การปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 1-4 มีระเบียบแบบแผนตา การแปล - การปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 1-4 มีระเบียบแบบแผนตา ไทย วิธีการพูด

การปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้

การปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์

ตั้งแต่รัชกาลที่ 1-4 มีระเบียบแบบแผนตามแบบสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์มีอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดในการปกครองประเทศ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ

การปกครองส่วนกลาง มีอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหน่ง คือ สมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าฝ่ายทหาร รับผิดชอบกิจการด้านการทหารทั่วประเทศและปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ ส่วนสมุหนายกเป็นหัวหน้าฝ่ายพลเรือน รับผิดชอบกิจการด้านพลเรือนทั้งหมดและปกครองหัวเมืองเหนือ ส่วนหัวเมืองชายทะเลด้านฝั่งตะวันออก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงจัดให้อยู่ในความดูแลของกรมท่า นอกจากตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีทั้ง 2 นี้แล้ว ยังมีเสนาบดีจตุสดมภ์ คือ เสนาบดีกรมเมืองหรือกรมเวียง เรียกว่า “พระนครบาล” เสนาบดีกรมวัง เรียกว่า “พระธรรมาธิกรณ์” เสนาบดีกรมคลัง เรียกว่า “พระโกษาธิบดี” เสนาบดีกรมนา เรียกวา “พระเกษตราธิบดี” จตุสดมภ์ทั้ง 4 อยู่ภายใต้การดูแลของสมุหนายก มีหน้าที่และความรับผิดชอบในเรื่องต่างๆ เหมือนครั้งสมัยอยุธยาเว้นแต่กรมคลังที่มีหน้าที่ติดต่อกับต่างประเทศอีกด้วย

การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งเขตการปกครองออกเป็น หัวเมือง 3 ประเภท ได้แก่หัวเมืองชั้นใน หรือเมืองจัตวา ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ ที่อยู่บริเวณรอบๆ เมืองหลวง หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองพระยามหานครา เมืองเอก โท ตรี ซึ่งอยู่ห่างไกลจากราชธานีออกไป เจ้าเมืองมีอำนาจในการปกครองเมืองอย่างเต็มที่ เพราะอยู่ไกจากราชธานี ส่วนเมืองประเทศราช พระมหากษัตริย์จะแต่งตั้งเจ้าประเทศราชให้ปกครองตนเอง แต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการให้เมืองหลวง 3 ปีต่อ 1 ครั้ง หรือถ้าเป็นเมืองที่อยู่ใกล้ราชธานี เช่น อุบลราชธานี เขมร ไทยบุรี เชียงใหม่ หลวงพระบาง ต้องส่งปีละครั้ง เมื่อเกิดศึกสงคราม เมืองประเทศราชเหล่านี้ต้องส่งทหารมาช่วยรบทันที หรือในยามปกติอาจเกณฑ์ชาวเมืองประเทศราชมาช่วยให้แรงงานในการปรับปรุงประเทศ

การปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งออกเป็น บ้าน ตำบล และแขวงตามลำดับ ซึ่งอาจเทียบได้กับ หมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ ในปัจจุบัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ 1-4 ตั้งแต่รัชกาลที่มีระเบียบแบบแผนตามแบบสมัยอยุธยาพระมหากษัตริย์มีอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดในการปกครองประเทศแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือการปกครองส่วนกลางมีอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหน่งคือสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าฝ่ายทหารรับผิดชอบกิจการด้านการทหารทั่วประเทศและปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ส่วนสมุหนายกเป็นหัวหน้าฝ่ายพลเรือนรับผิดชอบกิจการด้านพลเรือนทั้งหมดและปกครองหัวเมืองเหนือส่วนหัวเมืองชายทะเลด้านฝั่งตะวันออกพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงจัดให้อยู่ในความดูแลของกรมท่านอกจากตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีทั้ง 2 นี้แล้วยังมีเสนาบดีจตุสดมภ์คือเสนาบดีกรมเมืองหรือกรมเวียงเรียกว่า "พระนครบาล" เสนาบดีกรมวังเรียกว่า "พระธรรมาธิกรณ์"เสนาบดีกรมคลังเรียกว่า"พระโกษาธิบดี"เสนาบดีกรมนาเรียกวา"พระเกษตราธิบดี"จตุสดมภ์ทั้ง 4 อยู่ภายใต้การดูแลของสมุหนายกมีหน้าที่และความรับผิดชอบในเรื่องต่าง ๆ เหมือนครั้งสมัยอยุธยาเว้นแต่กรมคลังที่มีหน้าที่ติดต่อกับต่างประเทศอีกด้วย การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งเขตการปกครองออกเป็น หัวเมือง 3 ประเภท ได้แก่หัวเมืองชั้นใน หรือเมืองจัตวา ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ ที่อยู่บริเวณรอบๆ เมืองหลวง หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองพระยามหานครา เมืองเอก โท ตรี ซึ่งอยู่ห่างไกลจากราชธานีออกไป เจ้าเมืองมีอำนาจในการปกครองเมืองอย่างเต็มที่ เพราะอยู่ไกจากราชธานี ส่วนเมืองประเทศราช พระมหากษัตริย์จะแต่งตั้งเจ้าประเทศราชให้ปกครองตนเอง แต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการให้เมืองหลวง 3 ปีต่อ 1 ครั้ง หรือถ้าเป็นเมืองที่อยู่ใกล้ราชธานี เช่น อุบลราชธานี เขมร ไทยบุรี เชียงใหม่ หลวงพระบาง ต้องส่งปีละครั้ง เมื่อเกิดศึกสงคราม เมืองประเทศราชเหล่านี้ต้องส่งทหารมาช่วยรบทันที หรือในยามปกติอาจเกณฑ์ชาวเมืองประเทศราชมาช่วยให้แรงงานในการปรับปรุงประเทศ การปกครองส่วนท้องถิ่นแบ่งออกเป็นบ้านตำบลและแขวงตามลำดับซึ่งอาจเทียบได้กับหมู่บ้านตำบลและอำเภอในปัจจุบัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1-4 มีระเบียบแบบแผนตามแบบสมัยอยุธยา แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือการปกครองส่วนกลางมีอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหน่งคือสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าฝ่ายทหาร นอกจากตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีทั้ง 2 นี้แล้วยังมีเสนาบดีจตุสดมภ์คือเสนาบดีกรมเมืองหรือกรมเวียงเรียกว่า "พระนครบาล" เสนาบดีกรมวังเรียกว่า "พระธรรมาธิกรณ์" เสนาบดีกรมคลังเรียกว่า "พระโกษาธิบดี "เสนาบดีกรมนาเรียกวา" พระเกษตราธิบดี "จตุสดมภ์ทั้ง 4 อยู่ภายใต้การดูแลของสมุหนายก แบ่งเขตการปกครองออกเป็นหัวเมือง 3 ประเภท ได้แก่ หัวเมืองชั้นในหรือเมืองจัตวาซึ่งเป็นเมืองเล็ก ๆ ที่อยู่บริเวณรอบ ๆ เมืองหลวงหัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองพระยามหานคราเมืองเอกโทตรีซึ่งอยู่ห่างไกลจากราชธานีออกไป เพราะอยู่ไกจากราชธานีส่วนเมืองประเทศราช 3 ปีต่อ 1 ครั้ง เช่นอุบลราชธานีเขมรไทยบุรีเชียงใหม่หลวงพระบางต้องส่งปีละครั้งเมื่อเกิดศึกสงคราม แบ่งออกเป็นบ้านตำบลและแขวงตามลำดับซึ่งอาจเทียบได้กับหมู่บ้านตำบลและอำเภอในปัจจุบัน








การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์

ตั้งแต่รัชกาลที่ 1-4 มีระเบียบแบบแผนตามแบบสมัยอยุธยาพระมหากษัตริย์มีอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดในการปกครองประเทศแบ่งออกเป็นส่วนความ

3การปกครองส่วนกลางมีอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหน่งความสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าฝ่ายทหารรับผิดชอบกิจการด้านการทหารทั่วประเทศและปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ส่วนสมุหนายกเป็นหัวหน้าฝ่ายพลเรือนส่วนหัวเมืองชายทะเลด้านฝั่งตะวันออกพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงจัดให้อยู่ในความดูแลของกรมท่านอกจากตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีทั้ง 2 นี้แล้วยังมีเสนาบดีจตุสดมภ์ความเสนาบดีกรมเมืองหรือกรมเวียง" พระนครบาล " เสนาบดีกรมวังเรียกว่า " พระธรรมาธิกรณ์ " เสนาบดีกรมคลังเรียกว่า " พระโกษาธิบดี " เสนาบดีกรมนาเรียกวา " พระเกษตราธิบดี " จตุสดมภ์ทั้ง 4 อยู่ภายใต้การดูแลของสมุหนายกเหมือนครั้งสมัยอยุธยาเว้นแต่กรมคลังที่มีหน้าที่ติดต่อกับต่างประเทศอีกด้วย

การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งเขตการปกครองออกเป็นหัวเมือง 3 ประเภทได้แก่หัวเมืองชั้นในหรือเมืองจัตวาซึ่งเป็นเมืองเล็กๆที่อยู่บริเวณรอบๆเมืองหลวงหัวเมืองชั้นนอกได้แก่เมืองพระยามหานคราเมืองเอกโทตรีเจ้าเมืองมีอำนาจในการปกครองเมืองอย่างเต็มที่เพราะอยู่ไกจากราชธานีส่วนเมืองประเทศราชพระมหากษัตริย์จะแต่งตั้งเจ้าประเทศราชให้ปกครองตนเองแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการให้เมืองหลวง 3 ปีต่อ 1 ครั้งเช่นอุบลราชธานีเขมรไทยบุรีเชียงใหม่หลวงพระบางต้องส่งปีละครั้งเมื่อเกิดศึกสงครามเมืองประเทศราชเหล่านี้ต้องส่งทหารมาช่วยรบทันที

การปกครองส่วนท้องถิ่นแบ่งออกเป็นบ้านตำบลและแขวงตามลำดับซึ่งอาจเทียบได้กับหมู่บ้านตำบลและอำเภอในปัจจุบัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: