เกิดการเรียนรู้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย” (พิสมัย มิ่งฉาย. 25 การแปล - เกิดการเรียนรู้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย” (พิสมัย มิ่งฉาย. 25 ไทย วิธีการพูด

เกิดการเรียนรู้จากสื่อและแหล่งเรียน

เกิดการเรียนรู้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย” (พิสมัย มิ่งฉาย. 2544 : 3) และในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ในมาตรา 22 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ในส่วนของการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์นั้น ต้องให้เกิดทั้งความรู้ ทักษะ และเจตคติด้านวิทยาศาสตร์ รวมทั้งความรู้ ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน (กรมวิชาการ. 2545 ค: ไม่มีเลขหน้า) เพราะวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้ เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบและการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิดและทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในสถานศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนด
เป้าหมายสำคัญของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ไว้ดังนี้
1. เพื่อให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานในวิทยาศาสตร์
2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขต ธรรมชาติ และข้อจำกัดของวิทยาศาสตร์
3. เพื่อให้มีทักษะที่สำคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะการสื่อสารและความสามารถในการตัดสินใจ
5. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และสภาพแวดล้อมในเชิงที่มีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน
6. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต
7. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
จากความสำคัญและเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จะเห็นได้ว่าวิทยาศาสตร์มีความสำคัญ เพราะความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี และการรู้วิทยาศาสตร์อย่างเพียงพอจะทำให้การดำรงชีวิตในสังคมยุคโลกาภิวัตน์ ดำรงได้อย่างมีความสุขและปลอดภัย และการที่จะทำให้ผู้เรียนบรรลุถึงเป้าหมายการศึกษา จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนจะต้องจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมากที่สุด
การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน พบว่า ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่จัดการเรียนการสอนแบบบรรยาย เนื่องจากขาดสื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัยและน่าสนใจ จากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ พบว่า สื่อที่ช่วยกระตุ้นความสนใจในการวิทยาศาสตร์ คือ สื่อประเภทบทเรียน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เกิดการเรียนรู้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย" (พิสมัยมิ่งฉาย. 2544:3) และในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ในมาตรา 22 ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพในส่วนของการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์นั้นต้องให้เกิดทั้งความรู้ทักษะและเจตคติด้านวิทยาศาสตร์รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน (กรมวิชาการ. 2545 ค: ไม่มีเลขหน้า) เพราะวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติโดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกตสำรวจตรวจสอบและการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบหลักการแนวคิดและทฤษฎีดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สุดการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในสถานศึกษากรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนดเป้าหมายสำคัญของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ไว้ดังนี้ 1. เพื่อให้เข้าใจหลักการทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานในวิทยาศาสตร์2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตธรรมชาติและข้อจำกัดของวิทยาศาสตร์3. เพื่อให้มีทักษะที่สำคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี4. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะการสื่อสารและความสามารถในการตัดสินใจ5. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีมวลมนุษย์และสภาพแวดล้อมในเชิงที่มีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน6. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต7. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรมและค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์จริยธรรมจากความสำคัญและเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จะเห็นได้ว่าวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเพราะความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีและการรู้วิทยาศาสตร์อย่างเพียงพอจะทำให้การดำรงชีวิตในสังคมยุคโลกาภิวัตน์ดำรงได้อย่างมีความสุขและปลอดภัยและการที่จะทำให้ผู้เรียนบรรลุถึงเป้าหมายการศึกษาจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนจะต้องจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมากที่สุดการศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันพบว่าครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่จัดการเรียนการสอนแบบบรรยายเนื่องจากขาดสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและน่าสนใจจากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์พบว่าสื่อที่ช่วยกระตุ้นความสนใจในการวิทยาศาสตร์คือสื่อประเภทบทเรียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
(พิสมัยมิ่งฉาย 2544:. 3) พุทธศักราช 2542 ในมาตรา 22 ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ต้องให้เกิดทั้งความรู้ทักษะและเจตคติด้านวิทยาศาสตร์รวมทั้งความรู้ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน (กรมวิชาการ 2545 ค. ไม่มีเลขหน้า) เกี่ยวกับธรรมชาติโดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกตสำรวจ หลักการแนวคิดและทฤษฎีดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ กรมวิชาการ เพื่อให้เข้าใจหลักการทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานในวิทยาศาสตร์2 เพื่อให้เข้าใจขอบเขตธรรมชาติและข้อ จำกัด ของวิทยาศาสตร์3 เทคโนโลยี เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรมจริยธรรม ดำรงได้อย่างมีความสุขและปลอดภัย พบว่า เนื่องจากขาดสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและน่าสนใจ พบว่า คือสื่อประเภทบทเรียน









การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: