อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการขยายตัวสูง ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประ การแปล - อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการขยายตัวสูง ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประ ไทย วิธีการพูด

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการขยายตัวสูง

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการขยายตัวสูง ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย เป็นแหล่งรายได้ที่สําคัญในอันดับต้นก่อให้เกิดการสร้างงาน และการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค นับได้ว่าการท่องเที่ยวเป็นกลไกขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับรัฐบาลปัจจุบันคณะรักษาความสงบแห่งชาติ นำโดยพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ได้รับฟังผลการดำเนินงานปีท่องเที่ยววิถีไทย 2558 ที่ผ่านมา ซึ่งประสบความสำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ โดยสามารถสร้างรายได้ถึง 2.23 ล้านล้านบาท สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเดินทางเข้าประเทศ 29.88 ล้านคน นำรายได้เข้าประเทศ 1.44 ล้านล้านบาท และคนไทยเดินทาง 138.8 ล้านครั้ง ก่อให้เกิดรายได้หมุนเวียนในประเทศ
ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลกก้าวสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่เป็นสังคมผู้สูงอายุมานานกว่า 40-50 ปี ในช่วงปี พ.ศ.2555-2559 ประชากรสูงอายุในโลกจะเพิ่มขึ้นอีก 81.9 ล้านคน ซึ่งผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตหลังเกษียณอายุงานประกอบกิจกรรมต่างๆ และมีเวลามากกว่านักท่องเที่ยววัยอื่นๆ และมีความพร้อมทางด้านการเงิน การท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุจึงเป็นช่องทางการท่องเที่ยวตลาดใหม่เนื่องจากเป็นตลาดที่มีคุณภาพและมีกำลังซื้อในการท่องเที่ยวสูงกว่า ตลาดทั่วไป
สำหรับสถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศไทยปี พ.ศ.2556 มีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2556 มีจำนวน 26,735,583 คน ขยายตัว 19.60% เมื่อเทียบกับปี 2555 ที่ผ่านมา นักท่องเที่ยวจีนเป็นตลาดที่มีการขยายตัวสูงสุด 93% เป็นอันดับที่ 1 สำหรับรายได้จาการท่องเที่ยวในปี พ.ศ.2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 983,928.36 ล้านบาท ภาคใต้ เป็นภูมิภาคที่นักท่องเที่ยวทั้งคนไทย และต่างชาตินิยมเดินทางไปท่องเที่ยวมากที่สุด มีจำนวนทั้งสิ้น 6.1 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วน 20.9% เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมดของแต่ละภูมิภาค และสร้างรายได้ให้แก่ประเทศมากที่สุดเช่นกัน (หากไม่นับรวมกรุงเทพฯ) จำนวนทั้งสิ้น 104,437 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 25.7% สำหรับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันที่นักท่องเที่ยวทั้งคนไทย และต่างชาตินิยมเดินทางไปท่องเที่ยวมากที่สุด คือ ภูเก็ต รองลงมาคือ สงขลา และกระบี่ จำนวน 2.09 0.64 และ 0.57 ล้านคน ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วน 39.8%, 12.3% และ 10.9% ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมดของแต่ละจังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ โดยจังหวัดที่สร้างรายได้ให้แก่ธุรกิจท่องเที่ยวมากที่สุดคือ ภูเก็ต รองลงมาคือ กระบี่ และสุราษฎร์
จากรายงานข้างต้นแสดงให้เห็นว่าจังหวัดภูเก็ต และจังหวัดกระบี่เป็นจังหวัดที่สร้างรายได้ให้กับธุรกิจท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก จังหวัดภูเก็ตภูเก็ตอุดมไปด้วยธรรมชาติที่สวยสดงดงาม เช่น หาดป่าตอง หาดกะตะ หาดกะรน นอกจากนี้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม ขณะที่จังหวัดกระบี่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยวทางทะเลในระดับโลก เช่น เกาะพีพี เกาะไก่ เกาะทับ อ่าวไร่เลย์ ถ้ำพระนาง นอกจากนี้ ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งโบราณคดี เช่น แหล่งถ้ำโบราณคดี
จากความสำคัญของการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต และกระบี่ข้างต้นที่ส่งผลให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาในจังหวัดภูเก็ตเป็นจำนวนมากนั้น ประกอบกับโครงสร้างของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น และตลาดนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุเป็นตลาดใหญ่ที่มีศักยภาพและน่าสนใจเป็นอย่างมากต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งมีบทบาทอย่างมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดภูเก็ต และกระบี่ รวมถึงประเทศชาติ จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนและมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ทางคณะผู้วิจัยจึงมุ่งทำการศึกษากลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยและชาวต่างชาติในจังหวัดภูเก็ต และกระบี่ การศึกษาวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยและชาวต่างชาติหันมาท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต และกระบี่มากยิ่งขึ้น ซึ่งรายได้จากการท่องเที่ยวดังกล่าวจะส่งผลต่อให้ธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้งในจังหวัดภูเก็ต กระบี่ และจังหวัดใกล้เคียง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการขยายตัวสูงส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเป็นแหล่งรายได้ที่สําคัญในอันดับต้นก่อให้เกิดการสร้างงานและการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคนับได้ว่าการท่องเที่ยวเป็นกลไกขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศซึ่งสอดคล้องกับรัฐบาลปัจจุบันคณะรักษาความสงบแห่งชาตินำโดยพลเอกประยุทธ์จันทร์โอชาที่ได้รับฟังผลการดำเนินงานปีท่องเที่ยววิถีไทย 2558 ที่ผ่านมาซึ่งประสบความสำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้โดยสามารถสร้างรายได้ถึง 2.23 ล้านล้านบาทสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้โดยมีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเดินทางเข้าประเทศ 29.88 ล้านคนนำรายได้เข้าประเทศ 1.44 ล้านล้านบาทและคนไทยเดินทาง 138.8 ล้านครั้งก่อให้เกิดรายได้หมุนเวียนในประเทศ ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลกก้าวสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่เป็นสังคมผู้สูงอายุมานานกว่า 40-50 ปีในช่วงปีประชากรสูงอายุในโลกจะเพิ่มขึ้นอีก พ.ศ.2555-2559 81.9 ล้านคนซึ่งผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตหลังเกษียณอายุงานประกอบกิจกรรมต่าง ๆ และมีเวลามากกว่านักท่องเที่ยววัยอื่น ๆ และมีความพร้อมทางด้านการเงินการท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุจึงเป็นช่องทางการท่องเที่ยวตลาดใหม่เนื่องจากเป็นตลาดที่มีคุณภาพและมีกำลังซื้อในการท่องเที่ยวสูงกว่าตลาดทั่วไป สำหรับสถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศไทยปี พ.ศ.2556 มีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปีด่ามีจำนวน 26,735,583 คนขยายตัว 19.60% เมื่อเทียบกับปี 2555 ที่ผ่านมานักท่องเที่ยวจีนเป็นตลาดที่มีการขยายตัวสูงสุด 93% เป็นอันดับที่ 1 สำหรับรายได้จาการท่องเที่ยวในปี พ.ศ.2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 983,928.36 ล้านบาทภาคใต้เป็นภูมิภาคที่นักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและต่างชาตินิยมเดินทางไปท่องเที่ยวมากที่สุดมีจำนวนทั้งสิ้น 6.1 ล้านคนคิดเป็นสัดส่วน 20.9% เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมดของแต่ละภูมิภาคและสร้างรายได้ให้แก่ประเทศมากที่สุดเช่นกัน (หากไม่นับรวมกรุงเทพฯ) จำนวนทั้งสิ้น 104,437 ล้านบาทคิดเป็นสัดส่วนสำหรับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันที่นักท่องเที่ยวทั้งคนไทย 25.7% และต่างชาตินิยมเดินทางไปท่องเที่ยวมากที่สุดคือภูเก็ตรองลงมาคือสงขลาและกระบี่จำนวน 2.09 0.64 และ 0.57 ล้านคนตามลำดับคิดเป็นสัดส่วน 39.8%, 12.3% และ 10.9% ตามลำดับเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมดของแต่ละจังหวัดในพื้นที่ภาคใต้โดยจังหวัดที่สร้างรายได้ให้แก่ธุรกิจท่องเที่ยวมากที่สุดคือภูเก็ตรองลงมาคือเมืองกระบี่และสุราษฎร์ จากรายงานข้างต้นแสดงให้เห็นว่าจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดกระบี่เป็นจังหวัดที่สร้างรายได้ให้กับธุรกิจท่องเที่ยวเป็นอย่างมากจังหวัดภูเก็ตภูเก็ตอุดมไปด้วยธรรมชาติที่สวยสดงดงามเช่นหาดป่าตองหาดกะตะหาดกะรนนอกจากนี้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมขณะที่จังหวัดกระบี่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยวทางทะเลในระดับโลกเช่นเกาะพีพีเกาะไก่เกาะทับอ่าวไร่เลย์ถ้ำพระนางนอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งโบราณคดีเช่นแหล่งถ้ำโบราณคดี จากความสำคัญของการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตและกระบี่ข้างต้นที่ส่งผลให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาในจังหวัดภูเก็ตเป็นจำนวนมากนั้นประกอบกับโครงสร้างของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้นและตลาดนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุเป็นตลาดใหญ่ที่มีศักยภาพและน่าสนใจเป็นอย่างมากต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวซึ่งมีบทบาทอย่างมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดภูเก็ตและกระบี่รวมถึงประเทศชาติจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนและมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งทางคณะผู้วิจัยจึงมุ่งทำการศึกษากลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยและชาวต่างชาติในจังหวัดภูเก็ตและกระบี่การศึกษาวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยและชาวต่างชาติหันมาท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตและกระบี่มากยิ่งขึ้นซึ่งรายได้จากการท่องเที่ยวดังกล่าวจะส่งผลต่อให้ธุรกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้งในจังหวัดภูเก็ตเมืองกระบี่และจังหวัดใกล้เคียง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
และการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค นำโดยพลเอกประยุทธ์จันทร์โอชา 2558 ที่ผ่านมา โดยสามารถสร้างรายได้ถึง 2.23 ล้านล้านบาทสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด ไว้ 29.88 ล้านคนนำรายได้เข้าประเทศ 1.44 ล้านล้านบาทและคนไทยเดินทาง 138.8 ล้านครั้ง
40-50 ปีในช่วงปี พ.ศ. 2555-2559 ประชากรสูงอายุในโลกจะเพิ่มขึ้นอีก 81.9 ล้านคน และมีความพร้อมทางด้านการเงิน
พ.ศ. 2556 2556 มีจำนวน 26,735,583 คนขยายตัว 19.60% เมื่อเทียบกับปี 2555 ที่ผ่านมา 93% เป็นอันดับที่ 1 สำหรับรายได้จาการท่องเที่ยวในปี พ.ศ. 2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 983,928.36 ล้านบาทภาคใต้ มีจำนวนทั้งสิ้น 6.1 ล้านคนคิดเป็นสัดส่วน 20.9% (หากไม่นับรวมกรุงเทพฯ) จำนวนทั้งสิ้น 104,437 ล้านบาทคิดเป็นสัดส่วน 25.7% คือภูเก็ตรองลงมาคือสงขลาและ กระบี่จำนวน 2.09 0.64 และ 0.57 ล้านคนตามลำดับคิดเป็นสัดส่วน 39.8%, 12.3% และ 10.9% ตามลำดับ ภูเก็ตรองลงมาคือกระบี่
เช่นหาดป่าตองหาดกะตะหาด กะรน เช่นเกาะพีพีเกาะไก่เกาะทับ อ่าวไร่เลย์ถ้ำพระนางนอกจากนี้ เช่น
และกระบี่รวมถึงประเทศชาติ และกระบี่ และกระบี่มากยิ่งขึ้น กระบี่และจังหวัดใกล้เคียง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการขยายตัวสูงส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเป็นแหล่งรายได้ที่สําคัญในอันดับต้นก่อให้เกิดการสร้างงานและการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคนับได้ว่าการท่องเที่ยวเป็นกลไกขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศซึ่งสอดคล้องกับรัฐบ าลปัจจุบันคณะรักษาความสงบแห่งชาตินำโดยพลเอกประยุทธ์จันทร์โอชาที่ได้รับฟังผลการดำเนินงานปีท่องเที่ยววิถีไทย 2558 ที่ผ่านมาซึ่งประสบความสำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้โดยสามารถสร้างรายได้ถึง 2.23 ล้านล้านบาทสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้โดยมีนักท่องเที่ยวต่างประเทศ เดินทางเข้าประเทศ 29.88 ล้านคนนำรายได้เข้าประเทศ 1.44 ล้านล้านบาทและคนไทยเดินทาง 138.8 ล้านครั้งก่อให้เกิดรายได้หมุนเวียนในประเทศขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลกก้าวสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่เป็นสังคมผู้สูงอายุมานานกว่า 40-50 . ในช่วงปีพ . ศ 2555-2559 ประชากรสูงอายุในโลกจะเพิ่มขึ้นอีก 81.9 ล้านคนซึ่งผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตหลังเกษี . ยณอายุงานประกอบกิจกรรมต่างๆและมีเวลามากกว่านักท่องเที่ยววัยอื่นๆและมีความพร้อมทางด้านการเงินการท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุจึงเป็นช่องทางการท่องเที่ยวตลาดใหม่เนื่องจากเป็นตลาดที่มีคุณภาพและมีกำลังซื้อในการท่องเที่ยวสูงกว่าตลาดทั่วไปสำหรับสถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศไทยปีพ . ศ 2556 มีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2556 มีจำนวน 26735583 คนขยายตัว 19.60 % เมื่อเทียบกับปี 2555 ที่ผ่านมานักท่องเที่ยวจีนเป็นตลาดที่มีการขยายตัวสูงสุด 93% เป็นอันดับที่ 1 สำหรับรายได้จาการท่องเที่ยวในปีพ . ศ 2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 983928.36 ล้ านบาทภาคใต้เป็นภูมิภาคที่นักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและต่างชาตินิยมเดินทางไปท่องเที่ยวมากที่สุดมีจำนวนทั้งสิ้น 6.1 ล้านคนคิดเป็นสัดส่วน 20.9% จากเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมดของแต่ละภูมิภาคและสร้างรายได้ให้แก่ประเทศมากที่สุดเช่นกัน ( หากไม่นับรวมกรุงเ ทพฯ ) จำนวนทั้งสิ้น 104437 ล้านบาทคิดเป็นสัดส่วน 25.7 % สำหรับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: