กีฬาแชร์บอล แชร์บอล นับได้ว่าเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการ การแปล - กีฬาแชร์บอล แชร์บอล นับได้ว่าเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการ ไทย วิธีการพูด

กีฬาแชร์บอล แชร์บอล นับได้ว่าเป็นกี

กีฬาแชร์บอล
แชร์บอล นับได้ว่าเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างดี เนื่องจากสามารถเล่นบนพื้นที่จำกัดและเล่นได้ทั้งในร่มและกลางแจ้ง อีกทั้งกติกาการแข่งก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อย อุปกรณ์ก็มีราคาถูกและหาได้ง่าย และที่สำคัญยังสามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย ดังนั้น เราจึงเห็นได้ว่ากีฬาแชร์บอลนิยมเล่นและจัดแข่งขันกันในระดับโรงเรียน และหน่วยงานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย และวันนี้กระปุุกดอทคอมก็มีเกร็ดความรู้เกี่ยวกับ ประวัติแชร์บอล มาฝากกันค่ะ

ประวัติแชร์บอล

กีฬาแชร์บอลไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีกำเนิดหรือเล่นกันมาตั้งแต่เมื่อใด แต่ทั้งนี้ ตั้งแต่ในอดีต กีฬาแชร์บอลเป็นเกมกีฬาที่มุ่งเน้นการปลูกฝัง หรือเป็นการปูพื้นฐานการเล่นกีฬาจำพวกบาสเกตบอล แฮนด์บอล หรือกีฬาประเภทอื่น ๆ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการเคลื่อนไหว รวมถึงทักษะการฝึกฝนเบื้องต้นด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นการฝึกความพร้อมของร่างกายและจิตใจ

ส่วนระเบียบการเล่น หรือ กติกาแชร์บอล ในตอนแรกยังไม่มีระบุขึ้นมาตายตัว เพียงแต่ยึดถือกติกาบาสเกตบอลในบางส่วนมาใช้ โดยการอนุโลมให้เหมาะสมเท่านั้น จากหลักฐานที่ปรากฏผู้ที่คิดค้นกีฬาแชร์บอลขึ้นมาเล่นคือ พันเอกมงคล พรหมสาขา ณ สกลนคร และได้มีการพัฒนาอย่างแพร่หลาย เนื่องจากแชร์บอลเป็นกีฬาที่เล่นง่าย เพราะไม่จำกัดเพศของผู้เล่น คือ อาจจะเล่นรวมทั้งชายและหญิงผสมกัน และสถานที่ สามารถเล่นได้กับทุกสนามไม่ว่าจะเป็น สนามหญ้า พื้นดิน พื้นซีเมนต์ พื้นไม้ ฯลฯ ส่วนลูกบอลที่ใช้จะใช้ลูกเนตบอล หรือลูกวอลเลย์บอล ถ้าไม่มีก็ใช้วัสดุอื่นแทนได้ เช่น ม้วนผ้าเป็นลักษณะกลม ๆ ก็สามารถเล่นได้ ส่วนภาชนะที่ใช่รับลูกบอลนอกจากตะกร้ายังสามารถใช้อย่างอื่นที่ใส่ลูกได้

โดยจุดประสงค์ของกีฬาแชร์บอล คือ ผู้เล่นแต่ละฝ่ายช่วยกันรับส่งลูกบอลให้ผู้เล่นฝ่ายเดียวกัน นำลูกบอลผ่านฝ่ายตรงข้ามโยนลงไปในตะกร้าของฝ่ายตนเองที่ยืนรอรับอยู่ข้างหน้า(ด้านหลังของฝ่ายตรงข้าม) โดยโยนให้เข้าตะกร้าให้มากที่สุด และในทางตรงกันข้ามอีกฝ่ายก็จะต้องป้องกันไม่ให้ลูกบอลส่งข้ามไปเข้าตะกร้าเช่นกัน

ปัจจุบันกีฬาแชร์บอลเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย ไม่เพียงแต่เล่นหรือแข่งขันภายในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเท่านั้น หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชนต่างก็ให้ความสนใจนิยมเล่นกัน และมีการแข่งขันทั้งภายในหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงาน เนื่องจากกีฬาแชร์บอลเป็นสื่ออย่างหนึ่งที่จะช่วยให้เชื่อมความสามัคคีระหว่างกันได้เป็นอย่างดี

แชร์บอล

กติกาแชร์บอล

แชร์บอล

1. สนามแชร์บอล

1.1 สนามเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 16 เมตร (เส้นหลัง) ยาว 32 เมตร (เส้นข้าง) สนามแบ่งเป็นสองส่วนเท่า ๆ กัน ด้วยเส้นแบ่งแดน ขนาดสนามนี้จะเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยมีบริเวณเขตรอบสนามอย่างน้อย 1 เมตร ถ้าเป็นสนามในร่มความสูงจากพื้นสนามขึ้นไปไม่ควรน้อยกว่า 6 เมตร
1.2 วงกลมกลางสนาม ที่จุดกึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน ให้เขียนวงกลมรัศมี 1.80 เมตร
1.3 เขตผู้ป้องกันตะกร้า ที่จุดกึ่งกลางของเส้นหลังทั้งสองด้าน เขียนครึ่งวงกลม รัศมี 3.00 เมตร ในสนามเล่น เขตนี้เรียกว่า เขตผู้ป้องกันตะกร้า
1.4 เส้นโทษ ถัดจากจุดกึ่งกลางเส้นหลังเข้าไปในสนาม 8.00 เมตร ลากเส้นให้ขนานกับเส้นหลังยาว 50 เซนติเมตร (โดยลากให้กึ่งกลางของเส้นอยู่ที่กึ่งกลางของความกว้าง)
1.5 เส้นทุกเส้นกว้าง 5 เซนติเมตร (สีขาว) และเป็นส่วนหนึ่งของเขตนั้น





2. อุปกรณ์การแข่งขัน

แชร์บอล

2.1 เก้าอี้ เป็นเก้าอี้ชนิด 4 ขา มีความแข็งแรงมั่นคง ไม่มีพนักพิง สูง 35-40 เซนติเมตร ขนาดของที่นั่ง กว้าง 30-35 เซนติเมตร หรือเป็นเก้าอี้ที่มีขนาดใกล้เคียงและเป็นชนิดเดียวกันทั้งสองตัว เก้าอี้นี้วางไว้ที่จุดกึ่งกลางของเส้นหลัง โดยให้ขาหน้าของเก้าอี้ทั้งสองขาวางอยู่บนเส้นสนาม

แชร์บอล

2.2 ตะกร้า ขนาดสูง 30-35 เซนติเมตร ปากตะกร้าเป็นรูปทรงกลม มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 30-35 เซนติเมตร ทำด้วยหวายที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้เล่น หรือวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่เกิดอันตราย มีน้ำหนักเบาเท่ากัน

แชร์บอล

2.3 ลูกบอล ใช้ลูกแชร์บอล หรือลูกฟุตบอลขนาดเบอร์ 4-5 หรือลูกที่ฝ่ายจัดการแข่งขันรับรอง ซึ่งฝ่ายจัดการแข่งขัน จะต้องแจ้งให้ผู้แข่งขันทราบก่อนในระเบียบการแข่งขัน
2.4 นาฬิกาจับเวลา 2 เรือน ใช้สำหรับจับเวลานอก และเวลาแข่งขัน
2.5 ใบบันทึกการเข่งขัน
2.6 ป้ายคะแนน
2.7 สัญญาณหมดเวลาการแข่งขัน (นกหวีด ระฆัง กริ่ง ฯลฯ)
2.8 ป้ายบอกจำนวนครั้งของการฟาวล์ (ถ้ามี)

3. เวลาการแข่งขัน

3.1 เวลาการแข่งขัน แบ่งออกเป็น 2 ครึ่ง ครึ่งละ 20 นาที พักระหว่างครึ่ง 5 นาที (เวลาการแข่งขันนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมกับนักกีฬา โดยต้องแจ้งไว้ในระเบียบการแข่งขันก่อน)
3.2 เวลาการแข่งขันเริ่มขึ้นเมื่อ ผู้ตัดสินได้โยนลูกบอลขึ้นระหว่างผู้เล่นสองคนของแต่ละฝ่ายที่อยู่ในวงกลม และลูกบอลได้ถูกผู้เล่นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแล้ว
3.3 เมื่อเริ่มแข่งขันครึ่งเวลาหลัง และเวลาเพิ่มพิเศษแต่ละช่วงให้เปลี่ยนแดนกัน
3.4 เวลานอก ให้แต่ละทีมขอเวลานอกได้ครึ่งเวลาละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 นาที
3.5 การต่อเวลาการแข่งขัน เมื่อผลการแข่งขันเสมอกัน ให้ต่อเวลาเพิ่มพิเศษอีกช่วงละ 5 นาที จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะกันหรือจะมีข้อตกลงเป็นอย่างอื่น
3.6 การขอเวลานอกในเวลาเพิ่มพิเศษ ให้ขอเวลานอกได้ช่วงละ 1 ครั้ง
3.7 ชุดใดที่มาแข่งขันช้ากว่ากำหนดเวลาการแข่งขัน 15 นาทีให้ปรับเป็นแพ้

4. ผู้เล่น

4.1 ชุดหนึ่งประกอบไปด้วยผู้เล่น 12 คน เป็นผู้เล่นในสนาม 7 คน ผู้เล่นสำรอง 5 คน ผู้เล่นสำรองและเจ้าหน้าที่ประจำทีม ต้องนั่งที่ที่คณะกรรมการจัดไว้ให้
4.2 เมื่อเริ่มทำการแข่งขัน ต้องมีผู้เล่นในสนามฝ่ายละ 7 คนและในระหว่างการแข่งขันฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีผู้เล่นน้อยกว่า 5 คน ให้ปรับแพ้
4.3 ผู้เล่นสำรองจะเข้าเล่นได้ เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสินและต้องทำการเปลี่ยนตัวที่บริเวณเส้นแบ่งแดนด้านเดียวกับโต๊ะเจ้าที่จัดการแข่งขัน (เขตเปลี่ยนตัว)
4.4 ผู้เล่นแต่ละชุดต้องสวมเสื้อที่มี่สีเดียวกัน และติดหมายเลขที่ด้านหน้า ขนาดสูงไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร ที่ด้านหลังขนาดสูงไม่น้อยกว่า 20 เซนติเมตร ใช้หมายเลข 1 – 12 สีของหมายเลขต้องแตกต่างจากสีเสื้ออย่างชัดเจน
4.5 ห้ามผู้เล่นสวมเครื่องประดับที่
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กีฬาแชร์บอล แชร์บอลนับได้ว่าเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างดีเนื่องจากสามารถเล่นบนพื้นที่จำกัดและเล่นได้ทั้งในร่มและกลางแจ้งอีกทั้งกติกาการแข่งก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อนสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยอุปกรณ์ก็มีราคาถูกและหาได้ง่ายและที่สำคัญยังสามารถเล่นได้ทุกเพศทุกวัยดังนั้นเราจึงเห็นได้ว่ากีฬาแชร์บอลนิยมเล่นและจัดแข่งขันกันในระดับโรงเรียนและหน่วยงานต่างๆ อย่างแพร่หลายและวันนี้กระปุุกดอทคอมก็มีเกร็ดความรู้เกี่ยวกับประวัติแชร์บอลมาฝากกันค่ะ ประวัติแชร์บอล กีฬาแชร์บอลไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีกำเนิดหรือเล่นกันมาตั้งแต่เมื่อใดแต่ทั้งนี้ตั้งแต่ในอดีตกีฬาแชร์บอลเป็นเกมกีฬาที่มุ่งเน้นการปลูกฝังหรือเป็นการปูพื้นฐานการเล่นกีฬาจำพวกบาสเกตบอลแฮนด์บอลหรือกีฬาประเภทอื่นๆ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการเคลื่อนไหวรวมถึงทักษะการฝึกฝนเบื้องต้นด้านต่างๆ เพื่อเป็นการฝึกความพร้อมของร่างกายและจิตใจ ส่วนระเบียบการเล่นกติกาแชร์บอลในตอนแรกยังไม่มีระบุขึ้นมาตายตัวเพียงแต่ยึดถือกติกาบาสเกตบอลในบางส่วนมาใช้โดยการอนุโลมให้เหมาะสมเท่านั้นจากหลักฐานที่ปรากฏผู้ที่คิดค้นกีฬาแชร์บอลขึ้นมาเล่นคือพันเอกมงคลพรหมสาขาณสกลนครและได้มีการพัฒนาอย่างแพร่หลายเนื่องจากแชร์บอลเป็นกีฬาที่เล่นง่ายเพราะไม่จำกัดเพศของผู้เล่นคืออาจจะเล่นรวมทั้งชายและหญิงผสมกันและสถานที่สามารถเล่นได้กับทุกสนามไม่ว่าจะเป็นสนามหญ้าพื้นดินพื้นซีเมนต์พื้นไม้ฯลฯ ส่วนลูกบอลที่ใช้จะใช้ลูกเนตบอลลูกวอลเลย์บอลถ้าไม่มีก็ใช้วัสดุอื่นแทนได้เช่นม้วนผ้าเป็นลักษณะกลมๆ ก็สามารถเล่นได้ส่วนภาชนะที่ใช่รับลูกบอลนอกจากตะกร้ายังสามารถใช้อย่างอื่นที่ใส่ลูกได้ โดยจุดประสงค์ของกีฬาแชร์บอลคือผู้เล่นแต่ละฝ่ายช่วยกันรับส่งลูกบอลให้ผู้เล่นฝ่ายเดียวกันนำลูกบอลผ่านฝ่ายตรงข้ามโยนลงไปในตะกร้าของฝ่ายตนเองที่ยืนรอรับอยู่ข้างหน้า(ด้านหลังของฝ่ายตรงข้าม)โดยโยนให้เข้าตะกร้าให้มากที่สุดและในทางตรงกันข้ามอีกฝ่ายก็จะต้องป้องกันไม่ให้ลูกบอลส่งข้ามไปเข้าตะกร้าเช่นกัน ปัจจุบันกีฬาแชร์บอลเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย ไม่เพียงแต่เล่นหรือแข่งขันภายในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเท่านั้น หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชนต่างก็ให้ความสนใจนิยมเล่นกัน และมีการแข่งขันทั้งภายในหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงาน เนื่องจากกีฬาแชร์บอลเป็นสื่ออย่างหนึ่งที่จะช่วยให้เชื่อมความสามัคคีระหว่างกันได้เป็นอย่างดีแชร์บอล กติกาแชร์บอลแชร์บอล 1. สนามแชร์บอล1.1 สนามเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 16 เมตร (เส้นหลัง) ยาว 32 เมตร (เส้นข้าง) สนามแบ่งเป็นสองส่วนเท่า ๆ กัน ด้วยเส้นแบ่งแดน ขนาดสนามนี้จะเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยมีบริเวณเขตรอบสนามอย่างน้อย 1 เมตร ถ้าเป็นสนามในร่มความสูงจากพื้นสนามขึ้นไปไม่ควรน้อยกว่า 6 เมตร1.2 วงกลมกลางสนาม ที่จุดกึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน ให้เขียนวงกลมรัศมี 1.80 เมตร1.3 เขตผู้ป้องกันตะกร้า ที่จุดกึ่งกลางของเส้นหลังทั้งสองด้าน เขียนครึ่งวงกลม รัศมี 3.00 เมตร ในสนามเล่น เขตนี้เรียกว่า เขตผู้ป้องกันตะกร้า1.4 เส้นโทษถัดจากจุดกึ่งกลางเส้นหลังเข้าไปในสนามเวลา 8.00 เมตรลากเส้นให้ขนานกับเส้นหลังยาว 50 เซนติเมตร (โดยลากให้กึ่งกลางของเส้นอยู่ที่กึ่งกลางของความกว้าง)1.5 เส้นทุกเส้นกว้าง 5 เซนติเมตร (สีขาว) และเป็นส่วนหนึ่งของเขตนั้น 2. อุปกรณ์การแข่งขันแชร์บอล2.1 เก้าอี้เป็นเก้าอี้ชนิด 4 ขามีความแข็งแรงมั่นคงไม่มีพนักพิงสูง 35-40 เซนติเมตรขนาดของที่นั่งกว้าง 30-35 เซนติเมตรหรือเป็นเก้าอี้ที่มีขนาดใกล้เคียงและเป็นชนิดเดียวกันทั้งสองตัวเก้าอี้นี้วางไว้ที่จุดกึ่งกลางของเส้นหลังโดยให้ขาหน้าของเก้าอี้ทั้งสองขาวางอยู่บนเส้นสนามแชร์บอล2.2 ตะกร้า ขนาดสูง 30-35 เซนติเมตร ปากตะกร้าเป็นรูปทรงกลม มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 30-35 เซนติเมตร ทำด้วยหวายที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้เล่น หรือวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่เกิดอันตราย มีน้ำหนักเบาเท่ากันแชร์บอล2.3 ลูกบอล ใช้ลูกแชร์บอล หรือลูกฟุตบอลขนาดเบอร์ 4-5 หรือลูกที่ฝ่ายจัดการแข่งขันรับรอง ซึ่งฝ่ายจัดการแข่งขัน จะต้องแจ้งให้ผู้แข่งขันทราบก่อนในระเบียบการแข่งขัน2.4 นาฬิกาจับเวลา 2 เรือน ใช้สำหรับจับเวลานอก และเวลาแข่งขัน2.5 ใบบันทึกการเข่งขัน2.6 ป้ายคะแนน2.7 สัญญาณหมดเวลาการแข่งขัน (นกหวีด ระฆัง กริ่ง ฯลฯ)2.8 ป้ายบอกจำนวนครั้งของการฟาวล์ (ถ้ามี) 3. เวลาการแข่งขัน3.1 เวลาการแข่งขัน แบ่งออกเป็น 2 ครึ่ง ครึ่งละ 20 นาที พักระหว่างครึ่ง 5 นาที (เวลาการแข่งขันนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมกับนักกีฬา โดยต้องแจ้งไว้ในระเบียบการแข่งขันก่อน)3.2 เวลาการแข่งขันเริ่มขึ้นเมื่อ ผู้ตัดสินได้โยนลูกบอลขึ้นระหว่างผู้เล่นสองคนของแต่ละฝ่ายที่อยู่ในวงกลม และลูกบอลได้ถูกผู้เล่นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแล้ว3.3 เมื่อเริ่มแข่งขันครึ่งเวลาหลัง และเวลาเพิ่มพิเศษแต่ละช่วงให้เปลี่ยนแดนกัน3.4 เวลานอก ให้แต่ละทีมขอเวลานอกได้ครึ่งเวลาละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 นาที3.5 การต่อเวลาการแข่งขัน เมื่อผลการแข่งขันเสมอกัน ให้ต่อเวลาเพิ่มพิเศษอีกช่วงละ 5 นาที จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะกันหรือจะมีข้อตกลงเป็นอย่างอื่น3.6 การขอเวลานอกในเวลาเพิ่มพิเศษ ให้ขอเวลานอกได้ช่วงละ 1 ครั้ง
3.7 ชุดใดที่มาแข่งขันช้ากว่ากำหนดเวลาการแข่งขัน 15 นาทีให้ปรับเป็นแพ้

4. ผู้เล่น

4.1 ชุดหนึ่งประกอบไปด้วยผู้เล่น 12 คน เป็นผู้เล่นในสนาม 7 คน ผู้เล่นสำรอง 5 คน ผู้เล่นสำรองและเจ้าหน้าที่ประจำทีม ต้องนั่งที่ที่คณะกรรมการจัดไว้ให้
4.2 เมื่อเริ่มทำการแข่งขัน ต้องมีผู้เล่นในสนามฝ่ายละ 7 คนและในระหว่างการแข่งขันฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีผู้เล่นน้อยกว่า 5 คน ให้ปรับแพ้
4.3 ผู้เล่นสำรองจะเข้าเล่นได้ เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสินและต้องทำการเปลี่ยนตัวที่บริเวณเส้นแบ่งแดนด้านเดียวกับโต๊ะเจ้าที่จัดการแข่งขัน (เขตเปลี่ยนตัว)
4.4 ผู้เล่นแต่ละชุดต้องสวมเสื้อที่มี่สีเดียวกัน และติดหมายเลขที่ด้านหน้า ขนาดสูงไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร ที่ด้านหลังขนาดสูงไม่น้อยกว่า 20 เซนติเมตร ใช้หมายเลข 1 – 12 สีของหมายเลขต้องแตกต่างจากสีเสื้ออย่างชัดเจน
4.5 ห้ามผู้เล่นสวมเครื่องประดับที่
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
กีฬาแชร์บอล
แชร์บอลนับได้ว่าเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างดีเนื่องจากสามารถเล่นบนพื้นที่จำกัดและเล่นได้ทั้งในร่มและกลางแจ้งอีกทั้งกติกาการแข่งก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อนอุปกรณ์ก็มีราคาถูกและหาได้ง่ายและที่สำคัญยังสามารถเล่นได้ทุกเพศทุกวัยดังนั้นเราจึงเห็นได้ว่ากีฬาแชร์บอลนิยมเล่นและจัดแข่งขันกันในระดับโรงเรียนและหน่วยงานต่างจะอย่างแพร่หลายประวัติแชร์บอลมาฝากกันค่ะ



ประวัติแชร์บอล
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: