มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถPage การแปล - มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถPage ไทย วิธีการพูด

มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระน

มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
Page issues
มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นมูลนิธิที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงก่อตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ยากไร้ในชนบท โดยการส่งเสริมอาชีพอื่น เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยมีการดำเนินงานนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาจวบจนปัจจุบัน
ประวัติ แก้ไข

พระราชดำริในการก่อตั้งมูลนิธืส่งเสริมศิลปาชีพฯ นั้น มีมาตั้งแต่เมื่อครั้งตามเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมเยียนราษฎรในชนบท เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงเห็นชาวบ้านนุ่งซิ่นไหมมัดหมี่กันเป็นส่วนใหญ่ จึงทรงเล็งเห็นว่าชาวบ้านมีฝีมือในงานหัตถกรรมอยู่แล้ว จึงมีพระราชดำริส่งเสริมอาชีพให้แก่ชาวบ้าน เพื่อได้มีรายได้ทดแทนกรณีที่ผลผลิตทางการเกษตรต้องเสียหาย ไม่ได้ผล อันเนื่องจากภัยธรรมชาติ

ในช่วงแรกสมเด็จพระบรมราชินีได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวบ้านทอผ้าไหมมัดหมี่ แล้วทรงรับซื้อเอาไว้ เป็นการสนับสนุน ฟื้นฟู และพัฒนาฝีมือการทอในเบื้องต้น

เมื่อดำเนินการส่งเสริมอาชีพไประยะหนึ่ง ก็ได้มีการจัดตั้งเป็นมูลนิธิขึ้น และได้ พระราชทานชื่อมูลนิธิว่า "มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรมราชินูปถัมภ์" ผู้ถวายนามคือ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก โดย ม.ร.ว.ทองน้อย ทองใหญ่ รองราชเลขาธิการ ได้คิดชื่อภาษาอังกฤษถวายว่า "The Foundation For the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques under the Royal Patronage of Her Majesty the Queen" มีชื่อย่อว่า SUPPORT และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงรับเป็นประธานกรรมการบริหารของมูลนิธิ โดยมีสำนักงานของมูลนิธิที่สวนจิตรลดา กรุงเทพมหานคร สมเด็จพระบรมราชินีนาถได้พระราชทานทุนเริ่มแรกจำนวนหนึ่งล้านบาทถ้วน

ต่อมาใน พ.ศ. 2531 คณะกรรมการบริหารของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ พิจารณาเห็นว่า สมาชิกของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ยึดศิลปาชีพเป็นอาชีพหลักกันมากมิได้ทำเป็นอาชีพเสริม และองค์ประธานมูลนิธิก็ทรงบริหารกิจการด้วยพระองค์เอง มิได้เป็นเพียงการพระราชทานพระบรมราชินูปถัมภ์ จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อของมูลนิธิจาก "มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรมราชินูปถัมภ์" เป็น มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ชื่อภาษาอังกฤษว่า The Foundation of the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques of Her Majesty Queen Sirikit of Thailand ชื่อย่อว่า SUPPORT เช่นเดิม

ปัจจุบันมูลนิธิมีศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพกระจายอยู่ทั่วทุกภาค และมีโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในหลายจังหวัดทั่วประเทศ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถออกหน้ามูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถเป็นมูลนิธิที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถทรงก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคมพ.ศ. ๒๕๑๙ เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ยากไร้ในชนบทโดยการส่งเสริมอาชีพอื่นเพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้นโดยมีการดำเนินงานนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาจวบจนปัจจุบัน ประวัติสิทธิการได้พระราชดำริในการก่อตั้งมูลนิธืส่งเสริมศิลปาชีพฯ นั้นมีมาตั้งแต่เมื่อครั้งตามเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมเยียนราษฎรในชนบทเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 ธันวาคมพ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทรงเห็นชาวบ้านนุ่งซิ่นไหมมัดหมี่กันเป็นส่วนใหญ่จึงทรงเล็งเห็นว่าชาวบ้านมีฝีมือในงานหัตถกรรมอยู่แล้วจึงมีพระราชดำริส่งเสริมอาชีพให้แก่ชาวบ้านเพื่อได้มีรายได้ทดแทนกรณีที่ผลผลิตทางการเกษตรต้องเสียหายไม่ได้ผลอันเนื่องจากภัยธรรมชาติในช่วงแรกสมเด็จพระบรมราชินีได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวบ้านทอผ้าไหมมัดหมี่แล้วทรงรับซื้อเอาไว้เป็นการสนับสนุนฟื้นฟูและพัฒนาฝีมือการทอในเบื้องต้นเมื่อดำเนินการส่งเสริมอาชีพไประยะหนึ่ง ก็ได้มีการจัดตั้งเป็นมูลนิธิขึ้น และได้ พระราชทานชื่อมูลนิธิว่า "มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรมราชินูปถัมภ์" ผู้ถวายนามคือ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก โดย ม.ร.ว.ทองน้อย ทองใหญ่ รองราชเลขาธิการ ได้คิดชื่อภาษาอังกฤษถวายว่า "The Foundation For the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques under the Royal Patronage of Her Majesty the Queen" มีชื่อย่อว่า SUPPORT และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงรับเป็นประธานกรรมการบริหารของมูลนิธิ โดยมีสำนักงานของมูลนิธิที่สวนจิตรลดา กรุงเทพมหานคร สมเด็จพระบรมราชินีนาถได้พระราชทานทุนเริ่มแรกจำนวนหนึ่งล้านบาทถ้วนต่อมาใน พ.ศ. 2531 คณะกรรมการบริหารของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ พิจารณาเห็นว่า สมาชิกของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ยึดศิลปาชีพเป็นอาชีพหลักกันมากมิได้ทำเป็นอาชีพเสริม และองค์ประธานมูลนิธิก็ทรงบริหารกิจการด้วยพระองค์เอง มิได้เป็นเพียงการพระราชทานพระบรมราชินูปถัมภ์ จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อของมูลนิธิจาก "มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรมราชินูปถัมภ์" เป็น มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ชื่อภาษาอังกฤษว่า The Foundation of the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques of Her Majesty Queen Sirikit of Thailand ชื่อย่อว่า SUPPORT เช่นเดิมปัจจุบันมูลนิธิมีศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพกระจายอยู่ทั่วทุกภาค และมีโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในหลายจังหวัดทั่วประเทศ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พระบรมราชินีนาถหน้า พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชินีนาถทรงก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 โดยการส่งเสริมอาชีพอื่นเพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น นั้น เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่ได้ผล ให้ชาวบ้านทอผ้าไหมมัดหมี่แล้วทรงรับซื้อเอาไว้เป็นการสนับสนุนฟื้นฟู ก็ได้มีการจัดตั้งเป็นมูลนิธิขึ้นและได้พระราชทานชื่อมูลนิธิว่า ผู้ถวายนามคือสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายกโดยม. ร. ว. ทองน้อยทองใหญ่รองราชเลขาธิการได้คิดชื่อภาษาอังกฤษถวายว่า "มูลนิธิส่งเสริมศิและเทคนิคที่เกี่ยวข้องในพระบรมราชูปถัมภ์ ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี "มีชื่อย่อสนับสนุนว่าและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2531 พิจารณาเห็นว่าสมาชิกของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ เป็น พระบรมราชินีนาถชื่อภาษาอังกฤษว่ามูลนิธิส่งเสริมศิและเทคนิคที่เกี่ยวข้องของสมเด็จพระราชินีแห่งประเทศไทยชื่อย่อว่าเธอสนับสนุน












การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ

หน้าปัญหามูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถเป็นมูลนิธิที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถทรงก่อตั้งขึ้น 21 เมื่อวันที่กรกฎาคมพ . ศ .พ.ศ. 2519 เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ยากไร้ในชนบทโดยการส่งเสริมอาชีพอื่นเพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้นโดยมีการดำเนินงานนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาจวบจนปัจจุบัน


ประวัติแก้ไขพระราชดำริในการก่อตั้งมูลนิธืส่งเสริมศิลปาชีพฯนั้นมีมาตั้งแต่เมื่อครั้งตามเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมเยียนราษฎรในชนบทเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 ธันวาคมพ . ศ .2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทรงเห็นชาวบ้านนุ่งซิ่นไหมมัดหมี่กันเป็นส่วนใหญ่จึงทรงเล็งเห็นว่าชาวบ้านมีฝีมือในงานหัตถกรรมอยู่แล้วจึงมีพระราชดำริส่งเสริมอาชีพให้แก่ชาวบ้านไม่ได้ผลอันเนื่องจากภัยธรรมชาติ

ในช่วงแรกสมเด็จพระบรมราชินีได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ชาวบ้านทอผ้าไหมมัดหมี่แล้วทรงรับซื้อเอาไว้เป็นการสนับสนุนฟื้นฟูและพัฒนาฝีมือการทอในเบื้องต้น

เมื่อดำเนินการส่งเสริมอาชีพไประยะหนึ่งก็ได้มีการจัดตั้งเป็นมูลนิธิขึ้นและได้พระราชทานชื่อมูลนิธิว่า " มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรมราชินูปถัมภ์ " ผู้ถวายนามคือสมเด็จพระญาณสังวรโดยแอง .Flying ว .ทองน้อยทองใหญ่รองราชเลขาธิการได้คิดชื่อภาษาอังกฤษถวายว่า " มูลนิธิส่งเสริมอาชีพเสริม และที่เกี่ยวข้องกับเทคนิค ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระราชินี " มีชื่อย่อว่าสนับสนุนและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถโดยมีสำนักงานของมูลนิธิที่สวนจิตรลดากรุงเทพมหานครสมเด็จพระบรมราชินีนาถได้พระราชทานทุนเริ่มแรกจำนวนหนึ่งล้านบาทถ้วน

ต่อมาในพ . ศ .2531 คณะกรรมการบริหารของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯพิจารณาเห็นว่าสมาชิกของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพยึดศิลปาชีพเป็นอาชีพหลักกันมากมิได้ทำเป็นอาชีพเสริมและองค์ประธานมูลนิธิก็ทรงบริหารกิจการด้วยพระองค์เองจึงได้มีการเปลี่ยนชื่อของมูลนิธิจาก " มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษในพระบรมราชินูปถัมภ์ " เป็นมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถชื่อภาษาอังกฤษว่ารากฐานของการเสริมและที่เกี่ยวข้องกับเทคนิค ของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เช่นเดิม
ชื่อย่อว่าสนับสนุนไทย
ปัจจุบันมูลนิธิมีศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพกระจายอยู่ทั่วทุกภาคและมีโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในหลายจังหวัดทั่วประเทศ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: