อัมพชาดก พระพุทธเจ้าตรัสเล่าเรื่อง

อัมพชาดก พระพุทธเจ้าตรัสเล่าเรื่อง

อัมพชาดก
พระพุทธเจ้าตรัสเล่าเรื่อง "อัมพชาดก" ประกอบเรื่องที่พระเทวทัตคิดเป็นใหญ่และจะปกครองสังฆมณฑลแทนพระพุทธเจ้า รวมทั้งสังฆเภท (ทำให้สงฆ์แตกกัน) สร้างความแตกแยกขึ้นในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า "มิใช่แต่ชาตินี้เท่านั้นที่เทวทัตบอกคืนอาจารย์ ชาติก่อนก็เช่นกัน" แล้วจึงทรงเล่าเรื่องอัมพชาดก ความว่า
ในอดีตกาลมีพราหมณ์หนุ่มคนหนึ่งได้เล่าเรียนมนต์เสกมะม่วงให้ออกผลได้ในชั่วพริบตาโดยอาจารย์ซึ่งเป็นจัณฑาล มีข้อแม้ว่า "มนต์นี้หาค่ามิได้ อาศัยมนต์นี้แล้วจะได้ลาภสักการะมากมาย ถ้ามีคนถามว่าเรียนมนต์นี้มาจากใคร ให้บอกตามความเป็นจริงว่าศึกษามาจากอาจารย์ผู้เป็นจัณฑาล มิฉะนั้นแล้วมนต์ก็จะเสื่อม"
พราหมณ์หนุ่มใช้มนต์เสกมะม่วงในการเลี้ยงชีพ วันหนึ่งคนรัษาพระราชอุทยานของพระเจ้ากรุงพาราณสีซื้อมะม่วงที่เกิดจากมนต์ไปถวายพระราชา พระองค์ทรงติดใจรสชาติของมะม่วง จึงให้ถามพราหมณ์หนุ่มว่าเรียนมนต์เสกมะม่วงมาจากใคร ด้วยความละอายที่จะบอกว่าอาจารย์ของตนเป็นจัณฑาล พราหมณ์หนุ่มจึงกราบทูลเป็นเท็จว่าได้เล่าเรียนมนต์มาจากทิศาปาโมกข์แห่งกรุงตักศิลา ทันทีที่พราหมณ์กล่าวเท็จ มนต์ก็เสื่อมโดยไม่รู้ตัว เมื่อพระราชารับสั่งให้เสกมะม่วงให้เสวย แม้พราหมณ์จะร่ายมนต์อย่างไร ก็ไม่ได้ผลอย่างเช่นเคย พราหมณ์หนุ่มจึงกราบทูลความจริงว่าตนได้เรียนมนต์มาจากอาจารย์จัณฑาล
เมื่อพระราชาทรงทราบความจริงก็กริ้วพราหมณ์หนุ่ม แล้วตรัสว่า "บุคคลใดรู้แจ้งธรรมจากอาจารย์ใด ไม่ว่าเป็นกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร คนจัณฑาล อาจารย์นั้นแลเป็นคนที่ประเสริฐสุดของเขา" เมื่อตรัสแล้วพระราชาก็รับสั่งให้เฆี่ยนพราหมณ์หนุ่ม และขับไล่ออกจากพระนคร
พราหมณ์หนุ่มกลับไปยังที่อยู่ของอาจารย์จัณฑาล กราบแทบเท้าอาจารย์แล้วสารภาพความผิด และขอเรียนมนต์ใหม่ แต่อาจารย์จัณฑาลกล่าวว่า " เราประสาทมนต์แก่เจ้าโดยธรรม เจ้าก็รับเอาไปโดยธรรม ถ้าเจ้าตั้งอยู่ในธรรม มนต์ก็จะไม่เสื่อม ดูก่อนเจ้าทรามปัญญา มนต์นั้นเจ้าได้มาโดยลำบาก เป็นของหายากที่จะหาได้ในมนุษย์ในโลกนี้ เราอุตส่าห์ถ่ายทอดให้เจ้าเพื่อเป็นเครื่องมือเลี้ยงชีพ แต่เจ้ากลับทำลายด้วยการพูดเท็จ หลอกลวง เจ้าคนชั่วเอย มนต์ใดจะมีแก่เจ้า เราไม่มีวันถ่ายทอดมนต์ให้เจ้าอีกแล้ว" เมื่อกล่าวจบ อาจารย์จัณฑาลก็ขับไล่พราหมณ์หนุ่มไปให้พ้นจากบ้านของตน พราหมณ์หนุ่มออกจากบ้านอาจารย์จัณฑาลด้วยจิตใจแตกสลาย คิดว่าตนจะมีชีวิตอยู่ทำไม ตายเสียดีกว่า แล้วก็เดินทางเข้าป่า ตายอย่างคนอนาถา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อัมพชาดก พระพุทธเจ้าตรัสเล่าเรื่อง "อัมพชาดก" ประกอบเรื่องที่พระเทวทัตคิดเป็นใหญ่และจะปกครองสังฆมณฑลแทนพระพุทธเจ้า รวมทั้งสังฆเภท (ทำให้สงฆ์แตกกัน) สร้างความแตกแยกขึ้นในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า "มิใช่แต่ชาตินี้เท่านั้นที่เทวทัตบอกคืนอาจารย์ ชาติก่อนก็เช่นกัน" แล้วจึงทรงเล่าเรื่องอัมพชาดก ความว่า ในอดีตกาลมีพราหมณ์หนุ่มคนหนึ่งได้เล่าเรียนมนต์เสกมะม่วงให้ออกผลได้ในชั่วพริบตาโดยอาจารย์ซึ่งเป็นจัณฑาล มีข้อแม้ว่า "มนต์นี้หาค่ามิได้ อาศัยมนต์นี้แล้วจะได้ลาภสักการะมากมาย ถ้ามีคนถามว่าเรียนมนต์นี้มาจากใคร ให้บอกตามความเป็นจริงว่าศึกษามาจากอาจารย์ผู้เป็นจัณฑาล มิฉะนั้นแล้วมนต์ก็จะเสื่อม" พราหมณ์หนุ่มใช้มนต์เสกมะม่วงในการเลี้ยงชีพ วันหนึ่งคนรัษาพระราชอุทยานของพระเจ้ากรุงพาราณสีซื้อมะม่วงที่เกิดจากมนต์ไปถวายพระราชา พระองค์ทรงติดใจรสชาติของมะม่วง จึงให้ถามพราหมณ์หนุ่มว่าเรียนมนต์เสกมะม่วงมาจากใคร ด้วยความละอายที่จะบอกว่าอาจารย์ของตนเป็นจัณฑาล พราหมณ์หนุ่มจึงกราบทูลเป็นเท็จว่าได้เล่าเรียนมนต์มาจากทิศาปาโมกข์แห่งกรุงตักศิลา ทันทีที่พราหมณ์กล่าวเท็จ มนต์ก็เสื่อมโดยไม่รู้ตัว เมื่อพระราชารับสั่งให้เสกมะม่วงให้เสวย แม้พราหมณ์จะร่ายมนต์อย่างไร ก็ไม่ได้ผลอย่างเช่นเคย พราหมณ์หนุ่มจึงกราบทูลความจริงว่าตนได้เรียนมนต์มาจากอาจารย์จัณฑาล เมื่อพระราชาทรงทราบความจริงก็กริ้วพราหมณ์หนุ่ม แล้วตรัสว่า "บุคคลใดรู้แจ้งธรรมจากอาจารย์ใด ไม่ว่าเป็นกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร คนจัณฑาล อาจารย์นั้นแลเป็นคนที่ประเสริฐสุดของเขา" เมื่อตรัสแล้วพระราชาก็รับสั่งให้เฆี่ยนพราหมณ์หนุ่ม และขับไล่ออกจากพระนคร
พราหมณ์หนุ่มกลับไปยังที่อยู่ของอาจารย์จัณฑาล กราบแทบเท้าอาจารย์แล้วสารภาพความผิด และขอเรียนมนต์ใหม่ แต่อาจารย์จัณฑาลกล่าวว่า " เราประสาทมนต์แก่เจ้าโดยธรรม เจ้าก็รับเอาไปโดยธรรม ถ้าเจ้าตั้งอยู่ในธรรม มนต์ก็จะไม่เสื่อม ดูก่อนเจ้าทรามปัญญา มนต์นั้นเจ้าได้มาโดยลำบาก เป็นของหายากที่จะหาได้ในมนุษย์ในโลกนี้ เราอุตส่าห์ถ่ายทอดให้เจ้าเพื่อเป็นเครื่องมือเลี้ยงชีพ แต่เจ้ากลับทำลายด้วยการพูดเท็จ หลอกลวง เจ้าคนชั่วเอย มนต์ใดจะมีแก่เจ้า เราไม่มีวันถ่ายทอดมนต์ให้เจ้าอีกแล้ว" เมื่อกล่าวจบ อาจารย์จัณฑาลก็ขับไล่พราหมณ์หนุ่มไปให้พ้นจากบ้านของตน พราหมณ์หนุ่มออกจากบ้านอาจารย์จัณฑาลด้วยจิตใจแตกสลาย คิดว่าตนจะมีชีวิตอยู่ทำไม ตายเสียดีกว่า แล้วก็เดินทางเข้าป่า ตายอย่างคนอนาถา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อัมพชาดก
พระพุทธเจ้าตรัสเล่าเรื่อง "อัมพชาดก" รวมทั้งสังฆเภท (ทำให้สงฆ์แตกกัน) สร้างความแตกแยกขึ้นในพระพุทธศาสนาพระพุทธเจ้า จึงตรัสว่า ชาติก่อนก็เช่นกัน "แล้วจึงทรงเล่าเรื่องอัมพชาดก
มีข้อแม้ว่า "มนต์นี้หาค่ามิได้ ถ้ามีคนถามว่าเรียนมนต์นี้ มาจากใคร
พระองค์ทรงติดใจรสชาติของมะม่วง ทันทีที่พราหมณ์กล่าวเท็จมนต์ก็เสื่อม โดยไม่รู้ตัว แม้พราหมณ์จะร่ายมนต์อย่างไรก็ไม่ ได้ผลอย่างเช่นเคย
แล้วตรัสว่า "บุคคลใดรู้แจ้งธรรมจากอาจารย์ใด ไม่ว่าเป็นกษัตริย์พราหมณ์แพศย์ศูทรคนจัณฑาล
และขอเรียนมนต์ใหม่ แต่อาจารย์จัณฑาล กล่าวว่า "เราประสาทมนต์แก่เจ้าโดยธรรมเจ้า ก็รับเอาไปโดยธรรมถ้าเจ้าตั้งอยู่ในธรรมมนต์ก็จะไม่เสื่อมดูก่อนเจ้าทรามปัญญามนต์นั้นเจ้าได้มาโดยลำบาก แต่เจ้ากลับทำลายด้วยการพูดเท็จ หลอกลวงเจ้าคนชั่วเอยมนต์ใดจะมีแก่เจ้า เมื่อกล่าวจบ คิดว่าตนจะมีชีวิตอยู่ทำไม ตายเสียดีกว่าแล้วก็เดินทางเข้าป่าตายอย่างคนอนาถา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
อัมพชาดกพระพุทธเจ้าตรัสเล่าเรื่อง " อัมพชาดก " ประกอบเรื่องที่พระเทวทัตคิดเป็นใหญ่และจะปกครองสังฆมณฑลแทนพระพุทธเจ้ารวมทั้งสังฆเภท ( ทำให้สงฆ์แตกกัน ) สร้างความแตกแยกขึ้นในพระพุทธศาสนาพระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า " มิใช่แต่ชาตินี้เท่านั้นที่เทวทัตบอกคืนอาจารย์ชาติก่อนก็เช่นกั น " แล้วจึงทรงเล่าเรื่องอัมพชาดกความว่าในอดีตกาลมีพราหมณ์หนุ่มคนหนึ่งได้เล่าเรียนมนต์เสกมะม่วงให้ออกผลได้ในชั่วพริบตาโดยอาจารย์ซึ่งเป็นจัณฑาลมีข้อแม้ว่า " มนต์นี้หาค่ามิได้อาศัยมนต์นี้แล้วจะได้ลาภสักการะมากมายถ้ามีคนถามว่าเรียนมนต์นี้มาจากใครให้บอกตามความเป็นจริงว่าศึกษามาจากอาจารย์ผู้เป็ นจัณฑาลมิฉะนั้นแล้วมนต์ก็จะเสื่อม "พราหมณ์หนุ่มใช้มนต์เสกมะม่วงในการเลี้ยงชีพวันหนึ่งคนรัษาพระราชอุทยานของพระเจ้ากรุงพาราณสีซื้อมะม่วงที่เกิดจากมนต์ไปถวายพระราชาพระองค์ทรงติดใจรสชาติของมะม่วงจึงให้ถามพราหมณ์หนุ่มว่าเรียนมนต์เสกมะม่วงมาจากใครด้วยความละอายที่จะบอกว่าอาจารย์ของตนเป็นจั ณฑาลพราหมณ์หนุ่มจึงกราบทูลเป็นเท็จว่าได้เล่าเรียนมนต์มาจากทิศาปาโมกข์แห่งกรุงตักศิลาทันทีที่พราหมณ์กล่าวเท็จมนต์ก็เสื่อมโดยไม่รู้ตัวเมื่อพระราชารับสั่งให้เสกมะม่วงให้เสวยแม้พราหมณ์จะร่ายมนต์อย่างไรก็ไม่ได้ผลอย่างเช่นเคยพราหมณ์หนุ่มจึงกราบทูลความจร ิงว่าตนได้เรียนมนต์มาจากอาจารย์จัณฑาลเมื่อพระราชาทรงทราบความจริงก็กริ้วพราหมณ์หนุ่มแล้วตรัสว่า " บุคคลใดรู้แจ้งธรรมจากอาจารย์ใดไม่ว่าเป็นกษัตริย์พราหมณ์แพศย์ศูทรคนจัณฑาลอาจารย์นั้นแลเป็นคนที่ประเสริฐสุดของเขา " เมื่อตรัสแล้วพระราชาก็รับสั่งให้เฆี่ยนพราหมณ์หนุ่มและขับไล่ออกจากพระนครพราหมณ์หนุ่มกลับไปยังที่อยู่ของอาจารย์จัณฑาลกราบแทบเท้าอาจารย์แล้วสารภาพความผิดและขอเรียนมนต์ใหม่แต่อาจารย์จัณฑาลกล่าวว่า " เราประสาทมนต์แก่เจ้าโดยธรรมเจ้าก็รับเอาไปโดยธรรมถ้าเจ้าตั้งอยู่ในธรรมมนต์ก็จะไม่เสื่อมดูก่อนเจ้าทรามปัญญามนต์นั้นเจ้าได้มาโดย ลำบากเป็นของหายากที่จะหาได้ในมนุษย์ในโลกนี้เราอุตส่าห์ถ่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: