พลังงานจากขยะประเทศไทยประสบปัญหาการจัดการขยะชุมชนมาช้านาน จากการเติบโต การแปล - พลังงานจากขยะประเทศไทยประสบปัญหาการจัดการขยะชุมชนมาช้านาน จากการเติบโต ไทย วิธีการพูด

พลังงานจากขยะประเทศไทยประสบปัญหาการ

พลังงานจากขยะ
ประเทศไทยประสบปัญหาการจัดการขยะชุมชนมาช้านาน จากการเติบโตทางด่านเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว จึงส่งผลให้เกิดปัญหาขยะเพิ่มมากขึ้น ในระยะแรกการฝังกลบเป็นวิธีที่นิยมกันมา แต่ปัจจุบันพื้นที่สำหรับฝังกลบหายากขึ้น และบ่อฝังกลบยังก่อให้เกิดมลภาวะตามมา น้ำเสียจากกองขยะ ทำให้น้ำบนดินและน้ำบาดาลไม่สามารถนำมาบริโภคได้ อีกทั้งกลิ่นเหม็นจากกองขยะก็รบกวนความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ขยะชุมชนจากบ้านเรือนและกิจการต่างๆ เป็นแหล่งพลังงานที่มีศักยภาพสูง ขยะเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นมวลชีวภาพ เช่น กระดาษ เศษอาหาร และไม้ ซึ่งสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าที่ถูกออกแบบให้ใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงได้ โรงไฟฟ้าที่ใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิง จะนำขยะมาเผาบนตะแกรง ความร้อนที่เกิดขึ้นใช้ต้มน้ำในหม้อน้ำจนกลายเป็นไอน้ำเดือด ซึ่งจะไปเพิ่มแรงดันของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
ปริมาณขยะที่มากมายนี้ส่งผลต่อสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ของสังคมมากมาย การคัดแยกขยะจะมีส่วนช่วยลดปริมาณขยะในส่วนที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ประหยัดงบประมาณในการทำลายขยะ สงวนทรัพยากร ประหยัดพลังงานและช่วยให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้นได้ ประเทศไทยมีปริมาณขยะชุมชนเพิ่มขึ้นโดยตลอด หากไม่มีการนำขยะไปใช้ประโยชน์ ในสัดส่วนที่มากขึ้นในปี 2558 จะมีปริมาณขยะต่อวันถึง 49,680 ตัน หรือ 17.8 ล้านตัน ต่อปีปัจจุบันมีการคิดค้นเทคโนโลยีกำจัดขยะที่สามารถแปลงขยะเป็นพลังงานและใช้ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้แก่


• เทคโนโลยีการฝังกลบ และระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะ (Landfill Gas to Energy)
• เทคโนโลยีการเผาขยะ(Incineration)
• เทคโนโลยีการผลิตก๊าชเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน (Municipal Solid Waste or MSW)โดยการแปรสภาพเป็นแก๊ส(Gasification)
• เทคโนโลยีย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) หรือการหมัก
• เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะ(Refuse Derived Fuel : RDF) โดยการทำให้เป็นก้อนเชื้อเพลิง
• เทคโนโลยีพลาสมาอาร์ก (Plasma Arc) ใช้ความร้อนสูงมากๆจากการอาร์ค
• เทคโนโลยีการแปรรูปขยะเป็นน้ำมันเชื้อเพลิง เช่นวิธีการ pyrolysis (การกลั่นและการสลายตัวของสารอินทรีย์ในรูปของของแข็งที่อุณหภูมิ ประมาณ 370-870 องศาเซลเซียส ในภาวะไร้อากาศ)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พลังงานจากขยะประเทศไทยประสบปัญหาการจัดการขยะชุมชนมาช้านานจากการเติบโตทางด่านเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็วจึงส่งผลให้เกิดปัญหาขยะเพิ่มมากขึ้นในระยะแรกการฝังกลบเป็นวิธีที่นิยมกันมาแต่ปัจจุบันพื้นที่สำหรับฝังกลบหายากขึ้นและบ่อฝังกลบยังก่อให้เกิดมลภาวะตามมาน้ำเสียจากกองขยะทำให้น้ำบนดินและน้ำบาดาลไม่สามารถนำมาบริโภคได้อีกทั้งกลิ่นเหม็นจากกองขยะก็รบกวนความเป็นอยู่ของชาวบ้านขยะชุมชนจากบ้านเรือนและกิจการต่าง ๆ เป็นแหล่งพลังงานที่มีศักยภาพสูงขยะเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นมวลชีวภาพเช่นกระดาษเศษอาหารและไม้ซึ่งสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าที่ถูกออกแบบให้ใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงได้โรงไฟฟ้าที่ใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงจะนำขยะมาเผาบนตะแกรงความร้อนที่เกิดขึ้นใช้ต้มน้ำในหม้อน้ำจนกลายเป็นไอน้ำเดือดซึ่งจะไปเพิ่มแรงดันของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าปริมาณขยะที่มากมายนี้ส่งผลต่อสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ของสังคมมากมายการคัดแยกขยะจะมีส่วนช่วยลดปริมาณขยะในส่วนที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ประหยัดงบประมาณในการทำลายขยะสงวนทรัพยากรประหยัดพลังงานและช่วยให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้นได้ประเทศไทยมีปริมาณขยะชุมชนเพิ่มขึ้นโดยตลอดหากไม่มีการนำขยะไปใช้ประโยชน์ในสัดส่วนที่มากขึ้นในปี 2558 จะมีปริมาณขยะต่อวันถึง 49,680 ตันหรือ 17.8 ล้านตันต่อปีปัจจุบันมีการคิดค้นเทคโนโลยีกำจัดขยะที่สามารถแปลงขยะเป็นพลังงานและใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้แก่•เทคโนโลยีการฝังกลบและระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะ (ฝังกลบก๊าซพลังงาน)• เทคโนโลยีการเผาขยะ(Incineration)•เทคโนโลยีการผลิตก๊าชเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน (ขยะหรือ MSW)โดยการแปรสภาพเป็นแก๊ส(Gasification)•เทคโนโลยีย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (อังกฤษ) หรือการหมัก•เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะ (ปฏิเสธมาเชื้อเพลิง: RDF) โดยการทำให้เป็นก้อนเชื้อเพลิง•เทคโนโลยีพลาสมาอาร์ก (พลา Arc) ใช้ความร้อนสูงมากๆจากการอาร์ค•เทคโนโลยีการแปรรูปขยะเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงเช่นวิธีการไพโรไลซิ (การกลั่นและการสลายตัวของสารอินทรีย์ในรูปของของแข็งที่อุณหภูมิในภาวะไร้อากาศองศาเซลเซียสประมาณ 370-870)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

น้ำเสียจากกองขยะ เป็นแหล่งพลังงานที่มีศักยภาพสูงขยะ เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นมวลชีวภาพเช่นกระดาษเศษอาหารและไม้ โรงไฟฟ้าที่ใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงจะ นำขยะมาเผาบนตะแกรง
ประหยัดงบประมาณในการทำลายขยะสงวนทรัพยากร หากไม่มีการนำขยะไปใช้ประโยชน์ใน สัดส่วนที่มากขึ้นในปี 2558 จะมีปริมาณขยะต่อวันถึง 49,680 ตันหรือ 17.8 ล้านตัน กระแสคโทรนิคผลิต ได้แก่•เทคโนโลยีหัวเรื่อง: การฝังกลบ (หลุมฝังกลบแก๊สเพื่อพลังงาน) •เทคโนโลยีการเผาขยะ (เผา) • (เทศบาลขยะหรือขยะ) โดยการแปรสภาพเป็นแก๊ส (Gasification) • (Anaerobic Digestion) หัวเรื่อง: การหมักหรือ•เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel: RDF) หัวเรื่อง: การทำให้โดยเป็นก้อนเชื้อเพลิง•เทคโนโลยีพลาสมาคุณอาร์ก (Plasma ARC) ความสามารถร้อนใช้สูงสุดสูงมาก ๆ จากเนชั่หัวเรื่อง: การคุณอาร์ค• เช่นวิธีการไพโรไลซิ ประมาณ 370-870 องศาเซลเซียสในภาวะไร้อากาศ)









การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: