พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ประเภทแหล่งอ การแปล - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ประเภทแหล่งอ ไทย วิธีการพูด

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง เป็

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ประเภทแหล่งอนุสรณ์สถานจัดตั้งขึ้นในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 13 ตำบล บ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันได้ยกฐานะเป็นเทศบาลตำบลแล้ว พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ บ้านเชียงได้จัดแสดงหลักฐานที่ ได้จากการสำรวจขุด ค้น ที่บ้านเชียง และแหล่งโบราณคดีใกล้เคียง อันประกอบด้วยกลุ่มภาชนะดินเผา เครื่องมือ เครื่องใช้และสิ่งอื่นๆอีกมากมาย

จุดเริ่มต้นของการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง มาจากการพบภาชนะลายเขียนสี เมื่อปี พ.ศ. 2503 โดยชาวบ้านเชียง ต่อมาปี พ.ศ. 2509 ชาวอเมริกัน ได้พบภาชนะดินเผาที่บ้านเชียงโดยบังเอิญจึงนำไปแจ้งที่กรมศิลปากร ปีพ.ศ. 2510 จึงได้มีการขุดค้นอย่างจริงจังเป็นครั้งแรกปี พ.ศ.2515 ได้ขุดค้นเป็นครั้งที่ 2 ในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้เสด็จทอดพระเนตรแหล่งขุดค้นที่วัดโพธิ์ศรีในพร้อมกับแหล่งอื่นในบ้านเชียง และครั้งสุดท้ายปีพ.ศ. 2517-2518 กรมศิลปากรร่วมกับมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ได้ร่วมมือขุดค้นและหาข้อมูลใหม่เพิ่มเติม โดยเรียกโครงการนี้ว่า " โครงการ โบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ " พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งชาติ บ้านเชียง จึงได้เริ่มจัดตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2518 เป็นต้นมา

พ.ศ. 2524 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุดรธานี ร่วมกับกรมศิลปากร ได้ของบประมาณจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล มาสร้างอาคารหลังแรก แต่เนื่องจาก สภาพพื้นที่ยังเป็นที่ลุ่มน้ำท่วมถึงในฤดูฝน นายมีชัย ฤชพันธุ์ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้ขอเงินงบประมาณในโครงการเงิน กสช. มาปรับปรุงพื้นที่ให้สวยงาม และพรรคชาติไทยยังได้บริจาคต้นไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับให้แก่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ บ้านเชียง ด้วยเช่นกัน

พ.ศ. 2525 ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ของบประมาณสร้างอาคารหลังที่ 2 จากมูลนิธิ จอร์น เอฟ เคเนดี แห่งประเทศไทย และกรมศิลปากรได้มีงบประมาณสนับสนุนด้านครุภัณฑ์ เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 6,100,000 บาท เนื่องจากในวโรกาสสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระชนมายุ 84 พรรษา กรมศิลปากร ได้กราบบังคมทูลพระบรมราชานุญาตใช้ชื่ออาคารหลังนี้ว่า "อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี" ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา ทรงเป็นผู้แทนพระองค์เสด็จทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง ในวันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2530 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง ปัจจุบันมีพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น 25 ไร่ คือ บริเวณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง หลุมขุดค้นทางโบราณคดีวัดโพธิ์ศรีใน และบ้านไทพาน ด้วยเหตุผลที่คนบ้านเชียงยุคก่อนประวัติศาสตร์ ได้มีหลักฐาน ชีวิตความเป็นอยู่ ที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรมของคนยุคนั้น ให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้เป็นอย่างดี คณะกรรมการมรดกโลกได้ร่วมกันตกลงยอมรับให้ขึ้นบัญชี " แหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียง "ไว้เป็นแหล่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 359 ของโลก เมื่อปี พ.ศ. 2535
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียงเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติประเภทแหล่งอนุสรณ์สถานจัดตั้งขึ้นในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 13 ตำบลบ้านเชียงอำเภอหนองหานจังหวัดอุดรธานีปัจจุบันได้ยกฐานะเป็นเทศบาลตำบลแล้วพิพิธภัณฑ์แห่งชาติบ้านเชียงได้จัดแสดงหลักฐานที่ได้จากการสำรวจขุดค้นที่บ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีใกล้เคียงอันประกอบด้วยกลุ่มภาชนะดินเผาเครื่องมือเครื่องใช้และสิ่งอื่นๆอีกมากมายจุดเริ่มต้นของการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียงมาจากการพบภาชนะลายเขียนสีเมื่อปีพ.ศ. 2503 โดยชาวบ้านเชียงต่อมาปีพ.ศ. 2509 ชาวอเมริกันได้พบภาชนะดินเผาที่บ้านเชียงโดยบังเอิญจึงนำไปแจ้งที่กรมศิลปากรปีพ.ศ 2510 จึงได้มีการขุดค้นอย่างจริงจังเป็นครั้งแรกปี พ.ศ.2515 ได้ขุดค้นเป็นครั้งที่ 2 ในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้เสด็จทอดพระเนตรแหล่งขุดค้นที่วัดโพธิ์ศรีในพร้อมกับแหล่งอื่นในบ้านเชียงและครั้งสุดท้ายปีพ.ศ 2517-2518 กรมศิลปากรร่วมกับมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียได้ร่วมมือขุดค้นและหาข้อมูลใหม่เพิ่มเติมโดยเรียกโครงการนี้ว่า "โครงการโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ" พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งชาติบ้านเชียงจึงได้เริ่มจัดตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปีพ.ศ 2518 เป็นต้นมาพ.ศ. 2524 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุดรธานีร่วมกับกรมศิลปากรได้ของบประมาณจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลมาสร้างอาคารหลังแรกแต่เนื่องจากสภาพพื้นที่ยังเป็นที่ลุ่มน้ำท่วมถึงในฤดูฝนนายมีชัยฤชพันธุ์รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีได้ขอเงินงบประมาณในโครงการเงินกสช มาปรับปรุงพื้นที่ให้สวยงามและพรรคชาติไทยยังได้บริจาคต้นไม้ไม้ดอกไม้ประดับให้แก่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติบ้านเชียงด้วยเช่นกันพ.ศ. 2525 ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ของบประมาณสร้างอาคารหลังที่ 2 จากมูลนิธิ จอร์น เอฟ เคเนดี แห่งประเทศไทย และกรมศิลปากรได้มีงบประมาณสนับสนุนด้านครุภัณฑ์ เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 6,100,000 บาท เนื่องจากในวโรกาสสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระชนมายุ 84 พรรษา กรมศิลปากร ได้กราบบังคมทูลพระบรมราชานุญาตใช้ชื่ออาคารหลังนี้ว่า "อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี" ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา ทรงเป็นผู้แทนพระองค์เสด็จทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง ในวันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2530 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง ปัจจุบันมีพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น 25 ไร่ คือ บริเวณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง หลุมขุดค้นทางโบราณคดีวัดโพธิ์ศรีใน และบ้านไทพาน ด้วยเหตุผลที่คนบ้านเชียงยุคก่อนประวัติศาสตร์ ได้มีหลักฐาน ชีวิตความเป็นอยู่ ที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรมของคนยุคนั้น ให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้เป็นอย่างดี คณะกรรมการมรดกโลกได้ร่วมกันตกลงยอมรับให้ขึ้นบัญชี " แหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียง "ไว้เป็นแหล่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 359 ของโลก เมื่อปี พ.ศ. 2535
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียงเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 13 ตำบลบ้านเชียงอำเภอหนองหานจังหวัดอุดรธานี พิพิธภัณฑ์แห่งชาติบ้านเชียงได้จัดแสดงหลักฐานที่ได้จากการสำรวจขุดค้นที่บ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีใกล้เคียงอันประกอบด้วยกลุ่มภาชนะดินเผาเครื่องมือ บ้านเชียงมาจากการพบภาชนะลายเขียนสีเมื่อปี พ.ศ. 2503 โดยชาวบ้านเชียงต่อมาปี พ.ศ. 2509 ชาวอเมริกัน ปีพ.ศ. 2510 พ.ศ. 2515 ได้ขุดค้นเป็นครั้งที่ 2 และครั้งสุดท้ายปีพ. ศ 2517-2518 โดยเรียกโครงการนี้ว่า "โครงการโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ" พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งชาติบ้านเชียง 2518 มาเป็นต้นพ.ศ. 2524 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุดรธานีร่วมกับกรมศิลปากร มาสร้างอาคารหลังแรก แต่เนื่องจาก นายมีชัยฤชพันธุ์รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีได้ขอเงินงบประมาณในโครงการเงินกสช ปรับปรุงพื้นที่มาให้สวยงามและพรรคชาติไทยยังได้บริจาคต้นไม้ไม้ดอกไม้ประดับให้แก่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติบ้านเชียงด้วยเช่นกันพ.ศ. 2525 ดร สิปปนนท์เกตุทัต ได้ของบประมาณสร้างอาคารหลังที่ 2 จากมูลนิธิจอร์นเอฟเคเนดีแห่งประเทศไทย เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 6,100,000 บาทเนื่องจากในวโรกาสสมเด็จ 84 พรรษากรมศิลปากร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ บ้านเชียงในวันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2530 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียงปัจจุบันมีพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น 25 ไร่คือบริเวณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง และบ้านไทพาน ได้มีหลักฐานชีวิตความเป็นอยู่ที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรมของคนยุคนั้น "แหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียง" ไว้เป็นแหล่งหนึ่งในบรรดามรดกโลกเป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทยและเป็นอันดับที่ 359 ของโลกเมื่อปี พ.ศ. 2535





การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียงเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติประเภทแหล่งอนุสรณ์สถานจัดตั้งขึ้นในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 13 ตำบลบ้านเชียงอำเภอหนองหานจังหวัดอุดรธานีพิพิธภัณฑ์แห่งชาติบ้านเชียงได้จัดแสดงหลักฐานที่ได้จากการสำรวจขุดค้นที่บ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีใกล้เคียงอันประกอบด้วยกลุ่มภาชนะดินเผาเครื่องมือเครื่องใช้และสิ่งอื่นๆอีกมากมาย

จุดเริ่มต้นของการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียงมาจากการพบภาชนะลายเขียนสีเมื่อปีพ . ศ . 2503 โดยชาวบ้านเชียงต่อมาปีพ . ศ .รูปภาพชาวอเมริกันได้พบภาชนะดินเผาที่บ้านเชียงโดยบังเอิญจึงนำไปแจ้งที่กรมศิลปากรปีพ . ศ . 2510 จึงได้มีการขุดค้นอย่างจริงจังเป็นครั้งแรกปีพ . ศ .2515 ได้ขุดค้นเป็นครั้งที่ 2 ในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้เสด็จทอดพระเนตรแหล่งขุดค้นที่วัดโพธิ์ศรีในพร้อมกับแหล่งอื่นในบ้านเชียงและครั้งสุดท้ายปีพ . ศ .2517-2518 กรมศิลปากรร่วมกับมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียได้ร่วมมือขุดค้นและหาข้อมูลใหม่เพิ่มเติมโดยเรียกโครงการนี้ว่า " โครงการโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ " พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งชาติบ้านเชียงศ . 2518 เป็นต้นมา

พ . ศ .2524 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุดรธานีร่วมกับกรมศิลปากรได้ของบประมาณจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลมาสร้างอาคารหลังแรกแต่เนื่องจากสภาพพื้นที่ยังเป็นที่ลุ่มน้ำท่วมถึงในฤดูฝนนายมีชัยฤชพันธุ์
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: