ยุคปัจจุบัน ( ค.ศ. 1900 )  จังหวะวอลซ์จากกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ การแปล - ยุคปัจจุบัน ( ค.ศ. 1900 )  จังหวะวอลซ์จากกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ ไทย วิธีการพูด

ยุคปัจจุบัน ( ค.ศ. 1900 ) จังหวะวอ

ยุคปัจจุบัน ( ค.ศ. 1900 )

จังหวะวอลซ์จากกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งเกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 17 แต่มิได้ เผยแพร่ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1816 จังหวะวอลซ์ ได้ถูกนำมาเผยแพร่ต่อที่ประชุมโดยพระเจ้ายอร์ชที่ 4 แม้จะไม่สมบูรณ์นักในขณะนั้น แต่ก็จัดว่าจังหวะวอลซ์เป็นจังหวะแรกของการลีลาศแท้จริง เพราะคู่ลีลาศสามารถจับคู่เต้นรำได้
ในราวปี ค.ศ. 1840 การเต้นรำบางอย่างกลับมาเป็นที่นิยมอีก อาทิ โพลก้า จากโบฮิเมีย ซึ่งเป็นที่นิยมมากในเวียนนา ปารีส และลอนดอน จังหวะมาเซอก้า( Mazuka) จากโปแลนด์ก็เป็นที่นิยมมากในยุโรปตะวันตก
ในราวกลางศตวรรที่ 19 การเต้นรำใหม่ๆก็เกิดขึ้นอีกมาก อาทิ การเต้นมิลิตารี่ สก๊อตติช (Millitary Schottische) การเต้นเค็กวอล์ค (Cakewalk) ซึ่งเป็นการเต้นรำแบบหนึ่งของพวกนิโกรในอเมริกา การเต้นทูสเตป (Two-Step) การเต้นบอสตัน (Boston) และการเต้นเตอรกีทรอท (Turkey trot)
ในศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1910 จังหวะแทงโก้จากอาร์เจนตินา เริ่มเผยแพร่ที่ปารีส เป็นจังหวะที่แปลกและเต้นสวยงามมากในระหว่างปี ค.ศ. 1912-1914 Vemon และ lrene Castle ได้นำรูปแบบการเต้นรำแบบใหม่ๆ จากอังกฤษมาเผยแพร่ในอเมริกาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้แก่จังหวะฟอกซ์ทรอทและแทงโก้

ปี ค.ศ. 2461 สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษได้เลือกเฟ้นจังหวะเต้นรำทั้งบอลล์รูมและลาตินอเมริกาเรียบเรียงขึ้นเป็นตำรา วางหลักสูตรของแต่ละจังหวะรัดกุม ในสมัยนี้ประเภทบอลรูม มีเพียง 4 จังหวะคือ วอลซ์ ควิกวอลซ์ สโลว์ฟอกซ์ทรอทและแทงโก้
ปี ค.ศ. 1920 ในอเมริกาเริ่มนิยมจังหวะ Paso-Doble และการเต้นรำแบบก้าวเดียวสลับกัน (One-step) ซึ่งเรียกกันว่า Fast fox-trot
ปี ค.ศ. 1925 จังหวะชาร์ลตัน ( Charleston) เริ่มเป็นที่นิยม รูปแบบการเต้นคล้ายทูสเตป และในปีเดียวกันนี้ Arthur Murray ก็ได้ให้กำเนิดการเต้นรำแบบสมัยใหม่ (Modem Dances) ขึ้น การเต้นรำแบบสมัยใหม่นี้เป็นการเต้นรำที่แสดงออกถึงจินตนาการของแต่ละบุคคล ไม่มีท่าเต้นที่แน่นอนตายตัว บางครั้งก็นำท่าบัลเล่ย์มาผสมผสานด้วย
ปี ค.ศ. 1929 จังหวะจิตเตอร์บัก ( Jittebug) เริ่มเป็นที่นิยม รูปแบบการเต้นต้องอาศัยยิมนาสติก การเบรก และการก้าวเท้าย่ำเร็วๆ ในปีเดียวกันอิทธิพลจากเพลงแจ๊สของอเมริกา ทำให้เกิดจังหวะควิก สเตปขึ้น เป็นจังหวะที่ 5 ของบอลรูม
ปี ค.ศ. 1929 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการลีลาศ (Official Board of Ballroom Dancing ) ขึ้นในประเทศอังกฤษและจัดการแข่งขันเต้นรำในอังกฤษทุกปี
ปี ค.ศ. 1930 การเต้นรำของชาวคิวบา (Cuban Dance) ก็เป็นที่นิยมมากในอเมิกา คือจังหวะ คิวบันรัมบ้า หรือจังหวะรุมบ้า
ปี ค.ศ. 1939 บรรดาครูลีลาศและผู้ทรงคุณวุติทางลีลาศในอังกฤษได้ร่วมกันวางกฏเกณฑ์ของลวดลายต่างๆ ในลีลาศเพื่อให้เป็นมาตราฐานเดียวกัน ในแต่ละจังหวะมีประมาณ 20 ลวดลาย
ปี ค.ศ. 1940 การเต้นคองก้าและแซมบ้าจากบราซิลก็เป็นที่นิยมกันมาก
ปี ค.ศ. 1950 ได้จัดตั้งสภาการลีลาศระหว่างชาติ ( International Councll of Ballroom Dancing) โดยใช้ชื่อย่อว่า I.C.B.D. และในปีเดียวกันนี้มีจังหวะใหม่ๆ เข้ามาเผยแพร่อีก เช่น จังหวะแมมโบ้จาก คิวบา ชา ชา ช่า จากโดมินิกัน และเมอเรงเก้จากโดมินิกันเช่นกัน
ปี ค.ศ. 1959 จัดแข่งขันลีลาศชิงแชมป์เปี้ยนโลกขึ้นที่ประเทศอังกฤษ โดยจัดทั้งประเภทสมัครเล่นและอาชีพ ตามกฏเกณฑ์ที่สภาการลีลาศระหว่างชาติกำหนด นอกจากนี้สภาการลีลาศระหว่างชาติได้กำหนดจังหวะมาตรฐานไว้ 4 จังหวะ คือ วอลซ์ ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ และควิกสเตป ในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวะที่มีการจัดการแข่งขันมี วอลซ์แบบอังกฤษ ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ ควิก สเตป และเวนิสวอลซ์ นอกจากนี้อมริกาและอังกฤษได้แนะนำร็อคแอนด์โรคให้ชาวโลกได้รู้จัก
ปี ค.ศ. 1960 มีจังหวะใหม่ๆ เกิดขึ้นในอเมริกาโดยคนผิวดำคือ จังหวะทวิสต์ การเต้นจะใช้การบิดลำตัว เข่าโค้งงอ การเต้นจะไม่แตะต้องตัวกับคู่คือต่างคนต่างเต้น นอกจากนี้ยังมีจังหวะฮัสเซิล ( Hustle) และจังหวะบัสสาโนวา (Bossanova) ซึ่งดัดแปลงจากแซมบ้าของบราซิล
ปี ค.ศ. 1970 นิยมการเต้นรำที่เรียกว่า ดิสโก้ ( Disco) ซึ่งค่อนข้างเต้นแบบอิสระมาก
อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันนี้มีการเต้นรำใหม่ๆ เกิดขึ้นหลายแบบ เช่น แฟลชดาน (Flash Dances) เบรกดานซ์ (Brake Dances) ซึ่งมักจะเริ่มจากพวกนิโกรในอเมริกา และยังมีการเต้นรำโดยใช้ท่าบริหาร ร่างกายประกอบจังหวะดนตรีซึ่งเรียกว่า แอโรบิคดานซ์ (Aerobic Dances) ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมอยู่ในขณะนี้ การเต้นรำแบบต่างๆ เหล่านี้ไม่จัดเป็นการลีลาศ
นอกจากนี้ จังหวะเต้นรำก็เกิดขึ้นใหม่ๆ อีกหลายจังหวะเช่น สลูปปี้ เจอร์ค วาทูซี่ เชค อโกโก้ แมทโพเตโต้ บูการลู ซึ่งจัดเป็นการเต้นรำสมัยใหม่อยู่ ไม่จัดเป็นการลีลาศเช่นกัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ยุคปัจจุบัน (ค.ศ. 1900) จังหวะวอลซ์จากกรุงเวียนนาประเทศออสเตรียซึ่งเกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 17 แต่มิได้เผยแพร่จนกระทั่งในปีค.ศ. 1816 จังหวะวอลซ์ได้ถูกนำมาเผยแพร่ต่อที่ประชุมโดยพระเจ้ายอร์ชที่ 4 แม้จะไม่สมบูรณ์นักในขณะนั้นแต่ก็จัดว่าจังหวะวอลซ์เป็นจังหวะแรกของการลีลาศแท้จริงเพราะคู่ลีลาศสามารถจับคู่เต้นรำได้ในราวปีค.ศ. 1840 การเต้นรำบางอย่างกลับมาเป็นที่นิยมอีกอาทิโพลก้าจากโบฮิเมียซึ่งเป็นที่นิยมมากในเวียนนาปารีสและลอนดอนจังหวะมาเซอก้า (Mazuka) จากโปแลนด์ก็เป็นที่นิยมมากในยุโรปตะวันตกในราวกลางศตวรรที่ 19 การเต้นรำใหม่ๆก็เกิดขึ้นอีกมากอาทิการเต้นมิลิตารี่สก๊อตติช (Millitary Schottische) การเต้นเค็กวอล์ค (Cakewalk) ซึ่งเป็นการเต้นรำแบบหนึ่งของพวกนิโกรในอเมริกาการเต้นทูสเตป (สองขั้นตอน) การเต้นบอสตัน (บอสตัน) และการเต้นเตอรกีทรอท (trot ตุรกี) ในศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1910 จังหวะแทงโก้จากอาร์เจนตินาเริ่มเผยแพร่ที่ปารีสเป็นจังหวะที่แปลกและเต้นสวยงามมากในระหว่างปีค.ศ. ซาวน่า-1914 Vemon และ lrene ปราสาทได้นำรูปแบบการเต้นรำแบบใหม่ ๆ จากอังกฤษมาเผยแพร่ในอเมริกาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้แก่จังหวะฟอกซ์ทรอทและแทงโก้ปีค.ศ. 2461 สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษได้เลือกเฟ้นจังหวะเต้นรำทั้งบอลล์รูมและลาตินอเมริกาเรียบเรียงขึ้นเป็นตำราวางหลักสูตรของแต่ละจังหวะรัดกุมในสมัยนี้ประเภทบอลรูมมีเพียง 4 จังหวะคือวอลซ์ควิกวอลซ์สโลว์ฟอกซ์ทรอทและแทงโก้ ปีค.ศ 1920 ในอเมริกาเริ่มนิยมจังหวะพาโซ Doble และการเต้นรำแบบก้าวเดียวสลับกัน (ขั้นตอนเดียว) ซึ่งเรียกกันว่ารวดเร็วฟอกซ์-trotปีค.ศ. 1925 (ชาร์ลสตัน) จังหวะชาร์ลตันเริ่มเป็นที่นิยมรูปแบบการเต้นคล้ายทูสเตปและในปีเดียวกันนี้ Arthur Murray ก็ได้ให้กำเนิดการเต้นรำแบบสมัยใหม่ (โมเด็มเต้น) ขึ้นการเต้นรำแบบสมัยใหม่นี้เป็นการเต้นรำที่แสดงออกถึงจินตนาการของแต่ละบุคคลไม่มีท่าเต้นที่แน่นอนตายตัวบางครั้งก็นำท่าบัลเล่ย์มาผสมผสานด้วยปีค.ศ. 1929 (Jittebug) จังหวะจิตเตอร์บักเริ่มเป็นที่นิยมรูปแบบการเต้นต้องอาศัยยิมนาสติกการเบรกและการก้าวเท้าย่ำเร็ว ๆ ในปีเดียวกันอิทธิพลจากเพลงแจ๊สของอเมริกาทำให้เกิดจังหวะควิกสเตปขึ้นเป็นจังหวะที่ 5 ของบอลรูมปีค.ศ. 1929 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการลีลาศ (ทางคณะเต้นบอลรูม) ขึ้นในประเทศอังกฤษและจัดการแข่งขันเต้นรำในอังกฤษทุกปีปีค.ศ. 1930 (คิวบาเต้นการเต้นรำของชาวคิวบาก็เป็นที่นิยมมากในอเมิกาคือจังหวะคิวบันรัมบ้าหรือจังหวะรุมบ้าปีค.ศ. 1939 บรรดาครูลีลาศและผู้ทรงคุณวุติทางลีลาศในอังกฤษได้ร่วมกันวางกฏเกณฑ์ของลวดลายต่าง ๆ ในลีลาศเพื่อให้เป็นมาตราฐานเดียวกันในแต่ละจังหวะมีประมาณ 20 ลวดลายปีค.ศ. 1940 การเต้นคองก้าและแซมบ้าจากบราซิลก็เป็นที่นิยมกันมากปี ค.ศ. 1950 ได้จัดตั้งสภาการลีลาศระหว่างชาติ ( International Councll of Ballroom Dancing) โดยใช้ชื่อย่อว่า I.C.B.D. และในปีเดียวกันนี้มีจังหวะใหม่ๆ เข้ามาเผยแพร่อีก เช่น จังหวะแมมโบ้จาก คิวบา ชา ชา ช่า จากโดมินิกัน และเมอเรงเก้จากโดมินิกันเช่นกันปี ค.ศ. 1959 จัดแข่งขันลีลาศชิงแชมป์เปี้ยนโลกขึ้นที่ประเทศอังกฤษ โดยจัดทั้งประเภทสมัครเล่นและอาชีพ ตามกฏเกณฑ์ที่สภาการลีลาศระหว่างชาติกำหนด นอกจากนี้สภาการลีลาศระหว่างชาติได้กำหนดจังหวะมาตรฐานไว้ 4 จังหวะ คือ วอลซ์ ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ และควิกสเตป ในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวะที่มีการจัดการแข่งขันมี วอลซ์แบบอังกฤษ ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ ควิก สเตป และเวนิสวอลซ์ นอกจากนี้อมริกาและอังกฤษได้แนะนำร็อคแอนด์โรคให้ชาวโลกได้รู้จัก
ปี ค.ศ. 1960 มีจังหวะใหม่ๆ เกิดขึ้นในอเมริกาโดยคนผิวดำคือ จังหวะทวิสต์ การเต้นจะใช้การบิดลำตัว เข่าโค้งงอ การเต้นจะไม่แตะต้องตัวกับคู่คือต่างคนต่างเต้น นอกจากนี้ยังมีจังหวะฮัสเซิล ( Hustle) และจังหวะบัสสาโนวา (Bossanova) ซึ่งดัดแปลงจากแซมบ้าของบราซิล
ปี ค.ศ. 1970 นิยมการเต้นรำที่เรียกว่า ดิสโก้ ( Disco) ซึ่งค่อนข้างเต้นแบบอิสระมาก
อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันนี้มีการเต้นรำใหม่ๆ เกิดขึ้นหลายแบบ เช่น แฟลชดาน (Flash Dances) เบรกดานซ์ (Brake Dances) ซึ่งมักจะเริ่มจากพวกนิโกรในอเมริกา และยังมีการเต้นรำโดยใช้ท่าบริหาร ร่างกายประกอบจังหวะดนตรีซึ่งเรียกว่า แอโรบิคดานซ์ (Aerobic Dances) ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมอยู่ในขณะนี้ การเต้นรำแบบต่างๆ เหล่านี้ไม่จัดเป็นการลีลาศ
นอกจากนี้ จังหวะเต้นรำก็เกิดขึ้นใหม่ๆ อีกหลายจังหวะเช่น สลูปปี้ เจอร์ค วาทูซี่ เชค อโกโก้ แมทโพเตโต้ บูการลู ซึ่งจัดเป็นการเต้นรำสมัยใหม่อยู่ ไม่จัดเป็นการลีลาศเช่นกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ยุคปัจจุบัน (ค.ศ. 1900) จังหวะวอลซ์จากกรุงเวียนนาประเทศออสเตรียซึ่งเกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 17 แต่มิได้เผยแพร่จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1816 จังหวะวอลซ์ 4 แม้จะไม่สมบูรณ์นักในขณะนั้น ค.ศ. 1840 อาทิโพลก้าจากโบฮิเมียซึ่งเป็นที่นิยมมากในเวียนนาปารีสและลอนดอนจังหวะมาเซอก้า (Mazuka) 19 การเต้นรำใหม่ ๆ ก็เกิดขึ้นอีกมากอาทิการเต้นมิลิตารี่สก๊อตติช (Millitary schottische) การเต้นเค็กวอล์ค (Cakewalk) การเต้นทูสเตป (ขั้นตอนที่สอง) การเต้นบอสตัน (Boston) และการเต้นเตอรกีทรอท (ตุรกีวิ่ง) ในศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1910 จังหวะแทงโก้จากอาร์เจนตินาเริ่มเผยแพร่ที่ปารีส ค.ศ. 1912-1914 vemon และ lrene Castle ได้นำรูปแบบการเต้นรำแบบใหม่ ๆ 1 จังหวะฟอก ได้แก่ ซ์ทรอทและแทงโก้ปีค.ศ. 2461 สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 วางหลักสูตรของแต่ละจังหวะรัดกุมในสมัยนี้ประเภทบอลรูมมีเพียง 4 คือวอจังหวะลซ์ควิกวอลซ์สโลว์ฟอกซ์ทรอทและแทงโก้ปีค.ศ. 1920 ในอเมริกาเริ่มนิยมจังหวะ Paso Doble-และการเต้นรำแบบก้าวเดียวสลับกัน (หนึ่งขั้นตอน) ซึ่งเรียกกันว่ารวดเร็วจิ้งจอกวิ่งปีค.ศ. 1925 จังหวะชาร์ลตัน (Charleston) เริ่มเป็นที่นิยมรูปแบบการเต้นคล้ายทูสเตปและในปีเดียวกันนี้อาร์เธอร์เมอเรย์ (โมเด็มเต้นรำ) ขึ้น ไม่มีท่าเต้นที่แน่นอนตายตัว ค.ศ. 1929 จังหวะจิตเตอร์บัก (Jittebug) เริ่มเป็นที่นิยมรูปแบบการเต้นต้องอาศัยยิมนาสติกการเบรกและการก้าวเท้าย่ำเร็ว ๆ ทำให้เกิดจังหวะควิกสเตปขึ้นเป็นจังหวะที่ 5 บอลรูของมปีค.ศ. 1929 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการลีลาศ (อย่างเป็นทางการของคณะเต้นรำบอลรูม) ค.ศ. 1930 การเต้นรำของชาวคิวบา (คิวบาเต้นรำ) เป็นที่ก็นิยมมากในอเมิกาคือจังหวะคิวบันรัมบ้าหรือจังหวะรุมบ้าปีค.ศ. 1939 ในแต่ละจังหวะมีประมาณ 20 ลวดลายปีค.ศ. 1940 ค.ศ. 1950 ได้จัดตั้งสภาการลีลาศระหว่างชาติ (นานาชาติ Councll เต้นรำบอลรูม) โดยใช้ชื่อย่อว่า ICBD และในปีเดียวกันนี้มีจังหวะใหม่ ๆ เข้ามาเผยแพร่อีกเช่นจังหวะแมมโบ้จากคิวบาชาชาช่าจากโดมินิกันและเมอเรง จากเนชั่โดมินิกันเก้เช่นกันปี ค.ศ. 1959 โดยจัดทั้งประเภทสมัครเล่นและอาชีพ 4 จังหวะคือวอลซ์ฟอกซ์ทรอทแทงโก้และควิกสเตปในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวะที่มีการจัดการแข่งขันมีวอลซ์แบบอังกฤษฟอกซ์ทรอทแทงโก้ควิกสเตปและเวนิส วอลซ์ ค.ศ. 1960 มีจังหวะใหม่ ๆ เกิดขึ้นในอเมริกาโดยคนผิวดำคือจังหวะทวิสต์การเต้นจะใช้การบิดลำตัวเข่าโค้งงอ นอกจากนี้ยังมีจังหวะฮัสเซิล (Hustle) และจังหวะบัสสาโนวา (บอสซาโนว่า) ดัดแปลงจากเนชั่ซึ่งแซมบ้าของบราซิลปีค.ศ. 1970 นิยมการเต้นรำที่เรียกว่าดิสโก้ (ดิสโก้) ในปัจจุบันนี้มีการเต้นรำใหม่ ๆ เกิดขึ้นหลายแบบเช่นแฟลชดาน (Flash เต้นรำ) เบรกดานซ์ (เบรกเต้นรำ) และยังมีการเต้นรำโดยใช้ท่าบริหาร แอโรบิคดานซ์ (แอโรบิกเต้นรำ) ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมอยู่ในขณะนี้การเต้นรำแบบต่างๆ จังหวะเต้นรำก็เกิดขึ้นใหม่ ๆ อีกหลายจังหวะเช่นสลูปปี้เจอร์ควาทูซี่เชคอโกโก้แมทโพเตโต้บูการลูซึ่งจัดเป็นการเต้นรำสมัยใหม่อยู่ไม่จัดเป็นการลีลาศเช่นกัน



















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: