2 . ประเภทของยาเสพติดปัจจุบันยาเสพติดมีมากกว่าร้อยชนิด สามารถจัดแบ่งเป การแปล - 2 . ประเภทของยาเสพติดปัจจุบันยาเสพติดมีมากกว่าร้อยชนิด สามารถจัดแบ่งเป ไทย วิธีการพูด

2 . ประเภทของยาเสพติดปัจจุบันยาเสพต

2 . ประเภทของยาเสพติด
ปัจจุบันยาเสพติดมีมากกว่าร้อยชนิด สามารถจัดแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ตามการออก ฤทธิ์แล้ว ยังแบ่งตามแหล่งที่มา แบ่งตามกฎหมาย และแบ่งตามองค์การอนามัยโลกได้ดังนี้
1. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ยาเสพติดมีคุณสมบัติสําคัญ คือ สามารถออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง สามารถแบ่งยาเสพติดออกเป็น 4 ประเภท คือ
1.1 ประเภทกดประสาท เช่น กลุ่มฝิ่น (ฝิ่นยา มอร์ฟีน โคเคอีน เฮโรอีน ฯลฯ) ยาระงับประสาทและยานอนหลับ (เซโคบาร์บิตาล อะโมบาร์บิตาล ฯลฯ) ยากล่อมประสาท (เมโปรบาเมท ไดอาซีแพม คลอไดอาซีพอกไซด์ ฯลฯ) สารระเหย (ทินเนอร์ แล็กเกอร์ กาว น้ำมันเบนซิน ฯลฯ) เครื่องดื่มมึนเมา (เหล้า เบียร์ ฯลฯ)
1.2 ประเภทกระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน อีเฟดรีน กระท่อม โคคาอีน กาแฟ ฯลฯ
1.3 ประเภทหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เห็ดขี้ควาย ฯลฯ 1.4 ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน อาจกด กระตุ้น หรือหลอนประสาทผสมร่วมกัน เช่น กัญชา ฯลฯ
2. แบ่งตามแหล่งที่มา
2.1 ประเภทที8ได้จากธรรมชาติ เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา เป็นต้น
2.2 ประเภทที8ได้จากการสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน เซโคบาร์บิตาล แอมเฟตามีน เป็นต้น
3. แบ่งตามกฎหมาย แบ่งได้ 2 ประเภทคือ
3.1 ประเภทถูกกฎหมาย เช่น ยาแก้ไอน้ำดํา บุหรี่ เหล้า กาแฟ
3.2 ประเภทผิดกฎหมาย
ยาเสพติดให้โทษ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยฉบับที่ 2 พ.ศ.2528 และฉบับที่ 3 พ.ศ.2530 จัดแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ
ประเภท 1 ได้แก่ เฮโรอีน อาเซทอร์ฟีน อีทอร์ฟีน แอมเฟตามีน เป็นยาเสพติดให้โทษ ชนิดร้ายแรง ประเภท 2 ได้แก่ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคอีน เป็นยาเสพติดให้โทษทั่วไป
ประเภท 3 ได้แก่ ยาแก้ไอที่มีฝิ่นหรือโคเคอีนเป็นส่วนผสม ยาแก้ท้องเสียที่มีไดฟีน็อคซีเลท เป็นส่วนผสม เป็นยาเสพติดให้โทษชนิดเป็นตํารับยาที่มียาเสพติดให้โทษประเภท 2 ปรุงผสม อยู่ด้วย
ประเภท 4 ได้แก่ อาเซติคแอน ไฮไดรด์ อาเซติลคลอไรด์ เป็นสารเคมีที8ใช้ในการผลิต ยาเสพติด ให้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2
ประเภท 5 ได้แก่ กัญชา กระท่อม เป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 วัตถุออกฤทธิ์ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518 แก้ไข เพิ่มเติมโดยฉบับที่ 2 พ.ศ.2528 และฉบับที่ 3 พ.ศ.2535 จัดแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
ประเภท 1 ได้แก่ดีเอ็มที เมสคาลีน แอลเอสดี เตตราไฮไดร แคนนาบินอล
ประเภท 2 ได้แก่ เมทแอมเฟตามีน อีเฟดรีน เมธิลเฟนีเดท เซโคบาร์บิตาล ไดอาซี แพม คลอไดอาซีพอกไซด์ เป็นต้น
ประเภท 3 ได้แก่ อะโมบาร์บิตาล ไซโคลบาร์บิตาล กลูเตธิไมด์ เมโปรบาเมท เป็นต้น
ประเภท 4 ได้แก่ บาร์บิตาล ฟีโนบาร์บิตาล ไดอาซีแพม คลอไดอาซีพอกไซด์ เป็นต้น สารระเหย ตามพระราชกําหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เป็นสารเคมี เช่น อาซีโทน เอทิล อาซิเตท โทลอีน เป็นต้น เป็นผลิตภัณฑ์ เช่น แลกเกอร์ ทิน เนอร์ กาว เป็นต้น
4. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก แบ่งออกเป็น 9 ประเภท คือ
4.1 ประเภทฝิ่น หรือมอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน เช่น ฝิ่น เฮโรอีน
4.2 ประเภทบาร์บิทูเรต รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทํานองเดียวกัน เช่น เซโคบาร์บิตาล อะโมบาร์บิตาล พาราลดีไฮด์ คลอไดอาซีพอกไซด์
4.3 ประเภทแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า เบียร์
4.4 ประเภทแอมเฟตามีน เช่น แอมเฟตามัน เดกซ์แอมเฟตามัน
4.5 ประเภทโคเคน เช่น โคเคน ใบโคคา
4.6 ประเภทกัญชา เช่น ใบกัญชา ยางกัญชา
4.7 ประเภทคัท เช่น ใบคัท ใบกระท่อม
4.8 ประเภทหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เมสคาลีน เมล็ด มอร์นิ่ง โกลลี่ ต้นลําโพง เห็ดเมาบางชนิด
4.9 ประเภทอื่นๆ เป็นพวกที่ไม่สามารถเข้าประเภทใด ๆ ได้ เช่น ทินเนอร์ น้ำมัน เบนซิน น้ำยาล้างเล็บ ยาแก้ปวด บุหรี่ โทษพิษภัยของยาเสพติด (สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2537 :21-23)


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2 ประเภทของยาเสพติดปัจจุบันยาเสพติดมีมากกว่าร้อยชนิดสามารถจัดแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ตามการออกฤทธิ์แล้วยังแบ่งตามแหล่งที่มาแบ่งตามกฎหมายและแบ่งตามองค์การอนามัยโลกได้ดังนี้ 1. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ยาเสพติดมีคุณสมบัติสําคัญคือสามารถออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลางสามารถแบ่งยาเสพติดออกเป็น 4 ประเภทคือ1.1 ประเภทกดประสาทเช่นกลุ่มฝิ่น (ฝิ่นยามอร์ฟีนโคเคอีนเฮโรอีนฯลฯ) ยาระงับประสาทและยานอนหลับ (เซโคบาร์บิตาลอะโมบาร์บิตาลฯลฯ) ยากล่อมประสาท (เมโปรบาเมทไดอาซีแพมคลอไดอาซีพอกไซด์ฯลฯ) สารระเหย (ทินเนอร์แล็กเกอร์กาวน้ำมันเบนซินฯลฯ) เครื่องดื่มมึนเมา (เหล้าเบียร์ฯลฯ) 1.2 ประเภทกระตุ้นประสาทเช่นแอมเฟตามีนเมทแอมเฟตามีนอีเฟดรีนกระท่อมโคคาอีนกาแฟฯลฯ 1.3 ประเภทหลอนประสาทเช่นแอลเอสดีดีเอ็มทีเห็ดขี้ควายฯลฯ 1.4 ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสานอาจกดกระตุ้นหรือหลอนประสาทผสมร่วมกันเช่นกัญชาฯลฯ2. แบ่งตามแหล่งที่มา 2.1 ประเภทที8ได้จากธรรมชาติ เช่นฝิ่นมอร์ฟีนกระท่อมกัญชาเป็นต้น 2.2 ประเภทที8ได้จากการสังเคราะห์ เช่นเฮโรอีนเซโคบาร์บิตาลแอมเฟตามีนเป็นต้น 3. แบ่งตามกฎหมายแบ่งได้ 2 ประเภทคือ 3.1 ประเภทถูกกฎหมายเช่นยาแก้ไอน้ำดําบุหรี่เหล้ากาแฟ 3.2 ประเภทผิดกฎหมาย ยาเสพติดให้โทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 2 พ.ศ.2528 และฉบับที่ 3 พ.ศ.2530 จัดแบ่งออกเป็น 5 ประเภทคือ ประเภท 1 ได้แก่เฮโรอีนอาเซทอร์ฟีนอีทอร์ฟีนแอมเฟตามีนเป็นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงประเภท 2 ได้แก่ฝิ่นมอร์ฟีนโคเคอีนเป็นยาเสพติดให้โทษทั่วไป ประเภทที่ 3 ได้แก่ยาแก้ไอที่มีฝิ่นหรือโคเคอีนเป็นส่วนผสมยาแก้ท้องเสียที่มีไดฟีน็อคซีเลทเป็นส่วนผสมเป็นยาเสพติดให้โทษชนิดเป็นตํารับยาที่มียาเสพติดให้โทษประเภท 2 ปรุงผสมอยู่ด้วย ประเภทที่ 4 ได้แก่อาเซติคแอนไฮไดรด์อาเซติลคลอไรด์ เป็นสารเคมีที8ใช้ในการผลิต ยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2 ประเภท 5 ได้แก่กัญชากระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 วัตถุออกฤทธิ์ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518 สิทธิการได้เพิ่มเติมโดยฉบับที่ 2 พ.ศ.2528 และฉบับที่ 3 พ.ศ.2535 จัดแบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ ประเภท 1 ได้แก่ดีเอ็มที เมสคาลีน แอลเอสดี เตตราไฮไดร แคนนาบินอล ประเภท 2 ได้แก่ เมทแอมเฟตามีน อีเฟดรีน เมธิลเฟนีเดท เซโคบาร์บิตาล ไดอาซี แพม คลอไดอาซีพอกไซด์ เป็นต้น ประเภท 3 ได้แก่ อะโมบาร์บิตาล ไซโคลบาร์บิตาล กลูเตธิไมด์ เมโปรบาเมท เป็นต้น ประเภท 4 ได้แก่ บาร์บิตาล ฟีโนบาร์บิตาล ไดอาซีแพม คลอไดอาซีพอกไซด์ เป็นต้น สารระเหย ตามพระราชกําหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เป็นสารเคมี เช่น อาซีโทน เอทิล อาซิเตท โทลอีน เป็นต้น เป็นผลิตภัณฑ์ เช่น แลกเกอร์ ทิน เนอร์ กาว เป็นต้น4. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก แบ่งออกเป็น 9 ประเภท คือ4.1 ประเภทฝิ่น หรือมอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน เช่น ฝิ่น เฮโรอีน4.2 ประเภทบาร์บิทูเรต รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทํานองเดียวกัน เช่น เซโคบาร์บิตาล อะโมบาร์บิตาล พาราลดีไฮด์ คลอไดอาซีพอกไซด์4.3 ประเภทแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า เบียร์4.4 ประเภทแอมเฟตามีน เช่น แอมเฟตามัน เดกซ์แอมเฟตามัน 4.5 ประเภทโคเคน เช่น โคเคน ใบโคคา4.6 ประเภทกัญชา เช่น ใบกัญชา ยางกัญชา4.7 ประเภทคัท เช่น ใบคัท ใบกระท่อม4.8 ประเภทหลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เมสคาลีน เมล็ด มอร์นิ่ง โกลลี่ ต้นลําโพง เห็ดเมาบางชนิด 4.9 ประเภทอื่น ๆ เป็นพวกที่ไม่สามารถเข้าประเภทใดๆ ได้เช่นทินเนอร์น้ำมันเบนซินน้ำยาล้างเล็บยาแก้ปวดบุหรี่โทษพิษภัยของยาเสพติด (สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2537:21-23)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2 . ประเภทของยาเสพติด
ปัจจุบันยาเสพติดมีมากกว่าร้อยชนิดสามารถจัดแบ่งเป็นประเภทต่างจะตามการออกฤทธิ์แล้วยังแบ่งตามแหล่งที่มาแบ่งตามกฎหมายและแบ่งตามองค์การอนามัยโลกได้ดังนี้
1แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ยาเสพติดมีคุณสมบัติสําคัญความสามารถออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลางสามารถแบ่งยาเสพติดออกเป็น 4 ประเภทความ
11 ประเภทกดประสาทเช่นกลุ่มฝิ่น ( ฝิ่นยามอร์ฟีนโคเคอีนเฮโรอีนฯลฯ ) ยาระงับประสาทและยานอนหลับ ( เซโคบาร์บิตาลอะโมบาร์บิตาลฯลฯ ) ยากล่อมประสาท ( เมโปรบาเมทไดอาซีแพมคลอไดอาซีพอกไซด์ฯลฯ ) สารระเหย ( ทินเนอร์กาวน้ำมันเบนซินฯลฯ ) เครื่องดื่มมึนเมา ( เหล้าเบียร์ฯลฯ )
1.2 ประเภทกระตุ้นประสาทเช่นแอมเฟตามีนเมทแอมเฟตามีนอีเฟดรีนกระท่อมโคคาอีนกาแฟฯลฯ
1.3 ประเภทหลอนประสาทเช่นแอลเอสดีดีเอ็มทีเห็ดขี้ควายฯลฯ 14 ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสานอาจกดกระตุ้นหรือหลอนประสาทผสมร่วมกันเช่นกัญชาฯลฯ
2 แบ่งตามแหล่งที่มา
2.1 ประเภทที 8 ได้จากธรรมชาติเช่นฝิ่นมอร์ฟีนกระท่อมกัญชาเป็นต้น
22 ประเภทที 8 ได้จากการสังเคราะห์เช่นเฮโรอีนเซโคบาร์บิตาลแอมเฟตามีนเป็นต้น
3 แบ่งตามกฎหมายแบ่งได้ 2 ประเภทคือ
3.1 ประเภทถูกกฎหมายเช่นยาแก้ไอน้ำดําบุหรี่เหล้ากาแฟประเภทผิดกฎหมาย

.ยาเสพติดให้โทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ . ศ . 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 2 พ . ศ . 2528 และฉบับที่ 3 พ . ศ . 2530 จัดแบ่งออกเป็นประเภทความ
5ประเภท 1 ได้แก่เฮโรอีนอาเซทอร์ฟีนอีทอร์ฟีนแอมเฟตามีนเป็นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงประเภท 2 ได้แก่ฝิ่นมอร์ฟีนโคเคอีนเป็นยาเสพติดให้โทษทั่วไป
ประเภท 3 ได้แก่ยาแก้ไอที่มีฝิ่นหรือโคเคอีนเป็นส่วนผสมยาแก้ท้องเสียที่มีไดฟีน็อคซีเลทเป็นส่วนผสมเป็นยาเสพติดให้โทษชนิดเป็นตํารับยาที่มียาเสพติดให้โทษประเภทปรุงผสมอยู่ด้วย
2ประเภท 4 ได้แก่อาเซติคแอนไฮไดรด์อาเซติลคลอไรด์เป็นสารเคมีที 8 ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภทหรือประเภท 2
1ประเภท 5 ได้แก่กัญชากระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 วัตถุออกฤทธิ์ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทพ . ศ . 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 2 พ . ศ . 2528 และฉบับที่ 3 พ . ศ .2535 จัดแบ่งออกเป็น 4 ประเภทความ
ประเภท 1 ได้แก่ดีเอ็มทีเมสคาลีนแอลเอสดีเตตราไฮไดรแคนนาบินอล
ประเภท 2 ได้แก่เมทแอมเฟตามีนอีเฟดรีนเมธิลเฟนีเดทเซโคบาร์บิตาลไดอาซีแพมคลอไดอาซีพอกไซด์เป็นต้น
ประเภท 3 ได้แก่อะโมบาร์บิตาลไซโคลบาร์บิตาลกลูเตธิไมด์เมโปรบาเมทเป็นต้น
ประเภท 4 ได้แก่บาร์บิตาลฟีโนบาร์บิตาลไดอาซีแพมคลอไดอาซีพอกไซด์เป็นต้นสารระเหยตามพระราชกําหนดป้องกันการใช้สารระเหยพ . ศ .2533 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มความเป็นสารเคมีเช่นอาซีโทนเอทิลอาซิเตทโทลอีนเป็นต้นเป็นผลิตภัณฑ์เช่นแลกเกอร์ทินเนอร์กาวเป็นต้น
4 แบ่งตามองค์การอนามัยโลกประเภทความแบ่งออกเป็น 9
41 ประเภทฝิ่นหรือมอร์ฟีนรวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีนเช่นฝิ่นเฮโรอีน
4.2 ประเภทบาร์บิทูเรตรวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทํานองเดียวกันเช่นเซโคบาร์บิตาลอะโมบาร์บิตาลพาราลดีไฮด์คลอไดอาซีพอกไซด์
43 ประเภทแอลกอฮอล์ได้แก่เหล้าเบียร์
4.4 ประเภทแอมเฟตามีนเช่นแอมเฟตามันเดกซ์แอมเฟตามัน
4.5 ประเภทโคเคนเช่นโคเคนใบโคคา
4.6 ประเภทกัญชาเช่นใบกัญชายางกัญชา
4.7 ประเภทคัทเช่นใบคัทใบกระท่อม
48 ประเภทหลอนประสาทเช่นแอลเอสดีดีเอ็มทีเมสคาลีนเมล็ดมอร์นิ่งโกลลี่ต้นลําโพงเห็ดเมาบางชนิด
4
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: