บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยเรื่อง ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผล การแปล - บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยเรื่อง ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผล ไทย วิธีการพูด

บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยเรื่อง ความสา

บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์อยู่ 2 ประการคือ 1.เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์2.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมย์ โดยรวบรวมข้อมูลจากการแจกแบบสอบถาม และจากการทำแบบทดสอบจำนวน 100 ราย โดยมีเนื้อหาครอบคลุมประเด็นที่เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ทั้งสองประเด็น ผลการศึกษาพบว่า

1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเกินครึ่งหนึ่งเป็นเพศหญิง (ร้อยละ56.0) อายุ ผู้ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมด อายุระหว่าง18 – 19 ปี (ร้อยละ69.0) จบการศึกษาชั้นมัธยมตอนปลาย ผู้ตอบแบบสอบถามเกินครึ่งหนึ่งเป็นโรงเรียน (สพฐ) (ร้อยละ87.0) วุฒิการศึกษาสูงสุด ผู้ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมดต่ำกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ95.0) สาขาวิชา ที่สังกัด ผู้ตอบแบบสอบถามหนึ่งในสี่สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ร้อยละ (23.0)รองลงมาคือสาขาวิชาภาษาไทย (ร้อยละ 15.0)และสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์กับสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (ร้อยละ 9.0)
2. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ พบว่านักศึกษาสามารถใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา (ค่าเฉลี่ย3.73) นักศึกษาได้เรียนภาษาอังกฤษกับอาจารย์ชาวต่างชาติ (ค่าเฉลี่ย3.38) นักศึกษามีโอกาสได้เรียนภาษาอังกฤษในชั้นเรียน (ค่าเฉลี่ย3.36) นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนภาษาอังกฤษต่างๆ เช่น กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ ชมรมภาษอังกฤษเป็นต้น (ค่าเฉลี่ย3.38) นักศึกษาได้ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตปรำวัน เช่น บ้าน โรงเรียน เป็นต้น (ค่าเฉลี่ย3.39) นักศึกษาอ่านออกเสียงไม่ถูกต้องตามหลักภาษาศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย3.27) นักศึกษาขาดการฝึกฝนทักษะด้านการอ่านภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย3.31) นักศึกษาคุ้นเคยในการอ่านภาษาอังกฤษในรูปแบบของภาษาไทย(ค่าเฉลี่ย3.32) นักศึกษามีโอกาสอ่านภาษาอังกฤษในชั้นเรียนน้อยที่สุด (ค่าเฉลี่ย3.26) นักศึกษาอ่านนิทาน การ์ตูนนิตยสารภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย3.40) นักศึกษาชอบสนทนากับชาวต่างชาติ (ค่าเฉลี่ย3.36) นักศึกษาชอบเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตัวเอง (ค่าเฉลี่ย3.33) นักศึกษาเขินอายเมื่อต้องการอ่านภาษาอังกฤษต่อหน้าชาวต่างชาติ เพื่อน หรือครูอาจารย์ (ค่าเฉลี่ย3.29) นักศึกษาขาดความมั่นใจในการอ่านภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย3.36) นักศึกษารู้สึกเบื่อหน่ายในการอ่านภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย3.28)
3. การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมย์ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามไม่ได้เรียนกบอาจารย์เจ้าของภาษา (ร้อยละ81.0) นักศึกษารู้สึกเขินอายเมื่อต้องอ่านภาษาอังกฤษ (ร้อยละ78.0) ผู้เรียนไม่ได้เรียนสายภาษาอังกฤษมาโดยตรง (ร้อยละ77.0) ผู้เรียนไม่สามารถหารายละเอียดและสรุปใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่านได้ (ร้อยละ71.0) ผู้เรียนไม่มีนิสัยรักการอ่านจึงส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษต่ำกว่าเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา (ร้อยล่ะ70.0)
4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย แม้กระทรวงศึกษาธิการบังคับให้ทุกคนเรียนภาษาอังกฤษอยู่ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่ก็ยังมีนักศึกษาจำนวนมากที่พูดภาษาอังกฤษหรือไม่สามารถสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษไม่ได้ ทั้ง ๆ ที่รวมเวลาในการเรียนภาษาอังกฤษแล้ว ส่วนใหญ่ไม่ต่ำกว่า 10 ปี หรือแม้แต่ผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือแม้กระทั่งปริญญาโทยังมีจำนวนไม่น้อยที่ไม่สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้ มีหลากหลายวิธีที่เสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาภาษาอังกฤษของเด็กไทย เช่น การสอนให้นักเรียนรู้คำศัพท์จำนวนมาก เพราะปัญหานักเรียนรู้ศัพท์น้อยนั้นเป็นสาเหตุสำคัญโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ และยังก่อให้เกิดปัญหาต่อเนื่องอีกหลายอย่างตามมา

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยเรื่องความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์มีวัตถุประสงค์อยู่ 2 ประการคือ 1.เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์2.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมย์โดยรวบรวมข้อมูลจากการแจกแบบสอบถามและจากการทำแบบทดสอบจำนวน 1ผลการศึกษาพบว่าโดยมีเนื้อหาครอบคลุมประเด็นที่เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ทั้งสองประเด็น 00 ราย1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุระหว่าง18 ผู้ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมดพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเกินครึ่งหนึ่งเป็นเพศหญิง (ร้อยละ56.0) อายุ – 19 ปี (ร้อยละ69.0) จบการศึกษาชั้นมัธยมตอนปลายผู้ตอบแบบสอบถามเกินครึ่งหนึ่งเป็นโรงเรียน (สพฐ) (ร้อยละ87.0) วุฒิการศึกษาสูงสุดผู้ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมดต่ำกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ95.0) สาขาวิชาที่สังกัดผู้ตอบแบบสอบถามหนึ่งในสี่สาขาวิชาภาษาอังกฤษร้อยละ (23.0) รองลงมาคือสาขาวิชาภาษาไทย (ร้อยละ 15.0) และสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์กับสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (ร้อยละ 9.0)2. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ พบว่านักศึกษาสามารถใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษา (ค่าเฉลี่ย3.73) นักศึกษาได้เรียนภาษาอังกฤษกับอาจารย์ชาวต่างชาติ (ค่าเฉลี่ย3.38) นักศึกษามีโอกาสได้เรียนภาษาอังกฤษในชั้นเรียน (ค่าเฉลี่ย3.36) นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนภาษาอังกฤษต่างๆ เช่น กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ ชมรมภาษอังกฤษเป็นต้น (ค่าเฉลี่ย3.38) นักศึกษาได้ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตปรำวัน เช่น บ้าน โรงเรียน เป็นต้น (ค่าเฉลี่ย3.39) นักศึกษาอ่านออกเสียงไม่ถูกต้องตามหลักภาษาศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย3.27) นักศึกษาขาดการฝึกฝนทักษะด้านการอ่านภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย3.31) นักศึกษาคุ้นเคยในการอ่านภาษาอังกฤษในรูปแบบของภาษาไทย(ค่าเฉลี่ย3.32) นักศึกษามีโอกาสอ่านภาษาอังกฤษในชั้นเรียนน้อยที่สุด (ค่าเฉลี่ย3.26) นักศึกษาอ่านนิทาน การ์ตูนนิตยสารภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย3.40) นักศึกษาชอบสนทนากับชาวต่างชาติ (ค่าเฉลี่ย3.36) นักศึกษาชอบเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตัวเอง (ค่าเฉลี่ย3.33) นักศึกษาเขินอายเมื่อต้องการอ่านภาษาอังกฤษต่อหน้าชาวต่างชาติ เพื่อน หรือครูอาจารย์ (ค่าเฉลี่ย3.29) นักศึกษาขาดความมั่นใจในการอ่านภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย3.36) นักศึกษารู้สึกเบื่อหน่ายในการอ่านภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย3.28) 3. การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมย์พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามไม่ได้เรียนกบอาจารย์เจ้าของภาษา (ร้อยละ81.0) นักศึกษารู้สึกเขินอายเมื่อต้องอ่านภาษาอังกฤษ (ร้อยละ78.0) ผู้เรียนไม่ได้เรียนสายภาษาอังกฤษมาโดยตรง (ร้อยละ77.0) ผู้เรียนไม่สามารถหารายละเอียดและสรุปใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่านได้ (ร้อยละ71.0) ผู้เรียนไม่มีนิสัยรักการอ่านจึงส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษต่ำกว่าเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา (ร้อยล่ะ70.0)4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย แม้กระทรวงศึกษาธิการบังคับให้ทุกคนเรียนภาษาอังกฤษอยู่ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่ก็ยังมีนักศึกษาจำนวนมากที่พูดภาษาอังกฤษหรือไม่สามารถสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษไม่ได้ ทั้ง ๆ ที่รวมเวลาในการเรียนภาษาอังกฤษแล้ว ส่วนใหญ่ไม่ต่ำกว่า 10 ปี หรือแม้แต่ผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือแม้กระทั่งปริญญาโทยังมีจำนวนไม่น้อยที่ไม่สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้ มีหลากหลายวิธีที่เสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาภาษาอังกฤษของเด็กไทย เช่น การสอนให้นักเรียนรู้คำศัพท์จำนวนมาก เพราะปัญหานักเรียนรู้ศัพท์น้อยนั้นเป็นสาเหตุสำคัญโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ และยังก่อให้เกิดปัญหาต่อเนื่องอีกหลายอย่างตามมา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์มีวัตถุประสงค์อยู่ 2 ประการคือ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมย์โดยรวบรวมข้อมูลจากการแจกแบบสอบถามและจากการทำแบบทดสอบจำนวน 100 ราย ผลการศึกษาพบว่า1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า (ร้อยละ 56.0) อายุผู้ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมดอายุระหว่าง 18-19 ปี (ร้อยละ 69.0) จบการศึกษาชั้นมัธยมตอนปลาย (สพฐ) (ร้อยละ 87.0) วุฒิการศึกษาสูงสุด (ร้อยละ 95.0) สาขาวิชาที่สังกัด ร้อยละ (23.0) รองลงมาคือสาขาวิชาภาษาไทย (ร้อยละ (ร้อยละ 9.0) 2 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (ค่าเฉลี่ย 3.73) (ค่าเฉลี่ย 3.38) (ค่าเฉลี่ย 3.36) เช่นกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษชมรมภาษอังกฤษเป็นต้น (ค่าเฉลี่ย 3.38) เช่นบ้านโรงเรียนเป็นต้น (ค่าเฉลี่ย 3.39) (ค่าเฉลี่ย 3.27) (ค่าเฉลี่ย 3.31) (ค่าเฉลี่ย 3.26) นักศึกษาอ่านนิทานการ์ตูนนิตยสารภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ย 3.40) นักศึกษาชอบสนทนากับชาวต่างชาติ (ค่าเฉลี่ย 3.36) (ค่าเฉลี่ย 3.33) เพื่อนหรือครูอาจารย์ (ค่าเฉลี่ย 3.29) (ค่าเฉลี่ย 3.36) (ค่าเฉลี่ย 3.28) 3 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมย์พบว่า (ร้อยละ 81.0) (ร้อยละ 78.0) (ร้อยละ 77.0) (ร้อยละ 71.0) (ร้อยล่ะ 70.0) 4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ทั้ง ๆ ส่วนใหญ่ไม่ต่ำกว่า 10 ปี เช่น






การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่องความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์มีวัตถุประสงค์อยู่ 2 ประการคือ 1เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมย์โดยรวบรวมข้อมูลจากการแจกแบบสอบถามและจากการทำแบบทดสอบจำนวน 100 ราย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: