ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนสภาพเศรษฐกิจของ 10 ประเทศ เศร การแปล - ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนสภาพเศรษฐกิจของ 10 ประเทศ เศร ไทย วิธีการพูด

ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอ

ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียน

สภาพเศรษฐกิจของ 10 ประเทศ
เศรษฐกิจประเทศไทย
สภาพเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจหลักของประเทศได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การบริการ และ ทรัพยากรธรรมชาติ ถือเป็นเศรษฐกิจหลักที่ทำรายได้ให้กับคนในประเทศ พบว่าค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ของประเทศเท่ากับ 245,659 พันล้านบาท และข้อมูลจาก การรายงานประจำปี 2549 กรมส่งเสริมการส่งออกชี้แจงว่า การค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยในปี 2549 มีมูลค่า 236,574.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีการส่งออกมูลค่า 129,744.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่วนการนำเข้าสินค้ามีมูลค่า 126,850.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีดุลการค้าเกินดุล 2,913.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นในทุกหมวด ทั้งสินค้าภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม นอกจากนี้กรมส่งเสริมการส่งออกยังมีทิศทางในการพัฒนาในระบบการบริหารจัดการลูกค้า (Logistic Service Providers) โดยการพัฒนาระบบ e-Logistic เพื่อนำไปสู่ การให้บริการแบบ Electronic Certification ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริม การพัฒนา Trade Logistics Provider ในประเทศให้เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจการขนส่งทั้งทางบกและทางเรือ ธุรกิจ Freight Forwarder การให้บริการคลังสินค้า
และประกันภัย
ในด้านเกษตรกรรมข้าวถือเป็นผลผลิตที่สำคัญที่สุด เป็นผู้ผลิตและส่งออกข้าว เป็นอันดับหนึ่งของโลก ด้วยสัดส่วนการส่งออก ร้อยละ 36 พืชผลทางการเกษตรอื่น ๆ ได้แก่ ยางพารา ผักและผลไม้ต่าง ๆ มีการเพาะเลี้ยงปศุสัตว์เช่น วัว สุกร เป็ด ไก่ สัตว์น้ำทั้งปลาน้ำจืด ปลาน้ำเค็มในกระชัง นากุ้ง เลี้ยงหอย รวมถึงการประมงทางทะเล
ในภาคอุตสาหกรรม การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 5.8 และหมวดสินค้าที่ขยายตัวได้ดีได้แก่ หมวดอิเล็กทรอนิกส์ หมวดเครื่องหนัง หมวดอาหาร และหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า
ในด้านการท่องเที่ยว การบริการและโรงแรม ในปี พ.ศ. 2547 มีนักท่องเที่ยวรวม 11.65 ล้านคน 56.52% มาจากเอเชียตะวันออกและอาเซียน (โดยเฉพาะมาเลเซียคิดเป็น 11.97% ญี่ปุ่น 10.33%) ยุโรป 24.29% ทวีปอเมริกาเหนือและใต้รวมกัน 7.02% สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่
กรุงเทพมหานคร พัทยา ภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน จังหวัดเชียงใหม่
เศรษฐกิจของประเทศบรูไน
สภาพเศรษฐกิจ : บรูไนเป็นประเทศที่มีน้ำมันมากเป็นอันดับสามในภูมิภาคอาเซียน รองจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย จึงมีรายได้หลักจากน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ รายได้จากการส่งออกน้ำมันดิบและก๊าซมีมูลค่ากว่าร้อยละ 90 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด โดยส่งออกไปยังญี่ปุ่น อังกฤษ ไทย สิงคโปร์ ไต้หวัน สหรัฐฯ ฟิลิปปินส์ และเกาหลีใต้ ในขณะเดียวกัน บรูไนนำเข้าสินค้าส่วนใหญ่จากสิงคโปร์ อังกฤษ สหรัฐฯ มาเลเซีย โดยเป็นสินค้าประเภทเครื่องจักรอุตสาหกรรม
รถยนต์ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า ต่าง ๆ และสินค้าเกษตร อาทิ ข้าวและผลไม้
บรูไน มีอุตสาหกรรมอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรมน้ำมันอยู่บ้าง อาทิ การผลิตอาหารและเครื่องมือ การผลิตเสื้อผ้า เพื่อส่งออกไปยังกลุ่มประเทศในยุโรปและอเมริกา ทั้งนี้ รัฐบาลบรูไน มุ่งที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมด้านการแปรรูปอาหารและผลิตเครื่องดื่ม เสื้อผ้า และสิ่งทอ เครื่องเรือนจากไม้ วัสดุก่อสร้างที่ไม่ใช่โลหะ การผลิตแก้วเพื่อใช้ทำกระจกรถยนต์ อย่างไรก็ดี การพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากมีอุปสรรคต่าง ๆ อาทิ การขาดช่างฝีมือ ตลาดเล็ก ความไม่กระตือรือร้นของข้าราชการ การห้ามชาวต่างชาติเป็นเจ้าของที่ดิน รวมทั้งกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ไม่เอื้ออำนวย ทำให้ต่างชาติไม่นิยมมาลงทุน
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รัฐบาลบรูไน จะเน้นการเป็นประเทศที่มีความสงบและปลอดภัยเป็นจุดขาย โดยรัฐบาลได้ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมมีบทบาทมากขึ้น รวมถึงการส่งเสริมการลงทุนกับต่างประเทศและมีมาตรการเปิดเสรีด้านการค้าและ สร้างบรรยากาศที่เอื้ออำนวยต่อการลงทุน
เศรษฐกิจของประเทศกัมพูชา
สภาพเศรษฐกิจ : กัมพูชายังถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนาที่มีความยากจนมากประเทศหนึ่ง ดังนั้น รัฐบาลกัมพูชาจึงให้ความสำคัญอย่างสูงสุดต่อการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศเพื่อมุ่งขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทให้ดีขึ้น รัฐบาลปัจจุบันซึ่งนำโดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายและประกาศใช้ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม (จัตุโกณ) เพื่อการเจริญเติบโต การจ้างงาน ความเสมอภาคและประสิทธิภาพในกัมพูชา
หลักการภายใต้ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม เป็นวาระแห่งชาติของกัมพูชาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเร่งรัดการแก้ไขปัญหาด้าน เศรษฐกิจและสังคมที่กัมพูชากำลังเผชิญอยู่และการพัฒนาศักยภาพของกัมพูชา ได้แก่
1. การส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. ส่งเสริมการสร้างงาน
3. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการของรัฐบาลเพื่อประกันความเท่าเทียมกันและความ เป็นธรรมในสังคม
4. การเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถของรัฐบาลในการดำเนินโครงการปฏิรูปในทุก สาขา
เพื่อลดความยากจนและบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงสร้างของยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม ประกอบด้วย
- ยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยมุ่งเน้นการปฏิรูป 4 ประการ ได้แก่
1. การต่อต้านการฉ้อราษฎร์บังหลวง
2. การปฏิรูปกฎหมายและการศาล
3. การบริหารสาธารณะ
4. การปฏิรูปกองทัพ โดยเฉพาะการลดจำนวนกำลังพลและหันไปเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรและอาวุธ ยุทโธปกรณ์
- สร้างเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่
1. ความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพทางการเมือง และระเบียบทางสังคม
2. การสร้างหุ้นส่วนด้านการพัฒนาซึ่งรวมถึง ภาคเอกชน ประเทศผู้บริจาค และประชาชน
3. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการคลัง
4. การบูรณาการกัมพูชาเข้าสู่ภูมิภาคและโลก
- ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยมยังได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศใน 4 สาขาหลัก ได้แก่
1. ด้านการเกษตร
2. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
3. การพัฒนาภาคเอกชนและสนับสนุนการสร้างงาน
4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะด้านการศึกษาและสาธารณสุข
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มอาเซียนสภาพเศรษฐกิจของ 10 ประเทศ เศรษฐกิจประเทศไทย สภาพเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจหลักของประเทศได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การบริการ และ ทรัพยากรธรรมชาติ ถือเป็นเศรษฐกิจหลักที่ทำรายได้ให้กับคนในประเทศ พบว่าค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ของประเทศเท่ากับ 245,659 พันล้านบาท และข้อมูลจาก การรายงานประจำปี 2549 กรมส่งเสริมการส่งออกชี้แจงว่า การค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยในปี 2549 มีมูลค่า 236,574.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีการส่งออกมูลค่า 129,744.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่วนการนำเข้าสินค้ามีมูลค่า 126,850.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีดุลการค้าเกินดุล 2,913.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นในทุกหมวด ทั้งสินค้าภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม นอกจากนี้กรมส่งเสริมการส่งออกยังมีทิศทางในการพัฒนาในระบบการบริหารจัดการลูกค้า (Logistic Service Providers) โดยการพัฒนาระบบ e-Logistic เพื่อนำไปสู่ การให้บริการแบบ Electronic Certification ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริม การพัฒนา Trade Logistics Provider ในประเทศให้เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจการขนส่งทั้งทางบกและทางเรือ ธุรกิจ Freight Forwarder การให้บริการคลังสินค้าและประกันภัย ในด้านเกษตรกรรมข้าวถือเป็นผลผลิตที่สำคัญที่สุด เป็นผู้ผลิตและส่งออกข้าว เป็นอันดับหนึ่งของโลก ด้วยสัดส่วนการส่งออก ร้อยละ 36 พืชผลทางการเกษตรอื่น ๆ ได้แก่ ยางพารา ผักและผลไม้ต่าง ๆ มีการเพาะเลี้ยงปศุสัตว์เช่น วัว สุกร เป็ด ไก่ สัตว์น้ำทั้งปลาน้ำจืด ปลาน้ำเค็มในกระชัง นากุ้ง เลี้ยงหอย รวมถึงการประมงทางทะเล ในภาคอุตสาหกรรม การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 5.8 และหมวดสินค้าที่ขยายตัวได้ดีได้แก่ หมวดอิเล็กทรอนิกส์ หมวดเครื่องหนัง หมวดอาหาร และหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า ในด้านการท่องเที่ยว การบริการและโรงแรม ในปี พ.ศ. 2547 มีนักท่องเที่ยวรวม 11.65 ล้านคน 56.52% มาจากเอเชียตะวันออกและอาเซียน (โดยเฉพาะมาเลเซียคิดเป็น 11.97% ญี่ปุ่น 10.33%) ยุโรป 24.29% ทวีปอเมริกาเหนือและใต้รวมกัน 7.02% สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร พัทยา ภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน จังหวัดเชียงใหม่
เศรษฐกิจของประเทศบรูไน
สภาพเศรษฐกิจ : บรูไนเป็นประเทศที่มีน้ำมันมากเป็นอันดับสามในภูมิภาคอาเซียน รองจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย จึงมีรายได้หลักจากน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ รายได้จากการส่งออกน้ำมันดิบและก๊าซมีมูลค่ากว่าร้อยละ 90 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด โดยส่งออกไปยังญี่ปุ่น อังกฤษ ไทย สิงคโปร์ ไต้หวัน สหรัฐฯ ฟิลิปปินส์ และเกาหลีใต้ ในขณะเดียวกัน บรูไนนำเข้าสินค้าส่วนใหญ่จากสิงคโปร์ อังกฤษ สหรัฐฯ มาเลเซีย โดยเป็นสินค้าประเภทเครื่องจักรอุตสาหกรรม
รถยนต์ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า ต่าง ๆ และสินค้าเกษตร อาทิ ข้าวและผลไม้
บรูไน มีอุตสาหกรรมอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรมน้ำมันอยู่บ้าง อาทิ การผลิตอาหารและเครื่องมือ การผลิตเสื้อผ้า เพื่อส่งออกไปยังกลุ่มประเทศในยุโรปและอเมริกา ทั้งนี้ รัฐบาลบรูไน มุ่งที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมด้านการแปรรูปอาหารและผลิตเครื่องดื่ม เสื้อผ้า และสิ่งทอ เครื่องเรือนจากไม้ วัสดุก่อสร้างที่ไม่ใช่โลหะ การผลิตแก้วเพื่อใช้ทำกระจกรถยนต์ อย่างไรก็ดี การพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากมีอุปสรรคต่าง ๆ อาทิ การขาดช่างฝีมือ ตลาดเล็ก ความไม่กระตือรือร้นของข้าราชการ การห้ามชาวต่างชาติเป็นเจ้าของที่ดิน รวมทั้งกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ไม่เอื้ออำนวย ทำให้ต่างชาติไม่นิยมมาลงทุน
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รัฐบาลบรูไน จะเน้นการเป็นประเทศที่มีความสงบและปลอดภัยเป็นจุดขาย โดยรัฐบาลได้ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมมีบทบาทมากขึ้น รวมถึงการส่งเสริมการลงทุนกับต่างประเทศและมีมาตรการเปิดเสรีด้านการค้าและ สร้างบรรยากาศที่เอื้ออำนวยต่อการลงทุน
เศรษฐกิจของประเทศกัมพูชา
สภาพเศรษฐกิจ : กัมพูชายังถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนาที่มีความยากจนมากประเทศหนึ่ง ดังนั้น รัฐบาลกัมพูชาจึงให้ความสำคัญอย่างสูงสุดต่อการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศเพื่อมุ่งขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทให้ดีขึ้น รัฐบาลปัจจุบันซึ่งนำโดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายและประกาศใช้ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม (จัตุโกณ) เพื่อการเจริญเติบโต การจ้างงาน ความเสมอภาคและประสิทธิภาพในกัมพูชา
หลักการภายใต้ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม เป็นวาระแห่งชาติของกัมพูชาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเร่งรัดการแก้ไขปัญหาด้าน เศรษฐกิจและสังคมที่กัมพูชากำลังเผชิญอยู่และการพัฒนาศักยภาพของกัมพูชา ได้แก่
1. การส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. ส่งเสริมการสร้างงาน
3. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการของรัฐบาลเพื่อประกันความเท่าเทียมกันและความ เป็นธรรมในสังคม
4. การเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถของรัฐบาลในการดำเนินโครงการปฏิรูปในทุก สาขา
เพื่อลดความยากจนและบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงสร้างของยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม ประกอบด้วย
- ยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยมุ่งเน้นการปฏิรูป 4 ประการ ได้แก่
1. การต่อต้านการฉ้อราษฎร์บังหลวง
2. การปฏิรูปกฎหมายและการศาล
3. การบริหารสาธารณะ
4. การปฏิรูปกองทัพ โดยเฉพาะการลดจำนวนกำลังพลและหันไปเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรและอาวุธ ยุทโธปกรณ์
- สร้างเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่
1. ความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพทางการเมือง และระเบียบทางสังคม
2. การสร้างหุ้นส่วนด้านการพัฒนาซึ่งรวมถึง ภาคเอกชน ประเทศผู้บริจาค และประชาชน
3. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการคลัง
4. การบูรณาการกัมพูชาเข้าสู่ภูมิภาคและโลก
- ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยมยังได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศใน 4 สาขาหลัก ได้แก่
1. ด้านการเกษตร
2. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
3. การพัฒนาภาคเอกชนและสนับสนุนการสร้างงาน
4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะด้านการศึกษาและสาธารณสุข
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆในกลุ่มอาเซียน

สภาพเศรษฐกิจของ 10 ประเทศ

เศรษฐกิจประเทศไทยสภาพเศรษฐกิจ :เศรษฐกิจหลักของประเทศได้แก่เกษตรกรรมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวการบริการและทรัพยากรธรรมชาติถือเป็นเศรษฐกิจหลักที่ทำรายได้ให้กับคนในประเทศพบว่าค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ( ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ :GDP ) ของประเทศเท่ากับ 245659 พันล้านบาทและข้อมูลจากการรายงานประจำปี 2549 กรมส่งเสริมการส่งออกชี้แจงว่าการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยในปี 2549 มีมูลค่า 236574.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯโดยมีการส่งออกมูลค่า 129744 .1 ล้านเหรียญสหรัฐฯส่วนการนำเข้าสินค้ามีมูลค่า 126850.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯและมีดุลการค้าเกินดุล 2913 .6 ล้านเหรียญสหรัฐฯสินค้าการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นในทุกหมวดทั้งสินค้าภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมนอกจากนี้กรมส่งเสริมการส่งออกยังมีทิศทางในการพัฒนาในระบบการบริหารจัดการลูกค้า ( ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ )
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: