เทศกาลฉงหยาง วันที่ 9เดือน 9 ตามปฏิทินจันทรคติของจีนเป็นเทศกาลเก่าแก่ข การแปล - เทศกาลฉงหยาง วันที่ 9เดือน 9 ตามปฏิทินจันทรคติของจีนเป็นเทศกาลเก่าแก่ข ไทย วิธีการพูด

เทศกาลฉงหยาง วันที่ 9เดือน 9 ตามปฏิ

เทศกาลฉงหยาง

วันที่ 9เดือน 9 ตามปฏิทินจันทรคติของจีนเป็นเทศกาลเก่าแก่ของจีนคือเทศกาลฉงหยาง เมื่อถึงวันนั้น ชาวจีนมีประเพณีไต่เขาชมดอกเก๊กฮวย ปักต้นจูหยูและกินขนมฮวาเกา

เนื่องจากชาวจีนสมัยโบราณเชื่อกันว่า ตัวเลข 9 เป็นเลขหยาง วันที่ 9 เดือน 9 มี 9 สองตัวหรือหยางเป็นคู่ จึงเป็นวัน”ฉงหยาง” เกี่ยวกับที่มาของเทศกาลฉงหยาง มีนิทานเล่ากันว่า เมื่อศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์กาล มีเซียนที่มีอิทธิฤทธิ์มากองค์หนึ่งชื่อเฟ่ยฉางฝาง เขาไม่เพียงแต่สามารถเรียกลมเรียกฝนได้เท่านั้น หากยังสามารถขับไล่ภูตผีปีศาจได้ด้วย มีหนุ่มคนหนึ่งชื่อหวนจิ่งเป็นลูกศิษย์ของเฟ่ยฉางฝาง วันหนึ่ง เฟ่ยฉางฝางกล่าวกับหวนจิ่งว่า“ในวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 นี้ ทางบ้านเธอจะประสบภัยพิบัติอย่างร้ายแรง เธอต้องเตรียมตัวไว้”หวนจิ่งได้ยินดังนั้นก็ตกใจมาก รีบคุกเข่าขอให้อาจารย์บอกวิธีหลบภัย เฟ่ยฉางฝางกล่าวว่า“วันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 เธอเตรียมถุงผ้าสีแดงไว้หลายๆใบ ข้างในใส่ใบจูหยู แล้วมัดไว้ที่ต้นแขน และอย่าลืมพกเหล้าที่แช่ดอกเก๊กฮวยด้วย พาสมาชิกทั้งครอบครัวไปดื่มเหล้าเก๊กฮวยบนเขาสักแห่งหนึ่ง ครอบครัวของเธอก็จะรอดพ้นภัยร้ายแรงครั้งนี้ได้”จากนั้น หวนจิ่งก็ปฏิบัติตามทุกอย่างที่อาจารย์สอนให้ พอถึงเช้าตรู่วันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 หวนจิ่งพาครอบครัวขึ้นไปอยู่บนเนินเขาแห่งหนึ่ พวกเขาดื่มเหล้ากันจนค่ำุจึงกลับบ้าน พอก้าวเข้าบ้านปรากฏว่า สัตว์เลี้ยงที่บ้านทั้งเป็ดไก่หมูหมาล้วนตายหมด ครอบครัวของหวนจิ่งรอดตายจริงๆ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ประเพณีการไต่เขา ปักต้นจูหยูและดื่มเหล้าเก๊กฮวยในวันขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 จึงแพร่หลายจนถึงทุกวันนี้

หวังเหวย กวีสมัยราชวงศ์ถัง เขียนกลอนเกี่ยวกับเทศกาลฉงหยางไว้บทหนึ่งชื่อว่า“วันที่ 9 เดือน 9 คิดถึงญาติพี่น้องทางบ้าน”ดังนี้
เป็นแขกแปลกหน้าอยู่ต่างถิ่นแต่ผู้เดียว
ย่อมคิดถึงญาติพี่น้องเป็นสองเท่ายามเทศกาลมงคล
ทราบจากทางไกลว่าญาติพี่น้องยืนบนยอดสูง
เวลาปักต้นจูหยูปรากฏว่าขาดฉันไปหนึ่งคน

ขณะแต่งกลอนบทนี้ หวังเหวยมีอายุเพียง 10 กว่าปี เขาพำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งเพียงคนเดียว จึงอดคิดถึงบ้านไม่ได้ โดยเฉพาะยามเทศกาลมาถึง เห็นครอบครัวอื่นๆอยู่พร้อมหน้ากัน ยิ่งทำให้คิดถึงญาติพี่น้องทางบ้าน ยามเทศกาลฉงหยางมาถึง ทุกคนจะติดใบจูหยูไว้กับตัว แต่ครอบครัวของตนกลับขาดเขาไปคนหนึ่ง
ประเพณีอีกอย่างหนึ่งในเทศกาลฉงหยางคือ กินขนมฉงหยางเกา เนื่องจากคำว่า”เกา” ที่แปลว่าขนม พ้องเสียงกับอีกคำหนึ่งที่แปลว่า สูง จึงมีความหมายแฝงว่า ได้ดิบได้ดีและไต่สูงขึ้นเรื่อยๆ ขนมนึ่งชนิดหนึ่งที่ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวและพุทราและปักธง 5 สีใบเล็กๆ เรียกว่า “ฮวาเกา” ประชาชนที่อาศัยอยู่ตามเขตที่ราบที่ไม่มีภูเขาจะให้ไต่ในเทศกาลฉงหยาง ก็จะกินขนมฮวาเกาแทนการไต่เขา

ชาวจีนในสมัยโบราณเชื่อว่า เทศกาลฉงหยางเป็นเทศกาลแห่งอายุยืนยาว การปฏิบัติตามประเพณีต่างๆในเทศกาลฉงหยางสามารถทำให้มีอายุมั่นขวัญยืน

ทุกวันนี้ ชาวจีนยังคงมีประเพณีไต่เขาและชมดอกเก๊กฮวย ร้านค้าต่างๆจะขายขนมฮวาเกาในวันฉงหยาง ปีหลังๆมานี้ จีนยังได้กำหนดวันที่ 9 เดือน 9 นี้เป็นเทศกาลเคารพคนชรา เนื่องจากการออกเสียงของคำว่า 9 นั้น พ้องกับอีกคำหนึ่งซึ่งแปลว่า ยืนยาว ซึ่งมีความหมายแฝงว่า อายุยืนยาว ทำให้เทศกาลฉงหยางนอกจากมีความหมายดั้งเดิมแล้ว ยังเพิ่มความหมายใหม่ที่ว่า เคารพคนชราและขอให้คนชรามีสุขภาพแข็งแรงและอายุยืนยาว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เทศกาลฉงหยาง วันที่ 9เดือน 9 ตามปฏิทินจันทรคติของจีนเป็นเทศกาลเก่าแก่ของจีนคือเทศกาลฉงหยาง เมื่อถึงวันนั้น ชาวจีนมีประเพณีไต่เขาชมดอกเก๊กฮวย ปักต้นจูหยูและกินขนมฮวาเกา เนื่องจากชาวจีนสมัยโบราณเชื่อกันว่าตัวเลข 9 เป็นเลขหยางวันที่ 9 เดือน 9 มี 9 สองตัวหรือหยางเป็นคู่จึงเป็นวัน "ฉงหยาง" เกี่ยวกับที่มาของเทศกาลฉงหยางมีนิทานเล่ากันว่าเมื่อศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์กาลมีเซียนที่มีอิทธิฤทธิ์มากองค์หนึ่งชื่อเฟ่ยฉางฝางเขาไม่เพียงแต่สามารถเรียกลมเรียกฝนได้เท่านั้นหากยังสามารถขับไล่ภูตผีปีศาจได้ด้วยมีหนุ่มคนหนึ่งชื่อหวนจิ่งเป็นลูกศิษย์ของเฟ่ยฉางฝางวันหนึ่งเฟ่ยฉางฝางกล่าวกับหวนจิ่งว่า "ในวันขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 นี้ทางบ้านเธอจะประสบภัยพิบัติอย่างร้ายแรงเธอต้องเตรียมตัวไว้ "หวนจิ่งได้ยินดังนั้นก็ตกใจมากรีบคุกเข่าขอให้อาจารย์บอกวิธีหลบภัยเฟ่ยฉางฝางกล่าวว่า" วันขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 เธอเตรียมถุงผ้าสีแดงไว้หลายๆใบข้างในใส่ใบจูหยูแล้วมัดไว้ที่ต้นแขนและอย่าลืมพกเหล้าที่แช่ดอกเก๊กฮวยด้วยพาสมาชิกทั้งครอบครัวไปดื่มเหล้าเก๊กฮวยบนเขาสักแห่งหนึ่งครอบครัวของเธอก็จะรอดพ้นภัยร้ายแรงครั้งนี้ได้ "จากนั้นหวนจิ่งก็ปฏิบัติตามทุกอย่างที่อาจารย์สอนให้พอถึงเช้าตรู่วันขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 หวนจิ่งพาครอบครัวขึ้นไปอยู่บนเนินเขาแห่งหนึ่พวกเขาดื่มเหล้ากันจนค่ำุจึงกลับบ้านพอก้าวเข้าบ้านปรากฏว่าสัตว์เลี้ยงที่บ้านทั้งเป็ดไก่หมูหมาล้วนตายหมดครอบครัวของหวนจิ่งรอดตายจริง ๆ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาประเพณีการไต่เขาปักต้นจูหยูและดื่มเหล้าเก๊กฮวยในวันขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 จึงแพร่หลายจนถึงทุกวันนี้ หวังเหวย กวีสมัยราชวงศ์ถัง เขียนกลอนเกี่ยวกับเทศกาลฉงหยางไว้บทหนึ่งชื่อว่า“วันที่ 9 เดือน 9 คิดถึงญาติพี่น้องทางบ้าน”ดังนี้ เป็นแขกแปลกหน้าอยู่ต่างถิ่นแต่ผู้เดียว ย่อมคิดถึงญาติพี่น้องเป็นสองเท่ายามเทศกาลมงคลทราบจากทางไกลว่าญาติพี่น้องยืนบนยอดสูง เวลาปักต้นจูหยูปรากฏว่าขาดฉันไปหนึ่งคน ขณะแต่งกลอนบทนี้ หวังเหวยมีอายุเพียง 10 กว่าปี เขาพำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งเพียงคนเดียว จึงอดคิดถึงบ้านไม่ได้ โดยเฉพาะยามเทศกาลมาถึง เห็นครอบครัวอื่นๆอยู่พร้อมหน้ากัน ยิ่งทำให้คิดถึงญาติพี่น้องทางบ้าน ยามเทศกาลฉงหยางมาถึง ทุกคนจะติดใบจูหยูไว้กับตัว แต่ครอบครัวของตนกลับขาดเขาไปคนหนึ่งประเพณีอีกอย่างหนึ่งในเทศกาลฉงหยางคือ กินขนมฉงหยางเกา เนื่องจากคำว่า”เกา” ที่แปลว่าขนม พ้องเสียงกับอีกคำหนึ่งที่แปลว่า สูง จึงมีความหมายแฝงว่า ได้ดิบได้ดีและไต่สูงขึ้นเรื่อยๆ ขนมนึ่งชนิดหนึ่งที่ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวและพุทราและปักธง 5 สีใบเล็กๆ เรียกว่า “ฮวาเกา” ประชาชนที่อาศัยอยู่ตามเขตที่ราบที่ไม่มีภูเขาจะให้ไต่ในเทศกาลฉงหยาง ก็จะกินขนมฮวาเกาแทนการไต่เขา

ชาวจีนในสมัยโบราณเชื่อว่า เทศกาลฉงหยางเป็นเทศกาลแห่งอายุยืนยาว การปฏิบัติตามประเพณีต่างๆในเทศกาลฉงหยางสามารถทำให้มีอายุมั่นขวัญยืน

ทุกวันนี้ ชาวจีนยังคงมีประเพณีไต่เขาและชมดอกเก๊กฮวย ร้านค้าต่างๆจะขายขนมฮวาเกาในวันฉงหยาง ปีหลังๆมานี้ จีนยังได้กำหนดวันที่ 9 เดือน 9 นี้เป็นเทศกาลเคารพคนชรา เนื่องจากการออกเสียงของคำว่า 9 นั้น พ้องกับอีกคำหนึ่งซึ่งแปลว่า ยืนยาว ซึ่งมีความหมายแฝงว่า อายุยืนยาว ทำให้เทศกาลฉงหยางนอกจากมีความหมายดั้งเดิมแล้ว ยังเพิ่มความหมายใหม่ที่ว่า เคารพคนชราและขอให้คนชรามีสุขภาพแข็งแรงและอายุยืนยาว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เทศกาลฉงหยาง

วันที่ 9 เดือน 9 ตามปฏิทินจันทรคติของจีนเป็นเทศกาลเก่าแก่ของจีนคือเทศกาลฉงหยางเมื่อถึงวันนั้นชาวจีนมีประเพณีไต่เขาชมดอกเก๊กฮวยปักต้นจูหยูและกินขนมฮวาเกา

เนื่องจากชาวจีนสมัยโบราณเชื่อกันว่าตัวเลข 9 เป็นเลขหยางวันที่ 9 เดือน 9 คอนโด 9 สองตัวหรือหยางเป็นคู่จึงเป็นวัน " ฉงหยาง " เกี่ยวกับที่มาของเทศกาลฉงหยางมีนิทานเล่ากันว่าเมื่อศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์กาลเขาไม่เพียงแต่สามารถเรียกลมเรียกฝนได้เท่านั้นหากยังสามารถขับไล่ภูตผีปีศาจได้ด้วยมีหนุ่มคนหนึ่งชื่อหวนจิ่งเป็นลูกศิษย์ของเฟ่ยฉางฝางวันหนึ่งเฟ่ยฉางฝางกล่าวกับหวนจิ่งว่า " ในวันขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 นี้เธอต้องเตรียมตัวไว้ " หวนจิ่งได้ยินดังนั้นก็ตกใจมากรีบคุกเข่าขอให้อาจารย์บอกวิธีหลบภัยเฟ่ยฉางฝางกล่าวว่า " วันขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 เธอเตรียมถุงผ้าสีแดงไว้หลายๆใบข้างในใส่ใบจูหยูแล้วมัดไว้ที่ต้นแขนพาสมาชิกทั้งครอบครัวไปดื่มเหล้าเก๊กฮวยบนเขาสักแห่งหนึ่งครอบครัวของเธอก็จะรอดพ้นภัยร้ายแรงครั้งนี้ได้ " จากนั้นหวนจิ่งก็ปฏิบัติตามทุกอย่างที่อาจารย์สอนให้พอถึงเช้าตรู่วันขึ้น 9 ค่ำเดือน 9พวกเขาดื่มเหล้ากันจนค่ำุจึงกลับบ้านพอก้าวเข้าบ้านปรากฏว่าสัตว์เลี้ยงที่บ้านทั้งเป็ดไก่หมูหมาล้วนตายหมดครอบครัวของหวนจิ่งรอดตายจริงๆตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาประเพณีการไต่เขา9 ค่ำเดือนจึงแพร่หลายจนถึงทุกวันนี้
9
หวังเหวยกวีสมัยราชวงศ์ถังเขียนกลอนเกี่ยวกับเทศกาลฉงหยางไว้บทหนึ่งชื่อว่า " วันที่ 9 เดือน 9 คิดถึงญาติพี่น้องทางบ้านดังนี้เป็นแขกแปลกหน้าอยู่ต่างถิ่นแต่ผู้เดียว

"ย่อมคิดถึงญาติพี่น้องเป็นสองเท่ายามเทศกาลมงคล



ทราบจากทางไกลว่าญาติพี่น้องยืนบนยอดสูงเวลาปักต้นจูหยูปรากฏว่าขาดฉันไปหนึ่งคนขณะแต่งกลอนบทนี้หวังเหวยมีอายุเพียง 10 กว่าปีเขาพำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งเพียงคนเดียวจึงอดคิดถึงบ้านไม่ได้โดยเฉพาะยามเทศกาลมาถึงเห็นครอบครัวอื่นๆอยู่พร้อมหน้ากันยิ่งทำให้คิดถึงญาติพี่น้องทางบ้านทุกคนจะติดใบจูหยูไว้กับตัวแต่ครอบครัวของตนกลับขาดเขาไปคนหนึ่ง
ประเพณีอีกอย่างหนึ่งในเทศกาลฉงหยางคือกินขนมฉงหยางเกาเนื่องจากคำว่า " เกา " ที่แปลว่าขนมพ้องเสียงกับอีกคำหนึ่งที่แปลว่าสูงจึงมีความหมายแฝงว่าได้ดิบได้ดีและไต่สูงขึ้นเรื่อยๆ5 สีใบเล็กๆเรียกว่า " ฮวาเกา " ประชาชนที่อาศัยอยู่ตามเขตที่ราบที่ไม่มีภูเขาจะให้ไต่ในเทศกาลฉงหยางก็จะกินขนมฮวาเกาแทนการไต่เขา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: