Amazonเมื่อเจฟฟ์เปิดตัวเว็บไซต์ Amazon.com เมื่อเกือบสิบปีที่แล้ว Amaz การแปล - Amazonเมื่อเจฟฟ์เปิดตัวเว็บไซต์ Amazon.com เมื่อเกือบสิบปีที่แล้ว Amaz ไทย วิธีการพูด

Amazonเมื่อเจฟฟ์เปิดตัวเว็บไซต์ Ama

Amazon

เมื่อเจฟฟ์เปิดตัวเว็บไซต์ Amazon.com เมื่อเกือบสิบปีที่แล้ว Amazon.com ซึ่งเป็น Virtual Bookstore สามารถเสนอขายหนังสือในเว็บไซต์ได้มากมายมหาศาล ซึ่งมากเกินกว่าที่ร้านหนังสือจริงจะทำได้ ในช่วงนั้นชื่อเสียงและราคาหุ้นของ Amazon.com จึงพุ่งแรงอย่างฉุดไม่อยู่ แต่แล้วเมื่อธุรกิจดอทคอมพังพาบลงอย่างสิ้นท่า สิ่งที่เหลืออยู่ก็คือ เขาในฐานะหัวเรือใหญ่ของธุรกิจดอทคอมจะต้องดำเนินธุรกิจต่อไปให้อยู่รอดให้ได้

วันเวลาผ่านไป ธุรกิจของเขาสามารถขายสินค้าไม้จิ้มฟันยันเรือรบได้มากกว่า 20 ล้านรายการ และทำรายได้มากถึง 6 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ แม้จะยังไม่มีรายงานมาว่าเขาได้กำไรหรือยัง แต่คำพูดของเบโซส์ยังคงเป็นสิ่งที่น่าสนใจอยู่เสมอ ผมสรุปจากบทสัมภาษณ์ของเขาจากสื่อหลาย ๆ แห่ง และบวกเข้าไปกับแนวทางการซื้อขายออนไลน์มาเป็นข้อ ๆ เผื่อว่าจะมีประโยชน์กับคุณผู้อ่านนะครับ

1. เรารู้ว่าอะไรที่อินเทอร์เน็ตทำได้ อะไรที่คู่แข่งทำไม่ได้

Amazon.com ยังคงใช้ความได้เปรียบในธรรมชาติของสื่อออนไลน์ในการเสนอขายสินค้าจำนวนมหาศาล (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือ) และหาทางสร้างโอกาสในการแข่งขันกับร้านหนังสือทั่วไป ด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ได้ใช้ feature “Search Inside” เหมือนกับการพลิกดูหนังสือได้ในร้านจริง (ซึ่งเจฟฟ์อ้างว่าทำให้ยอดขายเพิ่มขึ้นถึง 9 เปอร์เซ็นต์ของหนังสือทั้งหมด) ทั้งยังพยายามดึงระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์มาใช้ โดยให้ระบบจดจำลูกค้าเป็นรายบุคคล ว่าลูกค้ามีพฤติกรรมเลือกซื้อหนังสือแบบไหน แล้วจ้างทีมงานจัดทำบทแนะนำหนังสือขึ้นมา พร้อมกับเสนอหนังสือราคาพิเศษในหมวดเดียวกันเข้าไป

เจฟฟ์เผยว่าเขาพยายามกระตุ้นเร้าความต้องการส่วนลึกของลูกค้า เช่น เขาทำวิจัยพบว่าลูกค้าที่ค้นหาหนังสือเกี่ยวกับลัทธิเซ็น จะเป็นกลุ่มที่ชอบความเรียบง่าย และชอบที่จะจัดระเบียบชีวิต เลยไปถึงทำอย่างไรให้การใช้ชีวิตในที่ทำงานเป็นสิ่งเรียบง่าย ด้วยการจัดโต๊ะที่ทำงานให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เจฟฟ์ได้หยอดเอาคำว่า “จัดโต๊ะทำงานให้เรียบร้อย” เข้าไปในคำค้นหาหนังสือ ปรากฏว่ามีลูกค้าคลิกเข้าไปอ่านและตัดสินใจซื้อ

นอกจากนี้เขายังให้เหตุผลทางการตลาดเพิ่มเติมอีกด้วยว่า ในโลกออฟไลน์เราจะต้องเสียค่าทำการตลาดมหาศาลสำหรับสินค้าที่ “เชื่อว่าจะขายได้” และ “คุ้มที่จะขาย” เราคงไม่ทุ่มงบการตลาดลงไปกับสินค้าที่ทำออกมาแล้วมีคนซื้อกลุ่มเล็ก ๆ หรือสินค้าที่มีตลาดเฉพาะ เพราะอาจเป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มค่า แต่ใน Amazon.com เจฟฟ์เผยว่า เขาสามารถขายสินค้าเหล่านี้ได้

1. หนังสือหายาก
2. หนังสือที่ไม่มีชื่อเสียงมากนัก
3. หนังสือที่ไม่ได้เป็นหนังสือติดอันดับขายดี
4. หนังสือที่มีชื่อเสียงในกลุ่มเฉพาะ

การขายหนังสือเหล่านี้ด้วยต้นทุนทางการตลาดที่ต่ำ ทั้งยังเป็นสิ่งที่บรรณาธิการหนังสือ และเจ้าของร้านหนังสือทั่วไปไม่สามารถทำได้ดี (เว้นเสียแต่จะอ่านหนังสือของตัวเองอย่างละเอียดทุกเล่ม) แต่อินเทอร์เน็ตสามารถทำได้ และที่แน่ ๆ มันเวิร์ค ซึ่งจะว่าไปแล้ว ลองยกตัวอย่างเล่น ๆ ว่าถ้าหากค่ายเพลงในบ้านเราอย่างแกรมมี่ อาร์เอสจะลองทำเว็บไซต์ขายสินค้าแบบ Back Catalog ดูบ้าง เพราะตัวเองก็มีสินค้าเก่าหายากอยู่มากมาย ก็ไม่น่าจะยากจนเกินไป

2. พลังของ Community ยังคงสำคัญ และต้องทำต่อไป

เจฟฟ์เคยให้สัมภาษณ์ว่าเขาให้ความสำคัญกับพลังชุมชนของลูกค้า โดยการเปิดเวทีให้ลูกค้าได้แสดงความคิดเห็นในตัวสินค้ามาโดยตลอด อย่างที่เคยทำกับฟีเจอร์ “List Mania” ที่จะมีลูกค้าซึ่งระบุว่าตัวเองมีทักษะพิเศษในด้านนั้น ๆ มาวิพากษ์วิจารณ์ว่าหนังสือเล่มนี้ดี และไม่ดีอย่างไร ทำไมถึงชอบ ทั้งยังเปิดให้ลูกค้าโหวตด้วยว่าความคิดเห็นของคนที่มาวิพากษ์วิจารณ์สินค้านั้นเป็นการเชียร์สินค้าออกอาการ “โอเวอร์” เกินไปหรือเปล่า

ทั้งยังจับกลุ่มผู้นิยมสินค้ามือสอง ในลักษณะ C2C อันเป็นลักษณะพิเศษของสินค้าออนไลน์ และตอกย้ำความสำเร็จของ feature ดั้งเดิมอย่าง“Wish List” ที่ทำหน้าที่เป็นตัวคอยเตือนให้ลูกค้าจำได้ว่าเคยอยากได้หนังสือเล่มนี้ โดยเพิ่มคุณลักษณะของ Wish List เพิ่มไปอีกว่าจะแชร์ให้คนอื่นที่เป็นเพื่อน หรือญาติพี่น้องของคุณทราบหรือไม่ว่าคุณมี Wish List แบบนี้ แน่นอนว่าบรรดาญาติ ๆ คุณคงไม่ใจจืดใจดำลืมไปว่าคุณอยากได้อะไรในช่วงเทศกาล นี่แหละเป็นวิธีเพิ่มยอดขายในแต่ละช่วงเทศกาลได้เป็นอย่างดี

จะว่าไปแล้วเจฟฟ์ไม่ได้ทำเพียงสร้าง Community ขึ้นมา แต่เจฟฟ์กำลังเล่นอยู่กับพลังของเครือญาติ อันเป็น Community ที่เป็นสถาบันของสังคม และยังสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัทในการสร้างเสริมความสัมพันธ์ของสถาบันครอบครัวอีกด้วย

3. คนมักจะสับสนและลังเลว่าสินค้าที่ไม่ดังจะมีคุณภาพต่ำ

เจฟฟ์ให้สัมภาษณ์ในนิตยสาร WIRED ฉบับเดือนมกราคม ปี 2548 ว่า “People confuse obscurity with bad service” ซึ่งพอจับใจความในประโยคทั้งหมดได้ว่า คนทั่วไปมักจะสับสนและลังเลว่าสินค้าที่ไม่ดังจะมีคุณภาพต่ำ และอาจกระทบการตัดสินใจซื้อสินค้า ซึ่งตรงนี้ยังรวมไปถึงสินค้าที่ obscure หรือดูคลุมเครือ เช่น ตั้งชื่อหนังสือไม่ชัดเจน ก็จะทำให้หนังสือดูมีมูลค่าลดลงไป ในโลกอินเทอร์เน็ต เจฟฟ์เผยว่าเขามี feature อยู่หลายตัวที่ทำให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นในตัวสินค้ามากยิ่งขึ้น คล้ายกับที่หลายคนเคยใช้บริการในเว็บไซต์วิพากษ์วิจารณ์สินค้าอย่าง Epinions.com

อาจจะดูเป็นเรื่องปกติทั่วไปที่สินค้าที่ไม่ดัง และดูจะมีความคลุมเครือ หรือไม่แน่ใจว่าจะใช้ประโยชน์ได้คุ้มค่าหรือเปล่า ที่ผู้ซื้อจะไม่แน่ใจ จะต้องมีการอธิบายคุณประโยชน์ของสินค้า หรือเลยไปถึงการโฆษณาชวนเชื่อ ซึ่งตรงจุดนี้เราจะเห็นได้ว่าการขายสินค้าใดๆ ในโลกแห่งความเป็นจริง ปัจจัยสำคัญอันหนึ่งอยู่ที่พนักงานขาย แต่ในโลกออนไลน์ปัจจัยสำคัญอยู่ที
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อเมซอนเมื่อเจฟฟ์เปิดตัวเว็บไซต์ Amazon.com เมื่อเกือบสิบปีที่แล้ว Amazon.com ซึ่งเป็นเสมือนหนังสือสามารถเสนอขายหนังสือในเว็บไซต์ได้มากมายมหาศาลซึ่งมากเกินกว่าที่ร้านหนังสือจริงจะทำได้ในช่วงนั้นชื่อเสียงและราคาหุ้นของ Amazon.com จึงพุ่งแรงอย่างฉุดไม่อยู่แต่แล้วเมื่อธุรกิจดอทคอมพังพาบลงอย่างสิ้นท่าสิ่งที่เหลืออยู่ก็คือเขาในฐานะหัวเรือใหญ่ของธุรกิจดอทคอมจะต้องดำเนินธุรกิจต่อไปให้อยู่รอดให้ได้ วันเวลาผ่านไปธุรกิจของเขาสามารถขายสินค้าไม้จิ้มฟันยันเรือรบได้มากกว่า 20 ล้านรายการและทำรายได้มากถึง 6 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ แม้จะยังไม่มีรายงานมาว่าเขาได้กำไรหรือยังแต่คำพูดของเบโซส์ยังคงเป็นสิ่งที่น่าสนใจอยู่เสมอผมสรุปจากบทสัมภาษณ์ของเขาจากสื่อหลายๆ แห่งและบวกเข้าไปกับแนวทางการซื้อขายออนไลน์มาเป็นข้อๆ เผื่อว่าจะมีประโยชน์กับคุณผู้อ่านนะครับ 1. เรารู้ว่าอะไรที่อินเทอร์เน็ตทำได้อะไรที่คู่แข่งทำไม่ได้ Amazon.com ยังคงใช้ความได้เปรียบในธรรมชาติของสื่อออนไลน์ในการเสนอขายสินค้าจำนวนมหาศาล (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือ) และหาทางสร้างโอกาสในการแข่งขันกับร้านหนังสือทั่วไป ด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ได้ใช้ feature “Search Inside” เหมือนกับการพลิกดูหนังสือได้ในร้านจริง (ซึ่งเจฟฟ์อ้างว่าทำให้ยอดขายเพิ่มขึ้นถึง 9 เปอร์เซ็นต์ของหนังสือทั้งหมด) ทั้งยังพยายามดึงระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์มาใช้ โดยให้ระบบจดจำลูกค้าเป็นรายบุคคล ว่าลูกค้ามีพฤติกรรมเลือกซื้อหนังสือแบบไหน แล้วจ้างทีมงานจัดทำบทแนะนำหนังสือขึ้นมา พร้อมกับเสนอหนังสือราคาพิเศษในหมวดเดียวกันเข้าไป เจฟฟ์เผยว่าเขาพยายามกระตุ้นเร้าความต้องการส่วนลึกของลูกค้าเช่นเขาทำวิจัยพบว่าลูกค้าที่ค้นหาหนังสือเกี่ยวกับลัทธิเซ็นจะเป็นกลุ่มที่ชอบความเรียบง่ายและชอบที่จะจัดระเบียบชีวิตเลยไปถึงทำอย่างไรให้การใช้ชีวิตในที่ทำงานเป็นสิ่งเรียบง่ายด้วยการจัดโต๊ะที่ทำงานให้เป็นระเบียบเรียบร้อยเจฟฟ์ได้หยอดเอาคำว่า "จัดโต๊ะทำงานให้เรียบร้อย" เข้าไปในคำค้นหาหนังสือปรากฏว่ามีลูกค้าคลิกเข้าไปอ่านและตัดสินใจซื้อ นอกจากนี้เขายังให้เหตุผลทางการตลาดเพิ่มเติมอีกด้วยว่า ในโลกออฟไลน์เราจะต้องเสียค่าทำการตลาดมหาศาลสำหรับสินค้าที่ “เชื่อว่าจะขายได้” และ “คุ้มที่จะขาย” เราคงไม่ทุ่มงบการตลาดลงไปกับสินค้าที่ทำออกมาแล้วมีคนซื้อกลุ่มเล็ก ๆ หรือสินค้าที่มีตลาดเฉพาะ เพราะอาจเป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มค่า แต่ใน Amazon.com เจฟฟ์เผยว่า เขาสามารถขายสินค้าเหล่านี้ได้ 1. หนังสือหายาก 2. หนังสือที่ไม่มีชื่อเสียงมากนัก 3. หนังสือที่ไม่ได้เป็นหนังสือติดอันดับขายดี 4. หนังสือที่มีชื่อเสียงในกลุ่มเฉพาะ การขายหนังสือเหล่านี้ด้วยต้นทุนทางการตลาดที่ต่ำ ทั้งยังเป็นสิ่งที่บรรณาธิการหนังสือ และเจ้าของร้านหนังสือทั่วไปไม่สามารถทำได้ดี (เว้นเสียแต่จะอ่านหนังสือของตัวเองอย่างละเอียดทุกเล่ม) แต่อินเทอร์เน็ตสามารถทำได้ และที่แน่ ๆ มันเวิร์ค ซึ่งจะว่าไปแล้ว ลองยกตัวอย่างเล่น ๆ ว่าถ้าหากค่ายเพลงในบ้านเราอย่างแกรมมี่ อาร์เอสจะลองทำเว็บไซต์ขายสินค้าแบบ Back Catalog ดูบ้าง เพราะตัวเองก็มีสินค้าเก่าหายากอยู่มากมาย ก็ไม่น่าจะยากจนเกินไป 2. พลังของ Community ยังคงสำคัญ และต้องทำต่อไป เจฟฟ์เคยให้สัมภาษณ์ว่าเขาให้ความสำคัญกับพลังชุมชนของลูกค้าโดยการเปิดเวทีให้ลูกค้าได้แสดงความคิดเห็นในตัวสินค้ามาโดยตลอดอย่างที่เคยทำกับฟีเจอร์ "รายการ Mania" ที่จะมีลูกค้าซึ่งระบุว่าตัวเองมีทักษะพิเศษในด้านนั้นๆ มาวิพากษ์วิจารณ์ว่าหนังสือเล่มนี้ดีและไม่ดีอย่างไรทำไมถึงชอบทั้งยังเปิดให้ลูกค้าโหวตด้วยว่าความคิดเห็นของคนที่มาวิพากษ์วิจารณ์สินค้านั้นเป็นการเชียร์สินค้าออกอาการ "โอเวอร์" เกินไปหรือเปล่า ทั้งยังจับกลุ่มผู้นิยมสินค้ามือสอง ในลักษณะ C2C อันเป็นลักษณะพิเศษของสินค้าออนไลน์ และตอกย้ำความสำเร็จของ feature ดั้งเดิมอย่าง“Wish List” ที่ทำหน้าที่เป็นตัวคอยเตือนให้ลูกค้าจำได้ว่าเคยอยากได้หนังสือเล่มนี้ โดยเพิ่มคุณลักษณะของ Wish List เพิ่มไปอีกว่าจะแชร์ให้คนอื่นที่เป็นเพื่อน หรือญาติพี่น้องของคุณทราบหรือไม่ว่าคุณมี Wish List แบบนี้ แน่นอนว่าบรรดาญาติ ๆ คุณคงไม่ใจจืดใจดำลืมไปว่าคุณอยากได้อะไรในช่วงเทศกาล นี่แหละเป็นวิธีเพิ่มยอดขายในแต่ละช่วงเทศกาลได้เป็นอย่างดี จะว่าไปแล้วเจฟฟ์ไม่ได้ทำเพียงสร้าง Community ขึ้นมา แต่เจฟฟ์กำลังเล่นอยู่กับพลังของเครือญาติ อันเป็น Community ที่เป็นสถาบันของสังคม และยังสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัทในการสร้างเสริมความสัมพันธ์ของสถาบันครอบครัวอีกด้วย
3. คนมักจะสับสนและลังเลว่าสินค้าที่ไม่ดังจะมีคุณภาพต่ำ

เจฟฟ์ให้สัมภาษณ์ในนิตยสาร WIRED ฉบับเดือนมกราคม ปี 2548 ว่า “People confuse obscurity with bad service” ซึ่งพอจับใจความในประโยคทั้งหมดได้ว่า คนทั่วไปมักจะสับสนและลังเลว่าสินค้าที่ไม่ดังจะมีคุณภาพต่ำ และอาจกระทบการตัดสินใจซื้อสินค้า ซึ่งตรงนี้ยังรวมไปถึงสินค้าที่ obscure หรือดูคลุมเครือ เช่น ตั้งชื่อหนังสือไม่ชัดเจน ก็จะทำให้หนังสือดูมีมูลค่าลดลงไป ในโลกอินเทอร์เน็ต เจฟฟ์เผยว่าเขามี feature อยู่หลายตัวที่ทำให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นในตัวสินค้ามากยิ่งขึ้น คล้ายกับที่หลายคนเคยใช้บริการในเว็บไซต์วิพากษ์วิจารณ์สินค้าอย่าง Epinions.com

อาจจะดูเป็นเรื่องปกติทั่วไปที่สินค้าที่ไม่ดัง และดูจะมีความคลุมเครือ หรือไม่แน่ใจว่าจะใช้ประโยชน์ได้คุ้มค่าหรือเปล่า ที่ผู้ซื้อจะไม่แน่ใจ จะต้องมีการอธิบายคุณประโยชน์ของสินค้า หรือเลยไปถึงการโฆษณาชวนเชื่อ ซึ่งตรงจุดนี้เราจะเห็นได้ว่าการขายสินค้าใดๆ ในโลกแห่งความเป็นจริง ปัจจัยสำคัญอันหนึ่งอยู่ที่พนักงานขาย แต่ในโลกออนไลน์ปัจจัยสำคัญอยู่ที
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: