ประวัติความเป็นมาของเทียนพรรษาเมืองอุบลฯพรรษา คือ ช่วงระยะเวลา 3 เดือน การแปล - ประวัติความเป็นมาของเทียนพรรษาเมืองอุบลฯพรรษา คือ ช่วงระยะเวลา 3 เดือน ไทย วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาของเทียนพรรษาเมือง

ประวัติความเป็นมาของเทียนพรรษาเมืองอุบลฯ

พรรษา คือ ช่วงระยะเวลา 3 เดือนในฤดูฝนที่พระภิกษุสงฆ์จะต้องปฏิบัติธรรมอยู่วัดใดวัดหนึ่งโดยตลอดจะไปค้างคืนที่วัดอื่นไม่ได้ ข้อห้ามที่ให้พระอยู่วัดใดวัดหนึ่งตลอด 3 เดือนนี้ เพราะฤดูฝนเป็นฤดูเพาะปลูก ข้าวกล้าพืชผลของชาวบ้านกำลังเขียวขจี ถ้าพระออกเดินทางในฤดูนี้จะไปเหยียบย่ำข้าวกล้าพืชผลของชาวบ้านเสียหายได้ พระพุทธเจ้าจึงได้บัญญัติให้พระภิกษุสงฆ์หยุดเข้าพรรษาหรือหยุดพักฝน 3 เดือนไม่ให้จาริกเดินทางไปค้างคืนที่อื่นๆ (เข้าพรรษาแปลว่าพักฝน) การเข้าพรรษาจึงมีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลหรือตั้งแต่สมัยพระพุทธเจ้า

วันเข้าพรรษา คือ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติหรืออยู่ในช่วงเดือนกรกฎาคมแล้วนับไปอีก 3 เดือนก็จะเป็นวันออกพรรษา ซึ่งจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรืออยู่ในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี เมื่อพระต้องหยุดพักฝนหรือหยุดเข้าพรรษาทำให้พระมีเวลาศึกษาหาความรู้โดยเฉพาะการอ่านหนังสือ เวลาอ่านหนังสือให้เข้าใจและจดจำได้ดีที่สุดคือเวลากลางคืน ซึ่งเป็นช่วงที่เงียบสงบทำสมาธิได้ง่าย ในสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าเวลาพระจะอ่านหนังสือจึงจุดเทียน เมื่อชาวบ้านทราบจึงทำเทียนไปถวายพระ โดยเฉพาะการถวายในวันเข้าพรรษา ซึ่งถือว่าได้บุญกุศลมากยิ่งนัก นั่นคือจะทำให้ชีวิตของผู้ถวายมีความสุขสบาย สว่างไสว ไม่มืดมน หรืออีกนัยหนึ่งเป็นผู้มีปัญญา มีความรู้ เฉลียวฉลาดนั่นเอง ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Bright การถวายเทียนแด่พระในวันเข้าพรรษาจึงเป็นประเพณีของชาวพุทธมาแต่โบราณกาลนับเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน แต่ในปัจจุบันชาวบ้านสมัยใหม่จะนิยมถวายหลอดไฟฟ้าแทน เพราะมีความสว่างมากกว่าเทียน ใช้งานง่าย สะดวก และได้บุญกุศลมากเช่นกัน

ชาวอุบลฯ ก็เหมือนกับชาวพุทธทั่วไป เมื่อถึงวันเข้าพรรษาก็จะนำเทียนไปถวายพระ ในสมัยก่อนยังไม่มีเทียนสำเร็จรูปขาย ชาวบ้านจะใช้ขี้ผึ้งซึ่งได้จากรังผึ้งมาต้มให้ละลายแล้วเอาฝ้ายที่จะทำเป็นไส้เทียนจุ่มลงไปในน้ำผึ้งที่ละลายนั้น ปล่อยให้เย็นพอที่จะเอามือคลึงให้ขี้ผึ้งโอบล้อมไส้เทียนให้เต็ม (วิธีการแบบนี้ชาวอุบลฯ เรียกว่า “ฟั่นเทียน”) จากนั้นนำมาตัดตามขนาดที่ต้องการ เสร็จเรียบร้อยก็จะเป็นเทียนที่พร้อมนำไปถวายพระได้
การนำเทียนไปถวายพระของชาวอุบลฯ ในสมัยก่อน ไม่ได้มีการแห่แหนหรือการประกวดประชันกันอย่างทุกวันนี้ เป็นแต่เพียงการถวายเทียนพร้อมกับเครื่องไทยธรรมไทยทานอื่นๆ รับศีลรับพรจากพระ



แล้วก็กลับบ้าน สาเหตุที่การถวายเทียนจะต้องมีการแห่แหนและมีการประกวดประชันอย่างทุกวันนี้ เล่ากันว่าเริ่มมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ได้เป็นข้าหลวงใหญ่มาปกครองมณฑลลาวกาว ซึ่งมีที่ตั้งมณฑลอยู่ที่เมืองอุบลฯ ได้เห็นการบาดเจ็บล้มตายของชาวบ้านจากงานประเพณีบุญบั้งไฟ ซึ่งมีทั้งบาดเจ็บล้มตายเพราะบั้งไฟระเบิดหรือตกใส่บ้านเรือน หรือบาดเจ็บล้มตายเพราะการทะเลาะวิวาทตีรันฟันแทงเพราะความเมามายในสุรา หรือบางครั้งเพราะการละเล่นโคลนตมที่สนุกสนานเกินเลย หรือการละเล่นตุ๊กตาไม้ในท่าทางร่วมเพศตามแบบฉบับของงานบุญบั้งไฟ เรื่องต่างๆ เหล่านี้พระองค์ท่านทรงเห็นว่าเป็นเรื่องไม่ดีไม่งาม จึงให้ยกเลิกการจัดงานบุญบั้งไฟและให้เปลี่ยนเป็นการแห่เทียนพรรษาแล้วนำไปถวายพระแทน





เทียนพรรษา ในสมัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิ์ประสงค์นั้นจะเป็นการทำเทียนร่วมกันของชาวบ้านในแต่ละคุ้ม (คุ้ม คือ กลุ่มชุมชนเล็กๆ ของชุมชนใหญ่ ในแต่ละหมู่บ้านจะมีหลายคุ้ม) โดยการนำขี้ผึ้งมารวมกัน ต้มให้ละลายแล้วเทใส่เบ้าหลอม ตกแต่งให้สวยงามแล้วใส่คานหามหรือบรรทุกใส่เกวียน นำเข้าขบวนแล้วแห่ไปรวมกันที่หน้าศาลากลางมณฑล เมื่อทุกคุ้มมารวมพร้อมกันแล้ว พระองค์จะประทานรางวัลให้กับคุ้มที่ทำต้นเทียนได้สวยงาม เสร็จแล้วจะให้จับฉลากว่าคุ้มไหนจะถวายเทียนวัดอะไร เมื่อรู้ว่าจะไปถวายวัดอะไรแล้วแต่ละคุ้มก็จะแห่แหนไปถวายวัดนั้น การแห่เทียนพรรษาจึงเริ่มมีตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา


การทำเทียนพรรษาของชาวบ้านแต่ละคุ้มในระยะแรกนี้ จะเป็นเทียนที่สามารถจุดใช้งานได้จริง มีขนาดเท่ากับต้นไผ่ (เพราะใช้ต้นไผ่เป็นเบ้าหลอม) บางคุ้มก็จะเท่ากับต้นกล้วย แล้วแต่ว่าคุ้มไหนจะหาเบ้าหลอมและหาขี้ผึ้งได้มากน้อยแค่ไหน ผิวต้นเทียนจะเรียบมันไม่มีลวดลาย แต่จะแต่งต้นเทียนโดยใช้กระดาษสีตัดเป็นเส้นหรือเป็นลวดลาย แล้วนำมาพันรอบต้นเทียนหรือติดกับต้นเทียนเป็นกลุ่มลวดลายต่างๆ บางคุ้มก็จะใช้วิธีนำเทียนเล่มเล็กๆ มามัดรวมกันให้เป็นเทียนต้นใหญ่ หรือบางครั้งประหยัดเงินค่าเทียนก็จะใช้ไม้กลมๆ หรือไม้เสาทำเป็นแกนแล้วนำเทียนมัดรอบแกนเสา ตกแต่งด้วยกระดาษเพื่อไม่ให้เห็นเชือกที่มัด (วิธีนี้เริ่มขึ้นเมื่อมีเทียนสมัยใหม่และมีขายทั่วไปแล้ว จึงเป็นการประหยัดเวลาเพราะไม่ต้องต้มขี้ผึ้ง)
เมื่อเวลาผ่านไปหลายปีประกอบกับมีการแข่งขันให้รางวัล คุ้มที่ตกแต่งต้นเทียนได้สวยงามแปลกแตกต่างไปจากต้นเทียนคุ้มอื่น จึงมักจะได้รับรางวัลชนะเลิศอยู่เสมอ การประดับตกแต่งต้นเทียนแบบใหม่ๆ จึงเกิดขึ้น นั่นคือจากเดิมที่ใช้กระดาษติดเป็นลวดลายต่างๆ ก็เปลี่ยนเป็นการใช้ขี้ผึ้งหล่อลวดลายจากแบบพิมพ์ก่อนแล้วจึงนำไปติดที่ต้นเทียน ซึ่งจะทำให้ต้นเทียนมีความสวยงามกว่าติดด้วยกระดาษ ต้นเทียนคุ้มที่ตกแต่งแบบนี้จึงมักจะได้รับรางวัลชนะเลิศอยู่เสมอๆ เช่นเดิม เมื่อเวลาผ่านไปอีกหลายปี การตกแต่งแบบติดพิมพ์ด้วยเทียนก็ซ้ำซากจำเจ คุ้มที่อยากชนะจึงต้องหาวิธีตกแต่งต้นเทียนที่แปลกแตกต่างออกไป การแกะสลักลงไปในเนื้อต้นเทียนให้เป็นรูปและลวดลายต่างๆ จึงเกิดขึ้น และคุ้มที่จัดทำแบบนี้ก็ได้รับชัยชนะ เมื่อการตกแต่งต้นเทียนให้สวยงามมีวิธีการแตกต่างกัน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มาของการแบ่งประเภทต้นเทียนและให้มีรางวัลชนะเลิศแต่ละประเภทเกิดขึ้น ต้นเทียนในเวลาต่อมาจึงมีสองแบบ คือ แบบติดพิมพ์และแบบแกะสลัก





อย่างไรก็ตามทั้งสองแบบก็ยังเป็นแต่เพียงต้นเทียนอย่างเดียว ไม่มีองค์ประกอบอื่นมากมายนัก โดยเฉพาะฐานต้นเทียนก็เป็นฐานที่ทำขึ้นเพื่อไม่ให้ต้นเทียนล้มเท่านั้น คุ้มที่อยากชนะจึงต้องหาวิธีตกแต่งที่แตกต่างออกไปอีกเช่นเดิม ด้วยเหตุนี้การตกแต่งฐานต้นเทียนให้แปลก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของเทียนพรรษาเมืองอุบลฯพรรษาคือช่วงระยะเวลา 3 เดือนในฤดูฝนที่พระภิกษุสงฆ์จะต้องปฏิบัติธรรมอยู่วัดใดวัดหนึ่งโดยตลอดจะไปค้างคืนที่วัดอื่นไม่ได้ข้อห้ามที่ให้พระอยู่วัดใดวัดหนึ่งตลอด 3 เดือนนี้เพราะฤดูฝนเป็นฤดูเพาะปลูกข้าวกล้าพืชผลของชาวบ้านกำลังเขียวขจีถ้าพระออกเดินทางในฤดูนี้จะไปเหยียบย่ำข้าวกล้าพืชผลของชาวบ้านเสียหายได้พระพุทธเจ้าจึงได้บัญญัติให้พระภิกษุสงฆ์หยุดเข้าพรรษาหรือหยุดพักฝน 3 เดือนไม่ให้จาริกเดินทางไปค้างคืนที่อื่น ๆ (เข้าพรรษาแปลว่าพักฝน) การเข้าพรรษาจึงมีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลหรือตั้งแต่สมัยพระพุทธเจ้า วันเข้าพรรษาคือวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติหรืออยู่ในช่วงเดือนกรกฎาคมแล้วนับไปอีก 3 เดือนก็จะเป็นวันออกพรรษาซึ่งจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 หรืออยู่ในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปีเมื่อพระต้องหยุดพักฝนหรือหยุดเข้าพรรษาทำให้พระมีเวลาศึกษาหาความรู้โดยเฉพาะการอ่านหนังสือเวลาอ่านหนังสือให้เข้าใจและจดจำได้ดีที่สุดคือเวลากลางคืนซึ่งเป็นช่วงที่เงียบสงบทำสมาธิได้ง่ายในสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าเวลาพระจะอ่านหนังสือจึงจุดเทียนเมื่อชาวบ้านทราบจึงทำเทียนไปถวายพระโดยเฉพาะการถวายในวันเข้าพรรษาซึ่งถือว่าได้บุญกุศลมากยิ่งนักนั่นคือจะทำให้ชีวิตของผู้ถวายมีความสุขสบายสว่างไสวไม่มืดมนหรืออีกนัยหนึ่งเป็นผู้มีปัญญามีความรู้เฉลียวฉลาดนั่นเองซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่าการถวายเทียนแด่พระในวันเข้าพรรษาจึงเป็นประเพณีของชาวพุทธมาแต่โบราณกาลนับเนื่องมาจนถึงปัจจุบันใสแต่ในปัจจุบันชาวบ้านสมัยใหม่จะนิยมถวายหลอดไฟฟ้าแทนเพราะมีความสว่างมากกว่าเทียนใช้งานง่ายสะดวกและได้บุญกุศลมากเช่นกัน ชาวอุบลฯ ก็เหมือนกับชาวพุทธทั่วไปเมื่อถึงวันเข้าพรรษาก็จะนำเทียนไปถวายพระในสมัยก่อนยังไม่มีเทียนสำเร็จรูปขายชาวบ้านจะใช้ขี้ผึ้งซึ่งได้จากรังผึ้งมาต้มให้ละลายแล้วเอาฝ้ายที่จะทำเป็นไส้เทียนจุ่มลงไปในน้ำผึ้งที่ละลายนั้นปล่อยให้เย็นพอที่จะเอามือคลึงให้ขี้ผึ้งโอบล้อมไส้เทียนให้เต็ม (วิธีการแบบนี้ชาวอุบลฯ เรียกว่า "ฟั่นเทียน") จากนั้นนำมาตัดตามขนาดที่ต้องการเสร็จเรียบร้อยก็จะเป็นเทียนที่พร้อมนำไปถวายพระได้ การนำเทียนไปถวายพระของชาวอุบลฯ ในสมัยก่อนไม่ได้มีการแห่แหนหรือการประกวดประชันกันอย่างทุกวันนี้เป็นแต่เพียงการถวายเทียนพร้อมกับเครื่องไทยธรรมไทยทานอื่น ๆ รับศีลรับพรจากพระแล้วก็กลับบ้านสาเหตุที่การถวายเทียนจะต้องมีการแห่แหนและมีการประกวดประชันอย่างทุกวันนี้เล่ากันว่าเริ่มมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ได้เป็นข้าหลวงใหญ่มาปกครองมณฑลลาวกาวซึ่งมีที่ตั้งมณฑลอยู่ที่เมืองอุบลฯ ได้เห็นการบาดเจ็บล้มตายของชาวบ้านจากงานประเพณีบุญบั้งไฟซึ่งมีทั้งบาดเจ็บล้มตายเพราะบั้งไฟระเบิดหรือตกใส่บ้านเรือนหรือบาดเจ็บล้มตายเพราะการทะเลาะวิวาทตีรันฟันแทงเพราะความเมามายในสุราหรือบางครั้งเพราะการละเล่นโคลนตมที่สนุกสนานเกินเลยหรือการละเล่นตุ๊กตาไม้ในท่าทางร่วมเพศตามแบบฉบับของงานบุญบั้งไฟเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้พระองค์ท่านทรงเห็นว่าเป็นเรื่องไม่ดีไม่งามจึงให้ยกเลิกการจัดงานบุญบั้งไฟและให้เปลี่ยนเป็นการแห่เทียนพรรษาแล้วนำไปถวายพระแทน เทียนพรรษา ในสมัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิ์ประสงค์นั้นจะเป็นการทำเทียนร่วมกันของชาวบ้านในแต่ละคุ้ม (คุ้ม คือ กลุ่มชุมชนเล็กๆ ของชุมชนใหญ่ ในแต่ละหมู่บ้านจะมีหลายคุ้ม) โดยการนำขี้ผึ้งมารวมกัน ต้มให้ละลายแล้วเทใส่เบ้าหลอม ตกแต่งให้สวยงามแล้วใส่คานหามหรือบรรทุกใส่เกวียน นำเข้าขบวนแล้วแห่ไปรวมกันที่หน้าศาลากลางมณฑล เมื่อทุกคุ้มมารวมพร้อมกันแล้ว พระองค์จะประทานรางวัลให้กับคุ้มที่ทำต้นเทียนได้สวยงาม เสร็จแล้วจะให้จับฉลากว่าคุ้มไหนจะถวายเทียนวัดอะไร เมื่อรู้ว่าจะไปถวายวัดอะไรแล้วแต่ละคุ้มก็จะแห่แหนไปถวายวัดนั้น การแห่เทียนพรรษาจึงเริ่มมีตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา การทำเทียนพรรษาของชาวบ้านแต่ละคุ้มในระยะแรกนี้ จะเป็นเทียนที่สามารถจุดใช้งานได้จริง มีขนาดเท่ากับต้นไผ่ (เพราะใช้ต้นไผ่เป็นเบ้าหลอม) บางคุ้มก็จะเท่ากับต้นกล้วย แล้วแต่ว่าคุ้มไหนจะหาเบ้าหลอมและหาขี้ผึ้งได้มากน้อยแค่ไหน ผิวต้นเทียนจะเรียบมันไม่มีลวดลาย แต่จะแต่งต้นเทียนโดยใช้กระดาษสีตัดเป็นเส้นหรือเป็นลวดลาย แล้วนำมาพันรอบต้นเทียนหรือติดกับต้นเทียนเป็นกลุ่มลวดลายต่างๆ บางคุ้มก็จะใช้วิธีนำเทียนเล่มเล็กๆ มามัดรวมกันให้เป็นเทียนต้นใหญ่ หรือบางครั้งประหยัดเงินค่าเทียนก็จะใช้ไม้กลมๆ หรือไม้เสาทำเป็นแกนแล้วนำเทียนมัดรอบแกนเสา ตกแต่งด้วยกระดาษเพื่อไม่ให้เห็นเชือกที่มัด (วิธีนี้เริ่มขึ้นเมื่อมีเทียนสมัยใหม่และมีขายทั่วไปแล้ว จึงเป็นการประหยัดเวลาเพราะไม่ต้องต้มขี้ผึ้ง) เมื่อเวลาผ่านไปหลายปีประกอบกับมีการแข่งขันให้รางวัล คุ้มที่ตกแต่งต้นเทียนได้สวยงามแปลกแตกต่างไปจากต้นเทียนคุ้มอื่น จึงมักจะได้รับรางวัลชนะเลิศอยู่เสมอ การประดับตกแต่งต้นเทียนแบบใหม่ๆ จึงเกิดขึ้น นั่นคือจากเดิมที่ใช้กระดาษติดเป็นลวดลายต่างๆ ก็เปลี่ยนเป็นการใช้ขี้ผึ้งหล่อลวดลายจากแบบพิมพ์ก่อนแล้วจึงนำไปติดที่ต้นเทียน ซึ่งจะทำให้ต้นเทียนมีความสวยงามกว่าติดด้วยกระดาษ ต้นเทียนคุ้มที่ตกแต่งแบบนี้จึงมักจะได้รับรางวัลชนะเลิศอยู่เสมอๆ เช่นเดิม เมื่อเวลาผ่านไปอีกหลายปี การตกแต่งแบบติดพิมพ์ด้วยเทียนก็ซ้ำซากจำเจ คุ้มที่อยากชนะจึงต้องหาวิธีตกแต่งต้นเทียนที่แปลกแตกต่างออกไป การแกะสลักลงไปในเนื้อต้นเทียนให้เป็นรูปและลวดลายต่างๆ จึงเกิดขึ้น และคุ้มที่จัดทำแบบนี้ก็ได้รับชัยชนะ เมื่อการตกแต่งต้นเทียนให้สวยงามมีวิธีการแตกต่างกัน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มาของการแบ่งประเภทต้นเทียนและให้มีรางวัลชนะเลิศแต่ละประเภทเกิดขึ้น ต้นเทียนในเวลาต่อมาจึงมีสองแบบ คือ แบบติดพิมพ์และแบบแกะสลัก อย่างไรก็ตามทั้งสองแบบก็ยังเป็นแต่เพียงต้นเทียนอย่างเดียวไม่มีองค์ประกอบอื่นมากมายนักโดยเฉพาะฐานต้นเทียนก็เป็นฐานที่ทำขึ้นเพื่อไม่ให้ต้นเทียนล้มเท่านั้นคุ้มที่อยากชนะจึงต้องหาวิธีตกแต่งที่แตกต่างออกไปอีกเช่นเดิมด้วยเหตุนี้การตกแต่งฐานต้นเทียนให้แปลก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
คือช่วงระยะเวลา 3 3 เดือนนี้เพราะฤดูฝนเป็นฤดูเพาะปลูก 3 (เข้าพรรษาแปลว่าพักฝน) คือวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 3 เดือนก็จะเป็นวันออกพรรษาซึ่งจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 หรืออยู่ในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี โดยเฉพาะการถวายในวันเข้าพรรษาซึ่งถือว่าได้บุญกุศลมากยิ่งนัก สว่างไสวไม่มืดมนหรืออีกนัยหนึ่งเป็นผู้มีปัญญามีความรู้เฉลียวฉลาดนั่นเองซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่าสดใส เพราะมีความสว่างมากกว่าเทียนใช้งานง่ายสะดวกและได้บุญกุศลมากเช่นกันชาวอุบลฯ ก็เหมือนกับชาวพุทธทั่วไป (วิธีการแบบนี้ชาวอุบลฯ เรียกว่า "ฟั่นเทียน") จากนั้นนำมาตัดตามขนาดที่ต้องการ ในสมัยก่อน รับศีลรับพรจากพระแล้วก็กลับบ้าน 5 เรื่องต่างๆ (คุ้มคือกลุ่มชุมชนเล็ก ๆ ของชุมชนใหญ่ในแต่ละหมู่บ้านจะมีหลายคุ้ม) โดยการนำขี้ผึ้งมารวมกันต้มให้ละลายแล้วเทใส่เบ้าหลอม เมื่อทุกคุ้มมารวมพร้อมกันแล้ว มีขนาดเท่ากับต้นไผ่ (เพราะใช้ต้นไผ่เป็นเบ้าหลอม) บางคุ้มก็จะเท่ากับต้นกล้วย ผิวต้นเทียนจะเรียบมันไม่มีลวดลาย มามัดรวมกันให้เป็นเทียนต้นใหญ่ การประดับตกแต่งต้นเทียนแบบใหม่ ๆ จึงเกิดขึ้น เช่นเดิมเมื่อเวลาผ่านไปอีกหลายปี จึงเกิดขึ้น ต้นเทียนในเวลาต่อมาจึงมีสองแบบคือ ไม่มีองค์ประกอบอื่นมากมายนัก


























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Lent is the waning days of 1 night the moon according to the lunar calendar, or 8 during July and วนับ again 3 month is the Buddhist Lent. Which falls on the full moon day of month 11 15 dinner or during October every year.ประวัติความเป็นมาของเทียนพรรษาเมืองอุบลฯ

พรรษาความช่วงระยะเวลา 3 เดือนในฤดูฝนที่พระภิกษุสงฆ์จะต้องปฏิบัติธรรมอยู่วัดใดวัดหนึ่งโดยตลอดจะไปค้างคืนที่วัดอื่นไม่ได้ข้อห้ามที่ให้พระอยู่วัดใดวัดหนึ่งตลอด 3 เดือนนี้เพราะฤดูฝนเป็นฤดูเพาะปลูกถ้าพระออกเดินทางในฤดูนี้จะไปเหยียบย่ำข้าวกล้าพืชผลของชาวบ้านเสียหายได้พระพุทธเจ้าจึงได้บัญญัติให้พระภิกษุสงฆ์หยุดเข้าพรรษาหรือหยุดพักฝน 3 เดือนไม่ให้จาริกเดินทางไปค้างคืนที่อื่นๆ ( เข้าพรรษาแปลว่าพักฝน )
เวลาอ่านหนังสือให้เข้าใจและจดจำได้ดีที่สุดคือเวลากลางคืนซึ่งเป็นช่วงที่เงียบสงบทำสมาธิได้ง่ายในสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าเวลาพระจะอ่านหนังสือจึงจุดเทียนเมื่อชาวบ้านทราบจึงทำเทียนไปถวายพระซึ่งถือว่าได้บุญกุศลมากยิ่งนักนั่นคือจะทำให้ชีวิตของผู้ถวายมีความสุขสบายสว่างไสวไม่มืดมนหรืออีกนัยหนึ่งเป็นผู้มีปัญญามีความรู้เฉลียวฉลาดนั่นเองซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่าสดใสวันเข้าพรรษาความวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติหรืออยู่ในช่วงเดือนกรกฎาคมแล้วนับไปอีก 3 เดือนก็จะเป็นวันออกพรรษาซึ่งจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 หรืออยู่ในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปีแต่ในปัจจุบันชาวบ้านสมัยใหม่จะนิยมถวายหลอดไฟฟ้าแทนเพราะมีความสว่างมากกว่าเทียนใช้งานง่ายสะดวกและได้บุญกุศลมากเช่นกัน

The time to read to understand and remember is the best at night. The quiet meditation easily. In the past, there is no time to read the book, so the electric candles. When people know the candle to the monks.ชาวอุบลฯก็เหมือนกับชาวพุทธทั่วไปเมื่อถึงวันเข้าพรรษาก็จะนำเทียนไปถวายพระในสมัยก่อนยังไม่มีเทียนสำเร็จรูปขายปล่อยให้เย็นพอที่จะเอามือคลึงให้ขี้ผึ้งโอบล้อมไส้เทียนให้เต็ม ( วิธีการแบบนี้ชาวอุบลฯเรียกว่า " ฟั่นเทียนจากนั้นนำมาตัดตามขนาดที่ต้องการเสร็จเรียบร้อยก็จะเป็นเทียนที่พร้อมนำไปถวายพระได้
" )การนำเทียนไปถวายพระของชาวอุบลฯในสมัยก่อนไม่ได้มีการแห่แหนหรือการประกวดประชันกันอย่างทุกวันนี้เป็นแต่เพียงการถวายเทียนพร้อมกับเครื่องไทยธรรมไทยทานอื่นๆรับศีลรับพรจากพระ



แล้วก็กลับบ้านสาเหตุที่การถวายเทียนจะต้องมีการแห่แหนและมีการประกวดประชันอย่างทุกวันนี้เล่ากันว่าเริ่มมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์หรือบางครั้งเพราะการละเล่นโคลนตมที่สนุกสนานเกินเลยหรือการละเล่นตุ๊กตาไม้ในท่าทางร่วมเพศตามแบบฉบับของงานบุญบั้งไฟเรื่องต่างๆเหล่านี้พระองค์ท่านทรงเห็นว่าเป็นเรื่องไม่ดีไม่งาม




ตกแต่งให้สวยงามแล้วใส่คานหามหรือบรรทุกใส่เกวียนนำเข้าขบวนแล้วแห่ไปรวมกันที่หน้าศาลากลางมณฑลเมื่อทุกคุ้มมารวมพร้อมกันแล้วพระองค์จะประทานรางวัลให้กับคุ้มที่ทำต้นเทียนได้สวยงามเทียนพรรษาในสมัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิ์ประสงค์นั้นจะเป็นการทำเทียนร่วมกันของชาวบ้านในแต่ละคุ้ม ( คุ้มความกลุ่มชุมชนเล็กๆของชุมชนใหญ่ในแต่ละหมู่บ้านจะมีหลายคุ้ม ) โดยการนำขี้ผึ้งมารวมกัน

เมื่อรู้ว่าจะไปถวายวัดอะไรแล้วแต่ละคุ้มก็จะแห่แหนไปถวายวัดนั้นการแห่เทียนพรรษาจึงเริ่มมีตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
การทำเทียนพรรษาของชาวบ้านแต่ละคุ้มในระยะแรกนี้จะเป็นเทียนที่สามารถจุดใช้งานได้จริงมีขนาดเท่ากับต้นไผ่ ( เพราะใช้ต้นไผ่เป็นเบ้าหลอม ) บางคุ้มก็จะเท่ากับต้นกล้วยผิวต้นเทียนจะเรียบมันไม่มีลวดลายแต่จะแต่งต้นเทียนโดยใช้กระดาษสีตัดเป็นเส้นหรือเป็นลวดลายแล้วนำมาพันรอบต้นเทียนหรือติดกับต้นเทียนเป็นกลุ่มลวดลายต่างๆบางคุ้มก็จะใช้วิธีนำเทียนเล่มเล็กๆหรือบางครั้งประหยัดเงินค่าเทียนก็จะใช้ไม้กลมๆหรือไม้เสาทำเป็นแกนแล้วนำเทียนมัดรอบแกนเสาตกแต่งด้วยกระดาษเพื่อไม่ให้เห็นเชือกที่มัด ( วิธีนี้เริ่มขึ้นเมื่อมีเทียนสมัยใหม่และมีขายทั่วไปแล้ว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: