• Does your facility require a certain method of monitoring (e.g. 6 se การแปล - • Does your facility require a certain method of monitoring (e.g. 6 se ไทย วิธีการพูด

• Does your facility require a cert

• Does your facility require a certain method of monitoring (e.g. 6 second count, 10 second count, use of rate of perceived exertion Chart, etc.)?


ในการออกกำลังกายทุกครั้ง ควรประเมินความเหมาะสม และความสามารถก่อน โดยเฉพาะผู้ที่มี โรคประจำตัว เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ ควรปรึกษาแพทย์ว่าควรออกกำลังกายประเภทใด และมากน้อยเพียงใด การเริ่มออกกำลังกายนั้น ควรเริ่มจากการศึกษาหลักการให้ถูกต้องก่อน แล้วค่อย ๆ เริ่ม ไม่ควรหักโหมมาก ในครั้งแรก ๆ เพื่อเป็นการปรับสภาพร่างกายก่อน การออกกำลังกายที่ดีนั้น ควรเป็นการออกกำลังกายที่ต่อเนื่อง ไม่ใช่หักโหมทำเป็นครั้งคราว ควรเริ่มจากการอุ่นร่างกาย (ประมาณ 5-10 นาที) ออกกำลังกาย (15-20 นาที) และจบด้วยการผ่อนคลาย (5-10 นาที) ทุกครั้ง ในการออกำลังกายทุกครั้งไม่ควรกลั้นหายใจ หรือสูดลมหายใจอย่างแรง ควรหายใจเข้าและออกยาว ๆ เพื่อช่วยระบบการหายใจของร่างกาย การออกกำลังกายที่เหมาะสมของผู้สูงอายุนั้นขึ้นอยู่กับสภาพของร่างกายของแต่ละคน

ประโยชน์ของการออกกำลังกาย

ในปัจจุบันวิทยาทางการแพทย์มีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น สามารถป้องกันและรักษาโรคต่าง ๆ ได้มากมาย ดังนั้นสาเหตุส่วนใหญ่ของการเสียชีวิต จะมาจากโรคที่ไม่ติดเชื้อ และจากพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา ยาเสพติด ฯลฯ ซึ่งโรคต่าง ๆ เหล่านี้เราสามารถป้องกันได้หรือทำให้ทุเลาลงได้ โดยการออกกำลังกาย ควบคุมอาหาร และมีพฤติกรรมในการดำรงชีวิตที่เหมาะสม
การป้องกันเสริมสร้างสุขภาพ เป็นวิธีการที่ได้ผล และประหยัดที่สุด สำหรับการมีสุขภาพที่ดี ดังนั้นการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพจึงมีประโยชน์ ดังนี้
1. ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน สมรรถภาพการทำงานของหัวใจจะดีขึ้นมาก ถ้าออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอติดต่อกัน 3 เดือน ชีพจรหรือหัวใจจะเต้นช้าลง ซึ่งจะเป็นการประหยัดการทำงานของหัวใจ
2. ลดไขมันในเลือด เพราะไขมันในเลือดสูงเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน
3. เพิ่ม High Density Lipoprotein Cholesterol (HDL-C) ในเลือด ซึ่งถ้ายิ่งสูงจะยิ่งดีจะช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน
4. ลดความอ้วน (ไขมัน) เพิ่มกล้ามเนื้อ (น้ำหนักอาจไม่ลด)
5. ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน
6. ช่วยลดความดันโลหิต (สำหรับผู้มีความดันโลหิตสูง) ลดได้ประมาณ 10-15 ม.ม. ปรอท
7. ช่วยทำให้หัวใจ ปอด ระบบหมุนเวียนของโลหิต กล้ามเนื้อ เอ็น เอ็นข้อต่อ กระดูกและผิวหนังแข็งแรงยิ่งขึ้น ช่วยลดความเครียด ทำให้นอนหลับดียิ่งขึ้น ความจำดี เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ชะลออายุ ช่วยป้องกันอาการปวดหลัง (เพราะกล้ามเนื้อหลังแข็งแรงขึ้น)
8. ป้องกันโรคกระดุกเปราะ โดยเฉพาะสุภาพสตรีวัยหมดประจำเดือน
9. ร่างกายเปลี่ยนไขมันมาเป็นพลังงานได้ดีกว่าเดิม ซึ่งเป็นการประหยัดการใช้แป้ง (glycogen) ซึ่งมีอยู่น้อย และเป็นการป้องกันโรคหัวใจ
10. ช่วยป้องกันโรคมะเร็งบางชนิด เชื่อ ลำไส้ใหญ่ เต้านม ต่อมลูกหมาก
11. ทำให้มีสุขภาพดี ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค

หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

การออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญ และเราควรทำโดยสม่ำเสมอไม่ว่าจะมีอายุเท่าใด การศึกษาวิจัยในระยะหลังบ่งชี้ว่า การออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งในชีวิตที่ต้องทำเพราะจะทำให้เกิดผลดีมากมาย เช่น ทำให้สุขภาพแข็งแรง สมรรถภาพของหัวใจและปอดดีขึ้น สุขภาพจิตดีขึ้นถึงที่สุด คือ ทำให้อายุยืนยาว โดยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ สำหรับท่านที่ออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอก็ขอให้ทำต่อไป แต่ถ้าไม่เคยออกกำลังกายเลย และอายุเกิน 35 ปีแล้ว ควรพบแพทย์เพื่อตรวจดูสุขภาพทั่วไปว่าไม่มีโรคที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการออกกำลังกาย หรือผู้ที่มีโรคประจำตัวอยู่แล้ว ควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวว่าควรจะออกกำลังกายโดยวิธีใด ที่ไม่มีผลเสียต่อร่างกาย
คำแนะนำว่าสมควรออกกำลังกายเพียงใด จึงจะไม่เกินกำลังของตัวเอง ขั้นแรก คือ เราควรจะจับชีพจรของตนเองในขณะออกกำลังกาย โดยคลำบริเวณข้อมือทางด้านหัวแม่มือ จับชีพจร
เป็นเวลา 30 วินาที นับจำนวนครั้งที่ชีพจรเต้นแล้วคูณด้วย 2 เป็นชีพจรเต้นต่อนาที หลักการของการออกกำลังกายที่ดี คือ ควรทำให้หัวใจเต้นเร็วใกล้เคียงกับชีพจรเต้นสูงสุด โดยชีพจรเต้นสูงสุดที่เหมาะสม สำหรับแต่ละช่วงอายุจะไม่เท่ากัน และมีสูตรคำนวณง่ายๆ ดังนี้
ชีพจรเต้นสูงสุดสำหรับแต่ละช่วงอายุ = (220-อายุ) x 75/100 เช่น ท่านที่อายุ 40 ปี ถอดสูตรคำนวณได้ว่า = (220-40) x 75/100 = 135 ครั้งต่อนาที การออกกำลังกายที่ดีสำหรับคนอายุ 40 ปี คือ ควรออกกำลังกายทำให้ได้สม่ำเสมอ โดยให้หัวใจเต้นเร็วใกล้เคียง135 ครั้ง/นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ๆ ละครึ่งชั่วโมง จะทำให้สุขภาพดี ปอด และหัวใจแข็งแรง
หลังจากเราได้ออกกำลังกายโดยสม่ำเสมอไประยะหนึ่ง เมื่อจับชีพจรของเราในขณะพักอยู่เฉยๆ จะพบว่าหัวใจเต้นช้าลง โดยบางคนอาจจะเต้นช้ากว่าปกติ คือ 60 ครั้ง/นาที แสดงว่าการเต้นแต่ละครั้ง หัวใจสามารถบีบตัวเอาเลือดออกไปเลี้ยงร่างกายได้มาก หากหัวใจเต้นเร็ว แสดงว่าร่างกายไม่แข็งแรง ผู้ที่เริ่มต้นออกกำลังกายควรทำแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่าหักโหมในระยะแรก จะทำให้เกิด
การบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อและข้อต่อได้ หลังจากทำติดต่อไป 2-4 สัปดาห์ จึงค่อยๆ เพิ่มเวลาขึ้นร่างกายจะปรับตัวได้ดีขึ้น ไม่เหนื่อยมากเกินไป นอนหลับได้ดี
การออกกำลังกายที่มีการวิจัยว่า 'ดี' มีประโยชน์ต่อหัวใจและปอดมาก คือ การออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic exercise) ซึ่งมี 3 ชนิด ดังนี้ วิ่ง Jogging การวิ่งเหยาะๆ ช้าๆ ไปเรื่อยๆ หรือเดินเร็วๆ ถีบจักรยาน ไม่ว่าจะถีบจักรยานจริงๆ หรือถีบจักรยานออกกำลังกายอยู่กับที่ และว่ายน้ำ

ตารางเปรียบเทียบการใช้พลังงานในการออกกำลังกายทั้งหลายกับนอนเฉยๆ

ประเภทการออกกำลังกาย พลังงานที่ใช้
นอนเฉยๆ
เดิน
ขี่จักรยาน
ว่ายน้ำ
วิ่ง
1.3 แคลอรี/นาที
5.2 แคลอรี/นาที
8.2 แคลอรี/นาที
11.2 แคลอรี/นาที
19.4 แคลอรี/นา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
•สิ่งอำนวยความสะดวกของคุณไม่จำเป็นต้องใช้วิธีตรวจสอบ (เช่นสองจำนวน 6, 10 จำนวน 2 ใช้อัตราที่ใช้ออกแรงรับรู้ภูมิ ฯลฯ) หรือไม่ ในการออกกำลังกายทุกครั้งควรประเมินความเหมาะสมและความสามารถก่อนโดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัวเช่นเบาหวานโรคหัวใจควรปรึกษาแพทย์ว่าควรออกกำลังกายประเภทใดและมากน้อยเพียงใดการเริ่มออกกำลังกายนั้นควรเริ่มจากการศึกษาหลักการให้ถูกต้องก่อนแล้วค่อยๆ เริ่มไม่ควรหักโหมมากในครั้งแรกๆ เพื่อเป็นการปรับสภาพร่างกายก่อนการออกกำลังกายที่ดีนั้นควรเป็นการออกกำลังกายที่ต่อเนื่องไม่ใช่หักโหมทำเป็นครั้งคราวควรเริ่มจากการอุ่นร่างกาย (ประมาณ 5-10 นาที) ออกกำลังกาย (15-20 นาที) และจบด้วยการผ่อนคลาย (5-10 นาที) ทุกครั้งในการออกำลังกายทุกครั้งไม่ควรกลั้นหายใจหรือสูดลมหายใจอย่างแรงควรหายใจเข้าและออกยาวๆ เพื่อช่วยระบบการหายใจของร่างกายการออกกำลังกายที่เหมาะสมของผู้สูงอายุนั้นขึ้นอยู่กับสภาพของร่างกายของแต่ละคน ประโยชน์ของการออกกำลังกาย ในปัจจุบันวิทยาทางการแพทย์มีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้นสามารถป้องกันและรักษาโรคต่างๆ ได้มากมายดังนั้นสาเหตุส่วนใหญ่ของการเสียชีวิตจะมาจากโรคที่ไม่ติดเชื้อและจากพฤติกรรมของมนุษย์เช่นการสูบบุหรี่การดื่มสุรายาเสพติดฯลฯ ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้เราสามารถป้องกันได้หรือทำให้ทุเลาลงได้โดยการออกกำลังกายควบคุมอาหารและมีพฤติกรรมในการดำรงชีวิตที่เหมาะสมการป้องกันเสริมสร้างสุขภาพเป็นวิธีการที่ได้ผลและประหยัดที่สุดสำหรับการมีสุขภาพที่ดีดังนั้นการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพจึงมีประโยชน์ดังนี้1. ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันสมรรถภาพการทำงานของหัวใจจะดีขึ้นมากถ้าออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอติดต่อกัน 3 เดือนชีพจรหรือหัวใจจะเต้นช้าลงซึ่งจะเป็นการประหยัดการทำงานของหัวใจ2. ลดไขมันในเลือดเพราะไขมันในเลือดสูงเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน 3. ไลโพโปรตีนความหนาแน่นสูงเพิ่มไขมัน (HDL-C) ในเลือดซึ่งถ้ายิ่งสูงจะยิ่งดีจะช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน 4. ลดความอ้วน (ไขมัน) เพิ่มกล้ามเนื้อ (น้ำหนักอาจไม่ลด) 5. ป้องกันและรักษาโรคเบาหวาน 6. ช่วยลดความดันโลหิต (สำหรับผู้มีความดันโลหิตสูง) ลดได้ประมาณ 10-15 ม.ม. ปรอท 7. ช่วยทำให้หัวใจปอดระบบหมุนเวียนของโลหิตกล้ามเนื้อเอ็นเอ็นข้อต่อกระดูกและผิวหนังแข็งแรงยิ่งขึ้นช่วยลดความเครียดทำให้นอนหลับดียิ่งขึ้นความจำดีเพิ่มสมรรถภาพทางเพศชะลออายุช่วยป้องกันอาการปวดหลัง (เพราะกล้ามเนื้อหลังแข็งแรงขึ้น) 8. ป้องกันโรคกระดุกเปราะโดยเฉพาะสุภาพสตรีวัยหมดประจำเดือน9. ร่างกายเปลี่ยนไขมันมาเป็นพลังงานได้ดีกว่าเดิมซึ่งเป็นการประหยัดการใช้แป้ง (ไกลโคเจน) ซึ่งมีอยู่น้อยและเป็นการป้องกันโรคหัวใจ 10. ช่วยป้องกันโรคมะเร็งบางชนิดเชื่อลำไส้ใหญ่เต้านมต่อมลูกหมาก 11. ทำให้มีสุขภาพดีประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญและเราควรทำโดยสม่ำเสมอไม่ว่าจะมีอายุเท่าใดการศึกษาวิจัยในระยะหลังบ่งชี้ว่าการออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งในชีวิตที่ต้องทำเพราะจะทำให้เกิดผลดีมากมายเช่นทำให้สุขภาพแข็งแรงสมรรถภาพของหัวใจและปอดดีขึ้นสุขภาพจิตดีขึ้นถึงที่สุดคือทำให้อายุยืนยาวโดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บสำหรับท่านที่ออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอก็ขอให้ทำต่อไปแต่ถ้าไม่เคยออกกำลังกายเลยและอายุเกิน 35 ปีแล้วควรพบแพทย์เพื่อตรวจดูสุขภาพทั่วไปว่าไม่มีโรคที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการออกกำลังกายหรือผู้ที่มีโรคประจำตัวอยู่แล้วควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวว่าควรจะออกกำลังกายโดยวิธีใดที่ไม่มีผลเสียต่อร่างกาย คำแนะนำว่าสมควรออกกำลังกายเพียงใดจึงจะไม่เกินกำลังของตัวเองขั้นแรกคือเราควรจะจับชีพจรของตนเองในขณะออกกำลังกายโดยคลำบริเวณข้อมือทางด้านหัวแม่มือจับชีพจรเป็นเวลา 30 วินาทีนับจำนวนครั้งที่ชีพจรเต้นแล้วคูณด้วย 2 เป็นชีพจรเต้นต่อนาทีหลักการของการออกกำลังกายที่ดีคือควรทำให้หัวใจเต้นเร็วใกล้เคียงกับชีพจรเต้นสูงสุดโดยชีพจรเต้นสูงสุดที่เหมาะสมสำหรับแต่ละช่วงอายุจะไม่เท่ากันและมีสูตรคำนวณง่าย ๆ ดังนี้ ชีพจรเต้นสูงสุดสำหรับแต่ละช่วงอายุ = (220-อายุ) x 75/100 เช่นท่านที่อายุ 40 ปีถอดสูตรคำนวณได้ว่า = (220-40) x 75/100 = 135 ครั้งต่อนาทีการออกกำลังกายที่ดีสำหรับคนอายุ 40 ปีคือควรออกกำลังกายทำให้ได้สม่ำเสมอ โดยให้หัวใจเต้นเร็วใกล้เคียง135 อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง/นาที 3 ครั้งๆ ละครึ่งชั่วโมงจะทำให้สุขภาพดีปอดและหัวใจแข็งแรง หลังจากเราได้ออกกำลังกายโดยสม่ำเสมอไประยะหนึ่งเมื่อจับชีพจรของเราในขณะพักอยู่เฉย ๆ จะพบว่าหัวใจเต้นช้าลงโดยบางคนอาจจะเต้นช้ากว่าปกติคือ 60 ครั้ง/นาทีแสดงว่าการเต้นแต่ละครั้งหัวใจสามารถบีบตัวเอาเลือดออกไปเลี้ยงร่างกายได้มากหากหัวใจเต้นเร็วแสดงว่าร่างกายไม่แข็งแรงผู้ที่เริ่มต้นออกกำลังกายควรทำแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่าหักโหมในระยะแรกจะทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อและข้อต่อได้หลังจากทำติดต่อไป 2-4 สัปดาห์จึงค่อย ๆ เพิ่มเวลาขึ้นร่างกายจะปรับตัวได้ดีขึ้นไม่เหนื่อยมากเกินไปนอนหลับได้ดี การออกกำลังกายที่มีการวิจัยว่า 'ดี' มีประโยชน์ต่อหัวใจและปอดมากคือการออกกำลังกายแบบแอโรบิก (ออกกำลังกายเต้นแอโรบิก) ซึ่งมี 3 สิ่งดังนี้วิ่งวิ่งการวิ่งเหยาะ ๆ ช้า ๆ ไปเรื่อย ๆ หรือเดินเร็ว ๆ ถีบจักรยานไม่ว่าจะถีบจักรยานจริง ๆ หรือถีบจักรยานออกกำลังกายอยู่กับที่และว่ายน้ำ ตารางเปรียบเทียบการใช้พลังงานในการออกกำลังกายทั้งหลายกับนอนเฉย ๆประเภทการออกกำลังกายพลังงานที่ใช้ นอนเฉย ๆ เดิน ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ วิ่ง1.3 แคลอรี/นาที5.2 แคลอรี/นาที8.2 แคลอรี/นาที11.2 แคลอรี/นาทีนาละ 19.4 แคลอรี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
•สถานที่ของคุณไม่จำเป็นต้องใช้วิธีการบางอย่างของการตรวจสอบ (เช่น 6 นับสองนับ 10 วินาทีการใช้อัตราแผนภูมิออกแรงรับรู้ ฯลฯ ) ในการออกกำลังกายทุกครั้งควรประเมินความเหมาะสมและความสามารถก่อนโดยเฉพาะผู้ที่ มีโรคประจำตัวเช่นเบาหวานโรคหัวใจ และมากน้อยเพียงใดการเริ่มออกกำลังกายนั้น แล้วค่อย ๆ เริ่มไม่ควรหักโหมมากในครั้งแรก ๆ เพื่อเป็นการปรับสภาพร่างกายก่อนการออกกำลังกายที่ดีนั้นควรเป็นการออกกำลังกายที่ต่อเนื่องไม่ใช่หักโหมทำเป็นครั้งคราวควรเริ่มจากการอุ่นร่างกาย (ประมาณ 5-10 นาที) ออกกำลัง กาย (15-20 นาที) และจบด้วยการผ่อนคลาย (5-10 นาที) ทุกครั้ง หรือสูดลมหายใจอย่างแรงควรหายใจเข้าและออกยาว ๆ เพื่อช่วยระบบการหายใจของร่างกาย สามารถป้องกันและรักษาโรคต่าง ๆ ได้มากมาย จะมาจากโรคที่ไม่ติดเชื้อและจากพฤติกรรมของมนุษย์เช่นการสูบบุหรี่การดื่มสุรายาเสพติด ฯลฯ ซึ่งโรคต่าง ๆ โดยการออกกำลังกายควบคุมอาหาร เป็นวิธีการที่ได้ผลและประหยัดที่สุดสำหรับการมีสุขภาพที่ดี ดังนี้1 ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน 3 เดือนชีพจรหรือหัวใจจะเต้นช้าลง ลดไขมันในเลือด เพิ่มความหนาแน่นสูง Lipoprotein Cholesterol (HDL-C) ในเลือด ลดความอ้วน (ไขมัน) เพิ่มกล้ามเนื้อ (น้ำหนักอาจไม่ลด) 5 ป้องกันและรักษาโรคเบาหวาน6 ช่วยลดความดันโลหิต (สำหรับผู้มีความดันโลหิตสูง) ลดได้ประมาณ 10-15 ม.ม. ปรอท7 ช่วยทำให้หัวใจปอดระบบหมุนเวียนของโลหิตกล้ามเนื้อเอ็นเอ็นข้อต่อกระดูกและผิวหนังแข็งแรงยิ่งขึ้นช่วยลดความเครียดทำให้นอนหลับดียิ่งขึ้นความจำดีเพิ่มสมรรถภาพทางเพศชะลออายุช่วยป้องกันอาการปวดหลัง (เพราะกล้ามเนื้อหลังแข็งแรงขึ้น ) 8 ป้องกันโรคกระดุกเปราะ ซึ่งเป็นการประหยัดการใช้แป้ง (ไกลโคเจน) ซึ่งมีอยู่น้อยและเป็นการป้องกันโรคหัวใจ10 ช่วยป้องกันโรคมะเร็งบางชนิดเชื่อลำไส้ใหญ่เต้านมต่อมลูกหมาก11 ทำให้มีสุขภาพดี การศึกษาวิจัยในระยะหลังบ่งชี้ว่า เช่นทำให้สุขภาพแข็งแรงสมรรถภาพของหัวใจและปอดดีขึ้นสุขภาพจิตดีขึ้นถึงที่สุดคือทำให้อายุยืนยาวโดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ แต่ถ้าไม่เคยออกกำลังกายเลยและอายุเกิน 35 ปีแล้ว หรือผู้ที่มีโรคประจำตัวอยู่แล้ว จึงจะไม่เกินกำลังของตัวเองขั้นแรกคือ จับชีพจรเป็นเวลา 30 วินาที 2 เป็นชีพจรเต้นต่อนาทีหลักการของการออกกำลังกายที่ดีคือ โดยชีพจรเต้นสูงสุดที่เหมาะสมสำหรับแต่ละช่วงอายุจะไม่เท่ากันและมีสูตรคำนวณง่ายๆ = (220- อายุ) x 75/100 เช่นท่านที่อายุ 40 ปีถอดสูตรคำนวณได้ว่า = (220-40) x 75/100 = 135 ครั้งต่อนาทีการออกกำลังกายที่ดีสำหรับคนอายุ 40 ปีคือควรออกกำลังกาย ทำให้ได้สม่ำเสมอโดยให้หัวใจเต้นเร็วใกล้เคียง 135 ครั้ง / นาทีอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ๆ ละครึ่งชั่วโมงจะทำให้สุขภาพดีปอด จะพบว่าหัวใจเต้นช้าลงโดยบางคนอาจจะเต้นช้ากว่าปกติคือ 60 ครั้ง / นาทีแสดงว่าการเต้นแต่ละครั้ง หากหัวใจเต้นเร็วแสดงว่าร่างกายไม่แข็งแรง อย่าหักโหมในระยะแรก หลังจากทำติดต่อไป 2-4 สัปดาห์จึงค่อยๆ ไม่เหนื่อยมากเกินไป 'ดี' มีประโยชน์ต่อหัวใจและปอดมากคือการออกกำลังกายแบบแอโรบิก (การออกกำลังกายแอโรบิก) ซึ่งมี 3 ชนิดดังนี้วิ่งจ๊อกกิ้งการวิ่งเหยาะๆช้าๆไปเรื่อย ๆ หรือเดินเร็ว ๆ ถีบจักรยานไม่ว่าจะถีบจักรยานจริงๆ แคลอรี / นาที5.2 แคลอรี / นาที8.2 แคลอรี / นาที11.2 แคลอรี / นาที19.4 แคลอรี / นา










































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
- มีสิ่งอำนวยความสะดวกของคุณต้องใช้วิธีการบางอย่างของการตรวจสอบ ( เช่น 6 วินาที นับ 10 นับที่สองใช้อัตราการรับรู้ประโยชน์แผนภูมิ ฯลฯ )


ในการออกกำลังกายทุกครั้งควรประเมินความเหมาะสมและความสามารถก่อนโดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัวเช่นเบาหวานโรคหัวใจควรปรึกษาแพทย์ว่าควรออกกำลังกายประเภทใดและมากน้อยเพียงใดการเริ่มออกกำลังกายนั้นแล้วค่อยจะเริ่มไม่ควรหักโหมมากในครั้งแรกจะเพื่อเป็นการปรับสภาพร่างกายก่อนการออกกำลังกายที่ดีนั้นควรเป็นการออกกำลังกายที่ต่อเนื่องไม่ใช่หักโหมทำเป็นครั้งคราวควรเริ่มจากการอุ่นร่างกาย ( ประมาณ 5-10 นาที )( 15-20 นาที ) และจบด้วยการผ่อนคลาย ( 5-10 นาที ) ทุกครั้งในการออกำลังกายทุกครั้งไม่ควรกลั้นหายใจหรือสูดลมหายใจอย่างแรงควรหายใจเข้าและออกยาวจะเพื่อช่วยระบบการหายใจของร่างกาย


ประโยชน์ของการออกกำลังกายในปัจจุบันวิทยาทางการแพทย์มีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้นสามารถป้องกันและรักษาโรคต่างจะได้มากมายดังนั้นสาเหตุส่วนใหญ่ของการเสียชีวิตจะมาจากโรคที่ไม่ติดเชื้อและจากพฤติกรรมของมนุษย์เช่นการสูบบุหรี่ยาเสพติดฯลฯซึ่งโรคต่างจะเหล่านี้เราสามารถป้องกันได้หรือทำให้ทุเลาลงได้โดยการออกกำลังกายควบคุมอาหารและมีพฤติกรรมในการดำรงชีวิตที่เหมาะสม
การป้องกันเสริมสร้างสุขภาพเป็นวิธีการที่ได้ผลและประหยัดที่สุดสำหรับการมีสุขภาพที่ดีดังนั้นการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพจึงมีประโยชน์ดังนี้
1ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันสมรรถภาพการทำงานของหัวใจจะดีขึ้นมากถ้าออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอติดต่อกัน 3 เดือนชีพจรหรือหัวใจจะเต้นช้าลงซึ่งจะเป็นการประหยัดการทำงานของหัวใจ
2ลดไขมันในเลือดเพราะไขมันในเลือดสูงเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน
3 คอเลสเตอรอลไลโปโปรตีนความหนาแน่นสูงเพิ่ม ( HDL-C ) ในเลือดซึ่งถ้ายิ่งสูงจะยิ่งดีจะช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน
4ลดความอ้วน ( ไขมัน ) เพิ่มกล้ามเนื้อ ( น้ำหนักอาจไม่ลด )
5 ป้องกันและรักษาโรคเบาหวาน
6 ช่วยลดความดันโลหิต ( สำหรับผู้มีความดันโลหิตสูง ) ลดได้ประมาณ 10-15 แอง . แอง . ปรอท
7ช่วยทำให้หัวใจปอดระบบหมุนเวียนของโลหิตกล้ามเนื้อเอ็นเอ็นข้อต่อกระดูกและผิวหนังแข็งแรงยิ่งขึ้นช่วยลดความเครียดทำให้นอนหลับดียิ่งขึ้นความจำดีเพิ่มสมรรถภาพทางเพศชะลออายุช่วยป้องกันอาการปวดหลัง8 . ป้องกันโรคกระดุกเปราะโดยเฉพาะสุภาพสตรีวัยหมดประจำเดือน
9 ร่างกายเปลี่ยนไขมันมาเป็นพลังงานได้ดีกว่าเดิมซึ่งเป็นการประหยัดการใช้แป้ง ( ไกลโคเจน ) ซึ่งมีอยู่น้อยและเป็นการป้องกันโรคหัวใจ
10ช่วยป้องกันโรคมะเร็งบางชนิดเชื่อลำไส้ใหญ่เต้านมต่อมลูกหมาก
11 ทำให้มีสุขภาพดีประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค



หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญและเราควรทำโดยสม่ำเสมอไม่ว่าจะมีอายุเท่าใดการศึกษาวิจัยในระยะหลังบ่งชี้ว่าการออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งในชีวิตที่ต้องทำเพราะจะทำให้เกิดผลดีมากมายเช่นสมรรถภาพของหัวใจและปอดดีขึ้นสุขภาพจิตดีขึ้นถึงที่สุดความทำให้อายุยืนยาวโดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บสำหรับท่านที่ออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอก็ขอให้ทำต่อไปแต่ถ้าไม่เคยออกกำลังกายเลย35 ปีแล้วควรพบแพทย์เพื่อตรวจดูสุขภาพทั่วไปว่าไม่มีโรคที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการออกกำลังกายหรือผู้ที่มีโรคประจำตัวอยู่แล้วควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวว่าควรจะออกกำลังกายโดยวิธีใดที่ไม่มีผลเสียต่อร่างกาย
คำแนะนำว่าสมควรออกกำลังกายเพียงใดจึงจะไม่เกินกำลังของตัวเองขั้นแรกความเราควรจะจับชีพจรของตนเองในขณะออกกำลังกายโดยคลำบริเวณข้อมือทางด้านหัวแม่มือจับชีพจร
เป็นเวลา 30 วินาทีนับจำนวนครั้งที่ชีพจรเต้นแล้วคูณด้วย 2 เป็นชีพจรเต้นต่อนาทีหลักการของการออกกำลังกายที่ดีความควรทำให้หัวใจเต้นเร็วใกล้เคียงกับชีพจรเต้นสูงสุดโดยชีพจรเต้นสูงสุดที่เหมาะสมและมีสูตรคำนวณง่ายๆดังนี้
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: