บทคัดย่อสารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษากระบวนการยุติธรรมใ การแปล - บทคัดย่อสารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษากระบวนการยุติธรรมใ ไทย วิธีการพูด

บทคัดย่อสารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์

บทคัดย่อ
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษากระบวนการยุติธรรมในพระวินัยปิฎก ๒) เพื่อศึกษาพัฒนาการกระบวนการยุติธรรมในคณะสงฆ์ไทย
กระบวนการยุติธรรม หมายถึง กระบวนการที่ใช้บังคับ ตัดสิน และลงโทษผู้กระทำความผิด ส่วนพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้เป็นกรอบแห่งการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์และวิธีปฏิบัติในการระงับความผิดหรือข้อขัดแย้งที่เรียกว่าอธิกรณ์และการลงโทษที่เรียกว่านิคหกรรม อธิกรณ์ คือ เรื่องราวที่เกิดขั้นในกระบวนการประพฤติพรหมจรรย์ของภิกษุสงฆ์ที่ต่างสงเคราะห์เกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อการปฏิบัติสู่เป้าหมายเดียวกันย่อมจะมีสิ่งอันเป็นเหตุให้เกิดอุปสรรคต่อการประพฤติพรหมจรรย์ที่เรียกว่า อธิกรณ์ ซึ่งมี ๔ ประเภท คือ ๑) อธิกรณ์ที่สืบเนื่องมาจากการโต้แย้งโต้เถียงกันเรื่องพระธรรมพระวินัย ๒) อธิกรณ์อันสืบเนื่องมาจากการกล่าวหากันด้วยเรื่องละเมิดพระวินัยเพราะไม่ปฏิบัติให้สอดคล้องกับข้อกำหนดที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้ ๓) อธิกรณ์อันสืบเนื่องมาจากการยอมรับผิดและการรับโทษตามข้อกำหนดแห่งพระวินัย ๔) อธิกรณ์อันสืบเนื่องมาจากการที่พระภิกษุสงฆ์ต้องทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อความบริสุทธิ์ของพระภิกษุและคณะสงฆ์ นิคหกรรมเป็นมาตรการทางพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้สงฆ์ใช้เป็นเครื่องข่ม กำราบ หรือลงโทษแก่พระภิกษุที่ประพฤติผิดพระธรรมวินัยหรือแก่คฤหัสถ์ผู้มีความปรารถนาที่ไม่ดีต่อพระรัตนตรัย โดยทรงวางกฏเกณฑ์การลงโทษตามสมควร คือ ๑) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงตัชชนียกรรม ๒) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงนิยสกรรม ๓) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงปัพพาชนียกรรม ๔) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงปฏิสารณียกรรม ๕) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม ๖) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงตัสสปาปิยสิกากรรม ๗) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ทำปกาสนียกรรม ๘) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงปัตตนิกุชชนกรรม ๙) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงพรหมทัณฑกรรม พระพุทธองค์ทรงบัญญัติวิธีการระงับนิคหกรรมไว้ ๖ วิธี คือ ๑).วิธีการระงับตัชชนียกรรม ๒).วิธีการระงับนิยสกรรม ๓).วิธีการระงับปัพพาชนียกรรม ๔).วิธีการระงับปฎิสารณียกรรม ๕).วิธีการระงับอุกเขปนียกรรม ๖)วิธีการระงับตัสสปาปิยสิกากรรม นิคหกรรมมีขั้นตอนดำเนินการเริ่มตั้งแต่การลงนิคหกรรมไปจนถึงการระงับนิคหกรรม ซึ่งดำเนินการโดยสงฆ์ องค์คณะผู้พิจารณาก็เป็นสงฆ์ ส่วนกระบวนการระงับนิคหกรรมพระพุทธเจ้าทรงวางระเบียบปฏิบัติไว้ว่าเมื่อผู้ที่ถูกสงฆ์ลงนิคหกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้แล้วมาขอให้สงฆ์ระงับนิคหกรรม สงฆ์ก็จะระงับนิคหกรรมให้ด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ญัตติทุติกรรมวาจาหรือด้วยวิธีการตามขั้นตอนที่ทรงอนุญาตไว้ในกรณีที่พระภิกษุที่ถูกสงฆ์ลงนิคหกรรมแล้วต่อมาลาสิกขาพ้นจากความเป็นพระภิกษุ นิคหกรรมของพระภิกษุรูปนั้นก็เป็นอันระงับ
พัฒนาการกระบวนการยุติธรรมในคณะสงฆ์ไทย เริ่มตั้งแต่สมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี จนกระทั่งสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน นอกจากจะมีพระธรรมวินัยแล้ว ต้องอาศัยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์เป็นเกณฑ์ในการจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์เพื่อคงไว้ซึ่งความยุติธรรม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ และปรับปรุงเรื่อยมาจนปัจจุบัน ใช้พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ เป็นหลัก เมื่อพระสงฆ์ละเมิดพระธรรมวินัย ก็จะพิจารณาวินิจฉัยลงโทษตามฐานความผิด คือ ๑)นิคหกรรมให้สึก ๒)นิคหกรรมไม่ถึงให้สึก
ประโยชน์ในการศึกษากระบวนการยุติธรรมในคณะสงฆ์ไทย คือ การใช้กฎนิคหกรรมเป็นหลักในการลงโทษผู้ฝ่าฝืนให้เกิดความสงบสุขเป็นธรรม มีความสัมพันธ์กับศีลธรรมและจริยธรรม เป็นมาตรการทางพระวินัย เป็นเครื่องมือสำหรับข่ม กำราบ หรือลงโทษ ผู้ที่ไม่มีศีลธรรมและจริยธรรม โดยการลงโทษตามสมควรแก่ความผิด ให้พระภิกษุประพฤติปฏิบัติในกรอบพระธรรมวินัย และเป็นแบบอย่างที่ดีในการถ่ายทอดพระธรรมคำสอนของพระศาสดาแก่คนในสังคมไทยให้เป็นคนดีมีศีลธรรมและจริยธรรม ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยดีงามในสังคม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อเพื่อศึกษาพัฒนาการกระบวนการยุติธรรมในคณะสงฆ์ไทย ๒ เพื่อศึกษากระบวนการยุติธรรมในพระวินัยปิฎกสารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์คือ ๑))กระบวนการยุติธรรมหมายถึงกระบวนการที่ใช้บังคับตัดสินและลงโทษผู้กระทำความผิดส่วนพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้เป็นกรอบแห่งการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์และวิธีปฏิบัติในการระงับความผิดหรือข้อขัดแย้งที่เรียกว่าอธิกรณ์และการลงโทษที่เรียกว่านิคหกรรม อธิกรณ์ คือ เรื่องราวที่เกิดขั้นในกระบวนการประพฤติพรหมจรรย์ของภิกษุสงฆ์ที่ต่างสงเคราะห์เกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อการปฏิบัติสู่เป้าหมายเดียวกันย่อมจะมีสิ่งอันเป็นเหตุให้เกิดอุปสรรคต่อการประพฤติพรหมจรรย์ที่เรียกว่า อธิกรณ์ ซึ่งมี อธิกรณ์อันสืบเนื่องมาจาก ๓ อธิกรณ์อันสืบเนื่องมาจากการกล่าวหากันด้วยเรื่องละเมิดพระวินัยเพราะไม่ปฏิบัติให้สอดคล้องกับข้อกำหนดที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้ ๒ อธิกรณ์ที่สืบเนื่องมาจากการโต้แย้งโต้เถียงกันเรื่องพระธรรมพระวินัย ๔ ประเภทคือ ๑)))การยอมรับผิดและการรับโทษตามข้อกำหนดแห่งพระวินัย ๔) อธิกรณ์อันสืบเนื่องมาจากการที่พระภิกษุสงฆ์ต้องทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อความบริสุทธิ์ของพระภิกษุและคณะสงฆ์นิคหกรรมเป็นมาตรการทางพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้สงฆ์ใช้เป็นเครื่องข่มกำราบหรืการทำผิดที่เป็นเหตุให้ ๓ การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงนิยสกรรม ๒ การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงตัชชนียกรรมอลงโทษแก่พระภิกษุที่ประพฤติผิดพระธรรมวินัยหรือแก่คฤหัสถ์ผู้มีความปรารถนาที่ไม่ดีต่อพระรัตนตรัยโดยทรงวางกฏเกณฑ์การลงโทษตามสมควรคือ ๑)))การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงปัตตนิก ๘ การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ทำปกาสนียกรรม ๗ การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงตัสสปาปิยสิกากรรม ๖ การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม ๕ การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงปฏิสารณียกรรมสงฆ์ลงปัพพาชนียกรรม ๔))))).วิธีการระงับอุกเขปน ๕.วิธีการระงับปฎิสารณียกรรม ๔.วิธีการระงับปัพพาชนียกรรม ๓.วิธีการระงับนิยสกรรม ๒.วิธีการระงับตัชชนียกรรมุชชนกรรม ๙) การทำผิดที่เป็นเหตุให้สงฆ์ลงพรหมทัณฑกรรมพระพุทธองค์ทรงบัญญัติวิธีการระงับนิคหกรรมไว้ ๖ วิธีคือ ๑)))))ียกรรม ๖) วิธีการระงับตัสสปาปิยสิกากรรมนิคหกรรมมีขั้นตอนดำเนินการเริ่มตั้งแต่การลงนิคหกรรมไปจนถึงการระงับนิคหกรรมซึ่งดำเนินการโดยสงฆ์องค์คณะผู้พิจารณาก็เป็นสงฆ์ส่วนกระบวนการระงับนิคหกรรมพระพุทธเจ้าทรงวางระเบียบปฏิบัติไว้ว่าเมื่อผู้ที่ถูกสงฆ์ลงนิคหกรรมแล้วกลับประพฤติชอบหายเย่อหยิ่งกลับตัวได้แล้วมาขอให้สงฆ์ระงับนิคหกรรมสงฆ์ก็จะระงับนิคหกรรมให้ด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาญัตติทุติกรรมวาจาหรือด้วยวิธีการตามขั้นตอนที่ทรงอนุญาตไว้ในกรณีที่พระภิกษุที่ถูกสงฆ์ลงนิคหกรรมแล้วต่อมาลาสิกขาพ้นจากความเป็นพระภิกษุนิคหกรรมของพระภิกษุรูปนั้นก็เป็นอันระงับนิคหกรรมไม่ถึงให้สึก ๒ นิคหกรรมให้สึกพัฒนาการกระบวนการยุติธรรมในคณะสงฆ์ไทยเริ่มตั้งแต่สมัยสุโขทัยกรุงศรีอยุธยากรุงธนบุรีจนกระทั่งสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในปัจจุบันนอกจากจะมีพระธรรมวินัยแล้วต้องอาศัยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์เป็นเกณฑ์ในการจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์เพื่อคงไว้ซึ่งความยุติธรรมในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ และปรับปรุงเรื่อยมาจนปัจจุบันใช้พระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ.๒๕๐๕เป็นหลักเมื่อพระสงฆ์ละเมิดพระธรรมวินัยก็จะพิจารณาวินิจฉัยลงโทษตามฐานความผิดคือ ๑)) ประโยชน์ในการศึกษากระบวนการยุติธรรมในคณะสงฆ์ไทยคือการใช้กฎนิคหกรรมเป็นหลักในการลงโทษผู้ฝ่าฝืนให้เกิดความสงบสุขเป็นธรรมมีความสัมพันธ์กับศีลธรรมและจริยธรรมเป็นมาตรการทางพระวินัยเป็นเครื่องมือสำหรับข่มกำราบหรือลงโทษผู้ที่ไม่มีศีลธรรมและจริยธรรมโดยการลงโทษตามสมควรแก่ความผิดให้พระภิกษุประพฤติปฏิบัติในกรอบพระธรรมวินัยและเป็นแบบอย่างที่ดีในการถ่ายทอดพระธรรมคำสอนของพระศาสดาแก่คนในสังคมไทยให้เป็นคนดีมีศีลธรรมและจริยธรรมทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยดีงามในสังคม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

คือ 1) 2)
หมายถึงกระบวนการที่ใช้บังคับตัดสินและ ลงโทษผู้กระทำความผิด อธิกรณ์คือ อธิกรณ์ซึ่งมี 4 ประเภทคือ 1) 2) 3) 4) กำราบ โดยทรงวางกฏเกณฑ์การลงโทษ ตามสมควรคือ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 6 วิธีคือ 1). วิธีการระงับตัชชนีย กรรม 2). วิธีการระงับนิยสกรรม 3). วิธีการระงับปัพพาชนียกรรม 4). วิธีการระงับปฎิสารณีย กรรม 5). วิธีการระงับ อุกเขปนียกรรม 6) วิธีการระงับตัสสปาปิย สิกากรรม ซึ่งดำเนินการโดยสงฆ์องค์คณะผู้ พิจารณาก็เป็นสงฆ์ หายเย่อหยิ่ง
เริ่มตั้งแต่สมัยสุโขทัยกรุงศรีอยุธยากรุงธนบุรี นอกจากจะมีพระธรรมวินัยแล้ว รัชกาลที่ 4 และปรับปรุงเรื่อยมาจนปัจจุบันใช้พระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 เป็นหลักเมื่อพระสงฆ์ละเมิดพระธรรม วินัย คือ 1) นิคหกรรมให้สึก
คือ เป็นมาตรการทางพระวินัยเป็นเครื่องมือสำหรับ ข่มกำราบหรือลงโทษผู้ที่ไม่มีศีลธรรมและจริยธรรมโดยการลงโทษตามสมควรแก่ความผิด
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: