เพลงอีแซว เป็นเพลงพื้นบ้านประจำท้องถิ่นของ สุพรรณบุรี มีกำเนิดและแพร่ห การแปล - เพลงอีแซว เป็นเพลงพื้นบ้านประจำท้องถิ่นของ สุพรรณบุรี มีกำเนิดและแพร่ห ไทย วิธีการพูด

เพลงอีแซว เป็นเพลงพื้นบ้านประจำท้อง

เพลงอีแซว เป็นเพลงพื้นบ้านประจำท้องถิ่นของ สุพรรณบุรี มีกำเนิดและแพร่หลายในเขตจังหวัดสุพรรณ บุรีและใกล้เคียง เพลงอีแซวมีความเป็นมาที่ยาวนาน มากกว่า ๑๐๐ ปี โดยในช่วงแรกๆ นั้นมีลักษณะเป็นเพลงปฏิพากย์ ( เพลงโต้ตอบ ) ที่ หนุ่มสาวใช้ร้องยั่วเย้า เกี้ยวพาราสีกันอย่างง่ายๆ สั้นๆ กระทั่งเมื่อ ๖๐ - ๗๐ ปีที่ผ่านมาจึงได้พัฒนาเป็นเพลงปฏิพากย์ยาวคือมีเนื้อเพลงที่ใช้ร้องในแต่ละครั้งยาวมากขึ้น พร้อมกับมีการดัดแปลงทำนองและลักษณะการร้องรับของลูกคู่ นอกจากนั้นยังได้มีการพัฒนาเสื้อผ้าของผู้แสดง โดยจะนุ่งโจงกระเบนทั้งฝ่ายชายและหญิง ส่วนเสื้อนั้น ฝ่ายหญิงจะใส่เสื้อแขนสั้นคอกลมหรือ คอเหลี่ยมกว้าง ฝ่ายชายมักจะ ใส่เสื้อแขนสั้นคอกลม สร้าง สรรค์ความสะดุดตาด้วยสี ที่ฉูดฉาดเพื่อดึงดูดใจผู้ชม
ด้วยความนิยมในเพลงอีแซวทำให้สามารถแสดงได้เกือบทุกสถานที่และทุกโอกาสเพียงแต่ จะไม่มีการแสดงในงานแต่งงาน
วงอีแซวจะไม่มีข้อกำหนดเรื่อง จำนวนผู้แสดง แต่ในวงหนึ่งๆ จะมีการจัดสรรตำแหน่งหน้าที่ ของผู้แสดงประกอบด้วย พ่อเพลง ( ผู้ร้องนำฝ่ายชาย ) แม่เพลง ( ผู้ร้องนำฝ่ายหญิง ) คอต้น ( ผู้ร้องเพลงโต้ตอบคนแรก ) คอสอง , คอสาม ( ผู้ร้องคนที่สองและ สาม ) และ ลูกคู่ ( จำนวนไม่จำกัด มีหน้าที่ร้องรับ ร้องซ้ำความ ร้องสอดแทรกขัดจังหวะ เพื่อความสนุกสนาน )
เพลงอีแซวมีจะดำเนินการแสดงโดยมีเนื้อหาเรียงลำดับ เริ่มต้นด้วยบทไหว้ครู บทเกริ่น บทประ และจบท้ายด้วยบทจาก หรือบทลา
๑ . บทไหว้ครู เป็นบทกราบไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และผู้มีพระคุณ ได้แก่ พระรัตนตรัย เทวดา ภูตผี พ่อแม่ ครูอาจารย์ ( ครูเพลงของอีแซวจะมีสองแบบ “ ครูเพลงที่เป็นจิตวิญญาณ ” เช่นพระนารายณ์ ฤาษีหรือพ่อแก่ และครูอีกประเภทคือ “ ครู เพลงที่เป็นมนุษย์ ” นอกจากครูเพลงทั้งสองแบบแล้ว ก็มี “ครู พักลักจำ” ซึ่งหมายถึงครูที่ผู้ร้องไม่ได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์ แต่ได้ แอบจดจำเพลงหรือลีลา ) การร้องบทไหว้ครูจะต้องนั่งกับพื้นร้อง โดยมี “พาน กำนล” หรือพานไหว้ครูวางไว้ข้างหน้า หรือยกถือไว้ในขณะร้อง โดยพ่อเพลงจะร้องก่อน ตามด้วยแม่เพลง
๒ . บทเกริ่น เป็นบทร้องของฝ่ายชายและหญิงก่อนที่จะ มาพบกันตามเหตุการณ์ที่สมมุติไว้ บทเกริ่นเริ่มต้นภายหลังจาก บทไหว้ครูจบลง ผู้แสดงทั้งหมดจะลุกขึ้นยืนร้อง “เพลงออกตัว” มีเนื้อหาทักทายกัน แนะนำตัว ฝากตัวกับผู้ชม ตามด้วย “เพลง แต่งตัว” หากสมมุติเหตุการณ์เป็นการชักชวนกันไปเที่ยวบ้าน สาวๆ พอมาถึงบ้านฝ่ายหญิงแล้วจะร้อง “เพลงปลอบ” ซึ่งเป็น เพลงที่ชักชวนให้ฝ่ายหญิงออกมาร้องเพลงโต้ตอบกัน
๓ . เพลงประ หมายถึงการร้องปะทะคารมกันของทั้งสอง ฝ่าย เพลงประของวงอีแซวมีหลายแบบ ได้แก่ แนวรัก ( การเกี้ยว พาราสี ) แนวประลอง ( การทดสอบฝีปากหรือทดสอบภูมิปัญญา ) และแนวเพลงเรื่อง ( ดำเนินเรื่องราวตามเรื่องของ นิทาน นิยาย หรือวรรณกรรม )
๔ . บทจาก หรือ บทลา เป็นเพลงที่ใช้ร้องเพื่อ แสดงถึงความอาลัยคู่เล่นเพลง ผู้ชม หรือ กล่าวอำลาผู้ชม หรือเจ้าภาพผู้ว่าจ้างให้มาแสดง
๕ . การอวยพร เป็นการร้องขอบคุณเจ้าภาพ และ ผู้ชม รวมทั้งขอบคุณผู้ให้รางวัล
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เพลงอีแซวเป็นเพลงพื้นบ้านประจำท้องถิ่นของสุพรรณบุรีมีกำเนิดและแพร่หลายในเขตจังหวัดสุพรรณบุรีและใกล้เคียงเพลงอีแซวมีความเป็นมาที่ยาวนานมากกว่า ๑๐๐ ปีโดยในช่วงแรก ๆ นั้นมีลักษณะเป็นเพลงปฏิพากย์ (เพลงโต้ตอบ) หนุ่มสาวใช้ร้องยั่วเย้าเกี้ยวพาราสีกันอย่างง่าย ๆ สั้น ๆ กระทั่งเมื่อ ๖๐ - ๗๐ ปีที่ผ่านมาจึงได้พัฒนาเป็นเพลงปฏิพากย์ยาวคือมีเนื้อเพลงที่ใช้ร้องในแต่ละครั้งยาวมากขึ้นพร้อมกับมีการดัดแปลงทำนองและลักษณะการร้องรับของลูกคู่นอกจากนั้นยังได้มีการพัฒนาเสื้อผ้าของผู้แสดงโดยจะนุ่งโจงกระเบนทั้งฝ่ายชายและหญิงส่วนเสื้อนั้นฝ่ายหญิงจะใส่เสื้อแขนสั้นคอกลมหรือคอเหลี่ยมกว้างฝ่ายชายมักจะใส่เสื้อแขนสั้นคอกลมสร้างสรรค์ความสะดุดตาด้วยสีที่ฉูดฉาดเพื่อดึงดูดใจผู้ชม ด้วยความนิยมในเพลงอีแซวทำให้สามารถแสดงได้เกือบทุกสถานที่และทุกโอกาสเพียงแต่จะไม่มีการแสดงในงานแต่งงาน วงอีแซวจะไม่มีข้อกำหนดเรื่องจำนวนผู้แสดงแต่ในวงหนึ่ง ๆ จะมีการจัดสรรตำแหน่งหน้าที่ของผู้แสดงประกอบด้วยพ่อเพลง (ผู้ร้องนำฝ่ายชาย) แม่เพลง (ผู้ร้องนำฝ่ายหญิง) คอต้น (ผู้ร้องเพลงโต้ตอบคนแรก) คอสอง คอสาม (ผู้ร้องคนที่สองและสาม) และลูกคู่ (จำนวนไม่จำกัดมีหน้าที่ร้องรับร้องซ้ำความร้องสอดแทรกขัดจังหวะเพื่อความสนุกสนาน) เพลงอีแซวมีจะดำเนินการแสดงโดยมีเนื้อหาเรียงลำดับเริ่มต้นด้วยบทไหว้ครูบทเกริ่นบทประและจบท้ายด้วยบทจากหรือบทลา ๑ บทไหว้ครูเป็นบทกราบไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์และผู้มีพระคุณได้แก่พระรัตนตรัยเทวดาภูตผีพ่อแม่ครูอาจารย์ (ครูเพลงของอีแซวจะมีสองแบบ "ครูเพลงที่เป็นจิตวิญญาณ" เช่นพระนารายณ์ฤาษีหรือพ่อแก่และครูอีกประเภทคือ "ครูเพลงที่เป็นมนุษย์" นอกจากครูเพลงทั้งสองแบบแล้วก็มี "ครูพักลักจำ" ซึ่งหมายถึงครูที่ผู้ร้องไม่ได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์แต่ได้แอบจดจำเพลงหรือลีลา) การร้องบทไหว้ครูจะต้องนั่งกับพื้นร้องโดยมี "พานกำนล" หรือพานไหว้ครูวางไว้ข้างหน้าหรือยกถือไว้ในขณะร้องโดยพ่อเพลงจะร้องก่อนตามด้วยแม่เพลง ๒ บทเกริ่นเป็นบทร้องของฝ่ายชายและหญิงก่อนที่จะมาพบกันตามเหตุการณ์ที่สมมุติไว้บทเกริ่นเริ่มต้นภายหลังจากบทไหว้ครูจบลงผู้แสดงทั้งหมดจะลุกขึ้นยืนร้อง "เพลงออกตัว" มีเนื้อหาทักทายกันแนะนำตัวฝากตัวกับผู้ชมตามด้วย "เพลงแต่งตัว" หากสมมุติเหตุการณ์เป็นการชักชวนกันไปเที่ยวบ้านสาว ๆ พอมาถึงบ้านฝ่ายหญิงแล้วจะร้อง "เพลงปลอบ" ซึ่งเป็นเพลงที่ชักชวนให้ฝ่ายหญิงออกมาร้องเพลงโต้ตอบกัน ๓ เพลงประหมายถึงการร้องปะทะคารมกันของทั้งสองฝ่ายเพลงประของวงอีแซวมีหลายแบบได้แก่แนวรัก (การเกี้ยวพาราสี) แนวประลอง (การทดสอบฝีปากหรือทดสอบภูมิปัญญา) และแนวเพลงเรื่อง (ดำเนินเรื่องราวตามเรื่องของนิทานนิยายหรือวรรณกรรม) ๔ บทจากหรือบทลาเป็นเพลงที่ใช้ร้องเพื่อแสดงถึงความอาลัยคู่เล่นเพลงผู้ชมหรือกล่าวอำลาผู้ชมหรือเจ้าภาพผู้ว่าจ้างให้มาแสดง ๕ การอวยพรเป็นการร้องขอบคุณเจ้าภาพและผู้ชมรวมทั้งขอบคุณผู้ให้รางวัล
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เพลงอีแซวเป็นเพลงพื้นบ้านประจำท้องถิ่นของสุพรรณบุรี บุรีและใกล้เคียงเพลงอีแซวมีความเป็นมาที่ยาวนานมากกว่า 100 ปีโดยในช่วงแรก ๆ นั้นมีลักษณะเป็นเพลงปฏิพากย์ (เพลงโต้ตอบ) ที่หนุ่มสาวใช้ร้องยั่วเย้าเกี้ยวพาราสีกันอย่างง่ายๆสั้น ๆ กระทั่งเมื่อ 60-70 ส่วนเสื้อนั้น คอเหลี่ยมกว้างฝ่ายชายมักจะใส่เสื้อแขนสั้นคอกลมสร้างสรรค์ความสะดุดตาด้วยสี จำนวนผู้แสดง แต่ในวงหนึ่ง ๆ จะมีการจัดสรรตำแหน่งหน้าที่ของผู้แสดงประกอบด้วยพ่อเพลง (ผู้ร้องนำฝ่ายชาย) แม่เพลง (ผู้ร้องนำฝ่ายหญิง) คอต้น (ผู้ร้องเพลงโต้ตอบคนแรก) คอสอง, คอสาม (ผู้ร้องคนที่สองและสาม) และลูกคู่ (จำนวนไม่ จำกัด มีหน้าที่ร้องรับร้องซ้ำความร้องสอดแทรกขัดจังหวะเพื่อความสนุกสนาน เริ่มต้นด้วยบทไหว้ครูบทเกริ่นบทประและจบท้ายด้วยบทจากหรือบทลา1. บทไหว้ครู และผู้มีพระคุณ ได้แก่ พระรัตนตรัยเทวดาภูตผีพ่อแม่ครูอาจารย์ (ครูเพลงของอีแซวจะมีสองแบบ "ครูเพลงที่เป็นจิตวิญญาณ" เช่นพระนารายณ์ฤาษีหรือพ่อแก่และครูอีกประเภทคือ "ครูเพลงที่เป็นมนุษย์" นอกจากครูเพลงทั้งสองแบบแล้วก็มี "ครูพักลักจำ" แต่ได้แอบจดจำเพลงหรือลีลา) โดยมี "พานกำนล" หรือพานไหว้ครูวางไว้ข้างหน้าหรือยกถือไว้ในขณะร้องโดยพ่อเพลงจะร้องก่อนตามด้วยแม่เพลง2. บทเกริ่น มาพบกันตามเหตุการณ์ที่สมมุติไว้บทเกริ่นเริ่มต้นภายหลังจากบทไหว้ครูจบลงผู้แสดงทั้งหมดจะลุกขึ้นยืนร้อง "เพลงออกตัว" มีเนื้อหาทักทายกันแนะนำตัวฝากตัวกับผู้ชมตามด้วย "เพลงแต่งตัว" สาว ๆ พอมาถึงบ้านฝ่ายหญิงแล้วจะร้อง "เพลงปลอบ" ซึ่งเป็น . เพลงประ ฝ่ายเพลงประของวงอีแซวมีหลายแบบ ได้แก่ แนวรัก (การเกี้ยวพาราสี) แนวประลอง (การทดสอบฝีปากหรือทดสอบภูมิปัญญา) และแนวเพลงเรื่อง (ดำเนินเรื่องราวตามเรื่องของนิทานนิยายหรือวรรณกรรม) 4. บทจากหรือบท ลาเป็นเพลงที่ใช้ร้องเพื่อแสดงถึงความอาลัยคู่เล่นเพลงผู้ชมหรือกล่าวอำลาผู้ชมหรือเจ้าภาพผู้ว่าจ้างให้มาแสดง5. การอวยพรเป็นการร้องขอบคุณเจ้าภาพและผู้ชมรวมทั้งขอบคุณผู้ให้รางวัล







การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: