อกระดูกผม) -ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่นเลือดน้ำลายน้ำตาน้ำเหลือง) -ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกายได้แก่ลมหายใจเข้าออกลมในกระเพาะอาหาร) -ธาตุไฟ (ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกายได้แก่ความร้อนในร่างกายมนุษย์) นามคือส่วนที่มองไม่เห็นหรือจิตใจได้แก่ -เวทนาคือความรู้สึกที่เกิดจากประสาทสัมผัสเช่นสุขเวทนาทุกขเวทนาและอุเบกขาเวทนาไม่ยินดียินร้าย -สัญญาคือความจำได้โดยอาศัยประสาทสัมผัสเมื่อสัมผัสอีกครั้งก็สามารถบอกได้ -สังขารคือสภาพที่ปรุงแต่งจิตใจให้คิดดีคิดชั่วหรือเป็นกลางสิ่งที่เข้ามาปรุงแต่งจิตได้แก่เจตนาค่านิยมความสนใจความโลภและความหลง -วิญญาณคือความรับรู้ที่ผ่านมาทางตาหูจมูกลิ้นกายใจ (อายตนะ 6) 2.อริยสัจ 4 อริยสัจ 4 แปลว่าความจริงอันประเสริฐเป็นหลักคำสอนที่สำคัญที่สุดของพระพุทธศาสนา เพราะเป็นคำสอนที่จะช่วยให้บุคคลรอดพ้นจากความทุกข์เพื่อสู่นิพพานได้แก่ 1. ทุกข์หมายถึงสภาพที่ทนได้ยากทั้งร่างกายและจิตใจ 1.1 สภาวทุกข์หรือทุกข์ประจำได้แก่เกิดแก่เจ็บตาย 1.2 ปกิณกทุกข์หรือทุกข์จรเป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นภายหลังเกิดขึ้นแล้วก็ผ่านไปและเกิดขึ้นเนือง ๆ เช่นความเศร้าโศกความไม่สบายกายไม่สบายใจความคับแค้นใจ 2. สมุทัยหมายถึงเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ได้แก่ตัณหา (ความอยาก) 2.1 กามตัณหาคืออยากในรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสที่ตนยังไม่มี 2.2 ภวตัณหาคือความอยากมีอยากเป็นอยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นาน ๆ 2.3 วิภวตัณหาคือความอยากมีอยากเป็นอยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นาน ๆ 3. นิโรธหมายถึงความดับทุกข์คือให้ดับที่เหตุซึ่งมีขั้นตอนตามลำดับในมรรค 8 4. มรรคมีองค์ 8 หนทางแห่งการดับทุกข์ 4.1 สัมมาทิฐิความเห็นชอบคือมีความเข้าใจว่าอะไรคือทุกข์อะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์อะไรคือความดับทุกข์ 4.2 สัมมาสังกัปปะความดำริชอบคือความคิดที่ปลอดโปร่งความคิดไม่พยาบาทความคิดไม่เบียดเบียน 4.3 สัมมาวาจาวาจาชอบคือไม่พูดเท็จไม่พูดส่อเสียดไม่พูดหยาบไม่พูดเพ้อเจ้อ 4.4 สัมมากัมมันตะการงานชอบคือไม่ทำลายชีวิตคนอื่นไม่ขโมยของไม่ผิดในกาม การทำมาหากินด้วยอาชีพสุจริตคือเลี้ยงชีพชอบ 4.5 สัมมาอาชีวะ 4.6 สัมมาวายามะความเพียรชอบคือเพียรระวังมิให้ความชั่วที่ยังไม่เกิดขึ้นเพียรละความชั่วที่เกิดขึ้นเพียรรักษาความดีที่เกิดขึ้นแล้ว 4.7 สัมมาสติความระลึกชอบคือพิจารณากายพิจารณาเวทนาพิจารณาจิตพิจารณาธรรม 4.8 สัมมาสมาธิการตั้งใจชอบคือการตั้งจิตที่แน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งไม่ฟุ้งซ่านเพื่อมุ่งมั่นกระทำความดี สังเกตได้ว่าจากอริยสัจ 4 1. ทุกข์คือตัวปัญหา 2. สมุทัยคือสาเหตุของปัญหา 3. นิโรธคือการแก้ปัญหา 4. มรรคคือวิธีการแก้ปัญหามรรคมีองค์แปดคือไตรสิกขาได้แก่ ศีล: สัมมาวาจาสัมมากัมมันตะสัมมาอาชีวะสัมมาวายามะ สมาธิ: สัมมาสติสัมมาสมาธิ ปัญญา: สัมมาทิฐิสัมมาสังกัปปะ ความสำคัญของอริยสัจ 4 1. เป็นคำสอนที่คลุมหลักธรรมทั้งหมดของพระพุทธศาสนา 2. เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาตามหลักวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการแห่งปัญญา 3. คำสอนที่ชี้ให้เห็นว่ามนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้ตามหลักความจริงแห่งธรรมชาติ 3. ไตรลักษณ์คือลักษณะทั่วไปของสิ่งทั้งปวง 1. อนิจจตาหรืออนิจจังความไม่คงที่ไม่เที่ยงไม่ถาวรไม่แน่นอน 2. ทุกขตาหรือทุกขังสภาพที่อยู่ในสภาวะเดิมไม่ได้ต้องแปรปรวนไป 3. อนัตตาความไม่ใช่ตัวตนแท้จริงไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาไม่มีใครเป็นเจ้าของ ในเรื่งไตรลักษณ์พระพุทธศาสนาถือว่าเป็นคำสอนสูงสุดซึ่งทุกสิ่งในสากลจักรวาลล่วนเป็นอนัตตาทั้งสิ้น 4. กฎแห่งกรรมหมายถึงกระบวนการกระทำและการให้ผลการกระทำของมนุษย์ซึ่งมีหลักอยู่ว่า "คนหว่านพืชเช่นใดย่อมได้ผลเช่นนั้นผู้ทำความดีย่อมได้รับผลดีผู้ทำกรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว" กรรมคือการกระทำทางกายวาจาหรือใจที่ประกอบด้วยเจตนาดังพุทธวจนะตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลายเรากล่าวว่าเจตนาเป็นกรรมบุคคลจงใจแล้วย่อมกระทำทางกายทางวาจาและทางใจ 5. พรหมวิหาร 4 ธรรมสำหรับผู้เป็นใหญ่ผู้ปกครองพ่อแม่จำเป็นต้องมีไว้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวสำหรับดำเนินชีวิตได้แก่ 1. เมตตาความรักใคร่ปรารถนาจะให้เป็นสุข 2. กรุณาความสงสารต้องการที่จะช่วยบุคคลอื่นสัตว์อื่นให้หลุดพ้นจากความทุกข์ 3. มุทิตาความชื่นชมยินดีเมื่อเห็นบุคคลอื่นเขาได้ดี 4. อุเบกขาความวางเฉยไม่ดีใจไม่เสียใจเมื่อบุคคลอื่นประสบความวิบัติ 6. อัปปมาท ธรรมที่กล่าวถึงความไม่ประมาทคือการดำเนินชีวิตที่มีสติเป็นเครื่องกำกับความประพฤติปฏิบัติและการกระทำทุกอย่างระมัดระวังไม่ถลำตัวไปในทางเสื่อมเสียพระพุทธเจ้าทรงมีพระดำรัสเกี่ยวกับความไม่ประมาทว่า "ความไม่ประมาทย่อมเป็นประโยชน์ยิ่งใหญ่" 7. สังคหวัตถุ 4หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจคน 1. ทานการให้ 2. ปิยวาจาการกล่าวถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน 3. อัตถจริยาการบำเพ็ญประโยชน์ 4. สมานัตตตาการประพฤติตนสม่ำเสมอทั้งต่อหน้าและลับหลัง 8. ฆราวาสธรรม 4หลักธรรมสำหรับผู้ครองเรือนได้แก่ 1. สัจจะการมีความซื่อตรงต่อกัน 2. ทมะการรู้จักข่มจิตของตนไม่หุนหันพลันแล่น 3. ขันติความอดทนและให้อภัย 4. จาคะการเสียสละแบ่งปันของตนแก่คนที่ควรแบ่งปัน 9. บุญกิริยาวัตถุ 10หลักธรรมแห่งการทำบุญทางแห่งการทำความดี 10 ประการ 1. ทานมัยบุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน 2. ศีลมัยบุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล 3. ภาวนามัยบุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา 4. อปจายนมัยบุญสำเร็จด้วยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ 5. เวยยาวัจจมัยบุญสำเร็จด้วยการช่วยเหลือขวนขวายในกิจการงานต่าง ๆ 6. ปัตติทานมัยบุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ 7. ปัตตานุโมทนามัยบุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ 8. ธัมมัสสวนมัยบุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม 9. ธัมมเทสนามัยบุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม 10. ทิฏฐุชุกัมม์บุญสำเร็จด้วยการทำความคิดค
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
5 หรือเบญจขันธ์คือ คือส่วนที่เป็นร่างกายประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่- เช่นเนื้อกระดูกผม) - ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่นเลือดน้ำลายน้ำเหลืองน้ำตา) - ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออกลมในกระเพาะอาหาร) - ธาตุไฟ (ส่วนที่เป็นอุณหภูมิ ของร่างกาย ได้แก่ ความร้อนในร่างกายมนุษย์) นามคือส่วนที่มองไม่เห็นหรือจิตใจ ได้แก่- เวทนาคือความรู้สึกที่เกิดจากประสาทสัมผัสเช่นสุขเวทนาทุกขเวทนาและอุเบกขาเวทนาไม่ยินดียินร้าย- สัญญาคือความจำได้โดยอาศัยประสาทสัมผัสเมื่อ สัมผัสอีกครั้งก็สามารถบอกได้- สังขารคือสภาพที่ปรุงแต่งจิตใจให้คิดดีคิดชั่วหรือเป็นกลางสิ่งที่เข้ามาปรุงแต่งจิต ได้แก่ เจตนาค่านิยมความสนใจความโลภและความหลง- วิญญาณคือความรับรู้ที่ผ่านมาทาง ตาหูจมูกลิ้นกายใจ (อายตนะ 6) 2. อริยสัจ 4 อริยสัจ 4 แปลว่าความจริงอันประเสริฐ ได้แก่1 ทุกข์หมายถึง สภาวทุกข์หรือทุกข์ประจำ ได้แก่ เกิดแก่เจ็บตาย1.2 ปกิ ณ กทุกข์หรือทุกข์จรเป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่นความเศร้าโศกความไม่สบายกายไม่สบายใจความคับแค้นใจ2 สมุทัยหมายถึงเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา (ความอยาก) 2.1 กามตัณหาคืออยากในรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสที่ตนยังไม่มี2.2 ภวตัณหาคือความอยากมีอยากเป็นอยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นาน ๆ2.3 วิภวตัณหาคือความอยาก มีอยากเป็นอยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นาน ๆ3 นิโรธหมายถึงความดับทุกข์คือให้ดับที่เหตุซึ่งมีขั้นตอนตามลำดับในมรรค 8 4. มรรคมีองค์ 8 หนทางแห่งการดับทุกข์4.1 สัมมาทิฐิความเห็นชอบคือมีความเข้าใจว่าอะไรคือทุกข์อะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์อะไร คือความดับทุกข์4.2 สัมมาสังกัปปะความดำริชอบคือความคิดที่ปลอดโปร่งความคิดไม่พยาบาทความคิดไม่เบียดเบียน4.3 สัมมาวาจาวาจาชอบคือไม่พูดเท็จไม่พูดส่อเสียดไม่พูดหยาบไม่พูดเพ้อเจ้อ4.4 สัมมากัมมันตะการงานชอบคือไม่ทำลายชีวิตคนอื่น ไม่ขโมยของไม่ผิดในกาม4.5 สัมมาอาชีวะเลี้ยงชีพชอบคือการทำมาหากินด้วยอาชีพสุจริต4.6 สัมมาวายามะความเพียรชอบคือ เพียรละความชั่วที่เกิดขึ้นเพียรรักษาความดีที่เกิดขึ้นแล้ว4.7 สัมมาสติความระลึกชอบคือพิจารณากายพิจารณาเวทนาพิจารณาจิตพิจารณาธรรม4.8 สัมมาสมาธิการตั้งใจชอบคือ อารมณ์หนึ่ง 4 สังเกตได้ว่า1 ทุกข์คือตัวปัญหา2 สมุทัยคือสาเหตุของปัญหา3 นิโรธคือการแก้ปัญหา4 มรรคคือวิธีการแก้ปัญหามรรคมีองค์แปดคือไตรสิกขา ได้แก่ศีล: สัมมาวาจาสัมมากัมมันตะสัมมาอาชีวะสัมมาวายามะสมาธิ: สัมมาสติสัมมาสมาธิปัญญา: สัมมาทิฐิสัมมาสังกัปปะความสำคัญของอริยสัจ 4 1 ตามหลักความจริงแห่งธรรมชาติ3 ไตรลักษณ์คือลักษณะทั่วไปของสิ่งทั้งปวง1 อนิจจตาหรืออนิจจังความไม่คงที่ไม่เที่ยงไม่ถาวรไม่แน่นอน2 ทุกขตาหรือทุกขังสภาพที่อยู่ในสภาวะเดิมไม่ได้ต้องแปรปรวนไป3 อนัตตาความไม่ใช่ตัวตนแท้จริงไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชา พระพุทธศาสนาถือว่าเป็นคำสอนสูงสุด กฎแห่งกรรมหมายถึง ซึ่งมีหลักอยู่ว่า "คนหว่านพืชเช่นใดย่อมได้ผลเช่นนั้นผู้ทำความดีย่อมได้รับผลดี คือการกระทำทางกายวาจาหรือใจที่ประกอบด้วยเจตนาดังพุทธวจนะตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลายเรากล่าวว่าเจตนาเป็นกรรมบุคคลจงใจแล้วย่อมกระทำทางกายทางวาจาและทางใจ5 พรหมวิหาร 4 ธรรมสำหรับผู้เป็นใหญ่ผู้ปกครองพ่อแม่ ได้แก่1 เมตตาความรักใคร่ปรารถนาจะให้เป็นสุข2 กรุณาความสงสารต้องการที่จะช่วยบุคคลอื่นสัตว์อื่นให้หลุดพ้นจากความทุกข์3 มุทิตา อุเบกขาความวางเฉยไม่ดีใจไม่เสียใจเมื่อบุคคลอื่นประสบความวิบัติ6 คือ "ความไม่ประมาทย่อมเป็นประโยชน์ยิ่งใหญ่" 7 สังคหวัตถุ ทานการให้2 ปิยวาจาการกล่าวถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน3 อัตถจริยาการบำเพ็ญประโยชน์4 สมานัตตตา ฆราวาสธรรม 4 หลักธรรมสำหรับผู้ครองเรือน ได้แก่1 สัจจะการมีความซื่อตรงต่อกัน2 ทมะการรู้จักข่มจิตของตนไม่หุนหันพลันแล่น3 ขันติความอดทนและให้อภัย4 จาคะการเ บุญกิริยาวัตถุ 10 หลักธรรมแห่งการทำบุญทางแห่งการทำความดี 10 ประการ1 ทานมัยบุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน2 ศีลมัยบุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล3 ภาวนามัยบุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา4 อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัยบุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ7 ปัตตานุโมทนามัยบุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ8 ธัมมัสสวนมัยบุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม9 ธัมมเทสนามัยบุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม10 ทิฏฐุชุกัมม์บุญสำเร็จด้วยการทำความคิดค
































































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา

1 . ขันธ์ 5 ค็อคเบญจขันธ์ความองค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม

รูปความส่วนที่เป็นร่างกายประกอบด้วยธาตุได้แก่
4- ธาตุดิน ( ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็งเช่นเนื้อกระดูกผม )
- ธาตุน้ำ ( ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย ) เช่นเลือดน้ำลายน้ำเหลืองน้ำตา )
- ธาตุลม ( ส่วนที่เป็นลมของร่างกายได้แก่ลมหายใจเข้าออกลมในกระเพาะอาหาร )
- ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกายได้แก่ความร้อนในร่างกายมนุษย์ )

นามความส่วนที่มองไม่เห็นหรือจิตใจได้แก่
- เวทนาความความรู้สึกที่เกิดจากประสาทสัมผัสเช่นสุขเวทนาทุกขเวทนาและอุเบกขาเวทนาไม่ยินดียินร้าย
-
สัญญาความความจำได้โดยอาศัยประสาทสัมผัสเมื่อสัมผัสอีกครั้งก็สามารถบอกได้- สังขารความสภาพที่ปรุงแต่งจิตใจให้คิดดีคิดชั่วหรือเป็นกลางสิ่งที่เข้ามาปรุงแต่งจิตได้แก่เจตนาค่านิยมความสนใจความโลภและความหลง
- วิญญาณความความรับรู้ที่ผ่านมาทางตาหูจมูกลิ้นกายใจ ( อายตนะ 6 )

2อริยสัจ 4
อริยสัจ 4 แปลว่าความจริงอันประเสริฐเป็นหลักคำสอนที่สำคัญที่สุดของพระพุทธศาสนาเพราะเป็นคำสอนที่จะช่วยให้บุคคลรอดพ้นจากความทุกข์เพื่อสู่นิพพานได้แก่

1ทุกข์หมายถึงสภาพที่ทนได้ยากทั้งร่างกายและจิตใจ
1.1 สภาวทุกข์ค็อคทุกข์ประจำได้แก่เกิดแก่เจ็บตาย
12 ปกิณกทุกข์หรือทุกข์จรเป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นภายหลังเกิดขึ้นแล้วก็ผ่านไปและเกิดขึ้นเนืองๆเช่นความเศร้าโศกความไม่สบายกายไม่สบายใจความคับแค้นใจ
2สมุทัยหมายถึงเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ได้แก่ตัณหา ( ความอยาก )
2 กามตัณหาความอยากในรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสที่ตนยังไม่มี
2.2 ภวตัณหาความความอยากมีอยากเป็นอยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นานๆ
23 วิภวตัณหาความความอยากมีอยากเป็นอยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นานๆ
3 นิโรธหมายถึงความดับทุกข์ความให้ดับที่เหตุซึ่งมีขั้นตอนตามลำดับในมรรค 8
4 มรรคมีองค์ 8 หนทางแห่งการดับทุกข์
41 สัมมาทิฐิความเห็นชอบความมีความเข้าใจว่าอะไรคือทุกข์อะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์อะไรคือความดับทุกข์
4.2 สัมมาสังกัปปะความดำริชอบความความคิดที่ปลอดโปร่งความคิดไม่พยาบาทความคิดไม่เบียดเบียน
43 สัมมาวาจาวาจาชอบความไม่พูดเท็จไม่พูดส่อเสียดไม่พูดหยาบไม่พูดเพ้อเจ้อ
4.4 สัมมากัมมันตะการงานชอบความไม่ทำลายชีวิตคนอื่นไม่ขโมยของไม่ผิดในกามสัมมาอาชีวะเลี้ยงชีพชอบความการทำมาหากินด้วยอาชีพสุจริต

54.6 สัมมาวายามะความเพียรชอบความเพียรระวังมิให้ความชั่วที่ยังไม่เกิดขึ้นเพียรละความชั่วที่เกิดขึ้นเพียรรักษาความดีที่เกิดขึ้นแล้ว
47 สัมมาสติความระลึกชอบความพิจารณากายพิจารณาเวทนาพิจารณาจิตพิจารณาธรรม
4.8 สัมมาสมาธิการตั้งใจชอบความการตั้งจิตที่แน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งไม่ฟุ้งซ่านเพื่อมุ่งมั่นกระทำความดี

จากอริยสัจ 4 สังเกตได้ว่า
1 ทุกข์ความตัวปัญหา
2 สมุทัยความสาเหตุของปัญหา
3 นิโรธความการแก้ปัญหา
4 มรรคความวิธีการแก้ปัญหา

มรรคมีองค์แปดความไตรสิกขาได้แก่
ศีล :สัมมาวาจาสัมมากัมมันตะสัมมาอาชีวะสัมมาวายามะ
สมาธิ : สัมมาสติสัมมาสมาธิ
ปัญญา : สัมมาทิฐิสัมมาสังกัปปะ

ความสำคัญของอริยสัจ 4
1 เป็นคำสอนที่คลุมหลักธรรมทั้งหมดของพระพุทธศาสนา
2เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาตามหลักวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการแห่งปัญญา
3 คำสอนที่ชี้ให้เห็นว่ามนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้ตามหลักความจริงแห่งธรรมชาติ

3 ไตรลักษณ์ความลักษณะทั่วไปของสิ่งทั้งปวง
1อนิจจตาค็อคอนิจจังความไม่คงที่ไม่เที่ยงไม่ถาวรไม่แน่นอน
2 ทุกขตาค็อคทุกขังสภาพที่อยู่ในสภาวะเดิมไม่ได้ต้องแปรปรวนไป
3 อนัตตาความไม่ใช่ตัวตนแท้จริงไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาไม่มีใครเป็นเจ้าของ
ในเรื่งไตรลักษณ์พระพุทธศาสนาถือว่าเป็นคำสอนสูงสุดซึ่งทุกสิ่งในสากลจักรวาลล่วนเป็นอนัตตาทั้งสิ้น

4 .กฎแห่งกรรมหมายถึงกระบวนการกระทำและการให้ผลการกระทำของมนุษย์ซึ่งมีหลักอยู่ว่า " คนหว่านพืชเช่นใดย่อมได้ผลเช่นนั้นผู้ทำความดีย่อมได้รับผลดีผู้ทำกรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว "
กรรมความการกระทำทางกายวาจาหรือใจที่ประกอบด้วยเจตนาดังพุทธวจนะตรัสว่า " ภิกษุทั้งหลายเรากล่าวว่าเจตนาเป็นกรรมบุคคลจงใจแล้วย่อมกระทำทางกายทางวาจาและทางใจ

5 พรหมวิหาร
4ธรรมสำหรับผู้เป็นใหญ่ผู้ปกครองพ่อแม่จำเป็นต้องมีไว้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวสำหรับดำเนินชีวิตได้แก่
1 เมตตาความรักใคร่ปรารถนาจะให้เป็นสุข
2กรุณาความสงสารต้องการที่จะช่วยบุคคลอื่นสัตว์อื่นให้หลุดพ้นจากความทุกข์
3 มุทิตาความชื่นชมยินดีเมื่อเห็นบุคคลอื่นเขาได้ดี
4 อุเบกขาความวางเฉยไม่ดีใจไม่เสียใจเมื่อบุคคลอื่นประสบความวิบัติ

6 อัปปมาท
ธรรมที่กล่าวถึงความไม่ประมาทความการดำเนินชีวิตที่มีสติเป็นเครื่องกำกับความประพฤติปฏิบัติและการกระทำทุกอย่างระมัดระวังไม่ถลำตัวไปในทางเสื่อมเสียพระพุทธเจ้าทรงมีพระดำรัสเกี่ยวกับความไม่ประมาทว่า ""
ย่อมเป็นประโยชน์ยิ่งใหญ่
7 สังคหวัตถุหลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจคน 4

1 ทานการให้
2 ปิยวาจาการกล่าวถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน
3 อัตถจริยาการบำเพ็ญประโยชน์
4 สมานัตตตาการประพฤติตนสม่ำเสมอทั้งต่อหน้าและลับหลัง

8ฆราวาสธรรม 4
หลักธรรมสำหรับผู้ครองเรือนได้แก่
1 สัจจะการมีความซื่อตรงต่อกัน
2 ทมะการรู้จักข่มจิตของตนไม่หุนหันพลันแล่น
3 ขันติความอดทนและให้อภัย
4 จาคะการเสียสละแบ่งปันของตนแก่คนที่ควรแบ่งปัน

9บุญกิริยาวัตถุ 10
หลักธรรมแห่งการทำบุญทางแห่งการทำความดี 10 ประการ
1 ทานมัยบุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน
2 ศีลมัยบุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล
3 ภาวนามัยบุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา
4อปจายนมัยบุญสำเร็จด้วยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่
5 เวยยาวัจจมัยบุญสำเร็จด้วยการช่วยเหลือขวนขวายในกิจการงานต่างๆ
6 ปัตติทานมัยบุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ
7ปัตตานุโมทนามัยบุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ
8 ธัมมัสสวนมัยบุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม
9 ธัมมเทสนามัยบุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม
10 ทิฏฐุชุกัมม์บุญสำเร็จด้วยการทำความคิดค
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: