พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกต เป็ การแปล - พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกต เป็ ไทย วิธีการพูด

พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลัก

พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกต เป็นพระพุทธรูปสกุลศิลปะก่อนเชียงแสนถึงศิลปะเชียงแสน หลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรก ประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะ ตำบลเวียง เมืองเชียงราย[1] (ปัจจุบันคือวัดพระแก้ว เชียงราย อำเภอเมืองเชียงราย) ในปี พ.ศ. 1977 (หรือ ค.ศ. 1434) ฟ้าได้ผ่าลงองค์พระเจดีย์จนพังทลายลง จึงพบพระพุทธรูปพอกปูนลงรักปิดทอง จึงได้นำไปไว้ในวิหาร ต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกระเทาะออก เห็นเป็นเนื้อมรกต จึงกระเทาะปูนออกทั้งองค์ เห็นเป็นเนื้อหยกสีมรกตทั้งองค์

หลังจากนั้น พระเจ้าสามฝั่งแกนแห่งเชียงใหม่ทราบข่าวการค้นพบพระพุทธรูปนี้ จึงเชิญมาประดิษฐานที่เชียงใหม่ แต่ช้างทรงพระแก้วมรกตกลับไม่เดินทางไปยังเชียงใหม่ แต่ไปทางลำปางหากช้างนั้นมีพระแก้วมรกตอยู่บนหลังช้าง เชียงใหม่เห็นว่าลำปางก็อยู่ในอาณาจักรล้านนาจึงนำไปไว้ที่วัดพระแก้วดอนเต้า ถึงสมัยพระเจ้าติโลกราช ได้เชิญพระแก้วมรกตมายังเชียงใหม่ สร้างปราสาทประดิษฐานไว้แต่ถูกฟ้าผ่าหลายครั้ง ครั้นเมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาแห่งล้านช้างซึ่งเป็นญาติกับราชวงศ์ล้านนามาครองเมืองเชียงใหม่ เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาเสด็จกลับหลวงพระบาง ก็เชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพร้อมกับพระพุทธสิหิงค์ ทางเชียงใหม่ขอคืนก็ได้แต่พระพุทธสิหิงค์ เมื่อล้านช้างย้ายเมืองหลวงจากหลวงพระบางมาเวียงจันทน์ก็เชิญพระแก้วมรกตลงมาด้วย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมืองหลวง พระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกต และพระบาง มาจากอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ (ลาว) ในครั้งนั้นประดิษฐานไว้ที่วัดอรุณราชวราราม ต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรลงบุษบกในเรือพระที่นั่ง เสด็จข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มาประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนถึงปัจจุบัน ส่วนพระบางได้คืนให้แก่ลาว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกตเป็นพระพุทธรูปสกุลศิลปะก่อนเชียงแสนถึงศิลปะเชียงแสนหลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรกประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะตำบลเวียงเมืองเชียงราย [1] (ปัจจุบันคือวัดพระแก้วเชียงรายอำเภอเมืองเชียงราย) ในปีพ.ศ. 1977 (หรือค.ศ. 1434) ฟ้าได้ผ่าลงองค์พระเจดีย์จนพังทลายลงจึงพบพระพุทธรูปพอกปูนลงรักปิดทองจึงได้นำไปไว้ในวิหารต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกระเทาะออกเห็นเป็นเนื้อมรกตจึงกระเทาะปูนออกทั้งองค์เห็นเป็นเนื้อหยกสีมรกตทั้งองค์หลังจากนั้นพระเจ้าสามฝั่งแกนแห่งเชียงใหม่ทราบข่าวการค้นพบพระพุทธรูปนี้จึงเชิญมาประดิษฐานที่เชียงใหม่แต่ช้างทรงพระแก้วมรกตกลับไม่เดินทางไปยังเชียงใหม่แต่ไปทางลำปางหากช้างนั้นมีพระแก้วมรกตอยู่บนหลังช้างเชียงใหม่เห็นว่าลำปางก็อยู่ในอาณาจักรล้านนาจึงนำไปไว้ที่วัดพระแก้วดอนเต้าถึงสมัยพระเจ้าติโลกราชได้เชิญพระแก้วมรกตมายังเชียงใหม่สร้างปราสาทประดิษฐานไว้แต่ถูกฟ้าผ่าหลายครั้งครั้นเมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาแห่งล้านช้างซึ่งเป็นญาติกับราชวงศ์ล้านนามาครองเมืองเชียงใหม่เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาเสด็จกลับหลวงพระบางก็เชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพร้อมกับพระพุทธสิหิงค์ทางเชียงใหม่ขอคืนก็ได้แต่พระพุทธสิหิงค์เมื่อล้านช้างย้ายเมืองหลวงจากหลวงพระบางมาเวียงจันทน์ก็เชิญพระแก้วมรกตลงมาด้วยต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมืองหลวงพระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางมาจากอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ (ลาว) ในครั้งนั้นประดิษฐานไว้ที่วัดอรุณราชวรารามต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรลงบุษบกในเรือพระที่นั่งเสด็จข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยามาประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดารามจนถึงปัจจุบันส่วนพระบางได้คืนให้แก่ลาว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
หลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรกประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะตำบลเวียงเมืองเชียงราย [1] (ปัจจุบันคือวัดพระแก้วเชียงรายอำเภอเมืองเชียงราย) ในปี พ.ศ. 1977 (ค.ศ. 1434 หรือ) จึงพบพระพุทธรูปพอกปูนลงรักปิดทองจึงได้นำไปไว้ในวิหาร เห็นเป็นเนื้อมรกตจึงกระเทาะปูนออกทั้งองค์ จึงเชิญมาประดิษฐานที่เชียงใหม่ ถึงสมัยพระเจ้าติโลกราชได้เชิญพระแก้วมรกตมายังเชียงใหม่ ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางมาจากอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ (ลาว) ต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ เสด็จข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จนถึงปัจจุบันส่วนพระบางได้คืนให้แก่ลาว

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกตเป็นพระพุทธรูปสกุลศิลปะก่อนเชียงแสนถึงศิลปะเชียงแสนหลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรกประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะตำบลเวียง( ปัจจุบันคือวัดพระแก้วเชียงรายอำเภอเมืองเชียงราย ) สามารถพ .ศ . 2520 ( ค็อคค . ศ .การ ) ฟ้าได้ผ่าลงองค์พระเจดีย์จนพังทลายลงจึงพบพระพุทธรูปพอกปูนลงรักปิดทองจึงได้นำไปไว้ในวิหารต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกระเทาะออกเห็นเป็นเนื้อมรกตจึงกระเทาะปูนออกทั้งองค์
หลังจากนั้นพระเจ้าสามฝั่งแกนแห่งเชียงใหม่ทราบข่าวการค้นพบพระพุทธรูปนี้จึงเชิญมาประดิษฐานที่เชียงใหม่แต่ช้างทรงพระแก้วมรกตกลับไม่เดินทางไปยังเชียงใหม่เชียงใหม่เห็นว่าลำปางก็อยู่ในอาณาจักรล้านนาจึงนำไปไว้ที่วัดพระแก้วดอนเต้าถึงสมัยพระเจ้าติโลกราชได้เชิญพระแก้วมรกตมายังเชียงใหม่สร้างปราสาทประดิษฐานไว้แต่ถูกฟ้าผ่าหลายครั้งเมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาเสด็จกลับหลวงพระบางก็เชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพร้อมกับพระพุทธสิหิงค์ทางเชียงใหม่ขอคืนก็ได้แต่พระพุทธสิหิงค์ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมืองหลวงพระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางมาจากอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ( ลาว ) ในครั้งนั้นประดิษฐานไว้ที่วัดอรุณราชวรารามพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรลงบุษบกในเรือพระที่นั่งเสด็จข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยามาประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดารามจนถึงปัจจุบันส่วนพระบางได้คืนให้แก่ลาว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: