ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล5. ความแตกต่างระหว่างวัฒน การแปล - ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล5. ความแตกต่างระหว่างวัฒน ไทย วิธีการพูด

ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวั

ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
5. ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะ ที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม หรือบริบทของสังคมนั้นๆ แต่วัฒนธรรมของสังคมทุกสังคมมีความคล้อยคลึงกัน มีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกัน นักมานุษยวิทยาและนักสังคมวิทยา เรียกกันว่า “วัฒนธรรมสากล (global culture)” แม้จะมีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกัน แต่วัฒนธรรมแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกัน ดังตัวอย่างเช่น ทุกสังคมจะมีภาษา แต่ภาษาของแต่ละสังคมจะแตกต่างกัน บางสังคมใช้ภาษาไทย บางสังคมใช้ภาษาอังกฤษ และบางสังคมใช้ภาษาอาหรับ เป็นตน

อีกนัยหนี่งกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมสากล ก็คือการแพร่กระจายของวัฒนธรรมที่มีอิพลเหนือกว่าไปสู้วัฒนธรรมที่อ่อนแอกว่า ทำให้เกิดการยอมรับและนำไปปฏิบัติตามในสังคมอื่นทั่วทุกภูมิภาคของโลก จนในที่สุดมีการเรียกวัฒนธรรมสั้นว่าเป็นวัฒนธรรมสากล เช่น ภาษาอังกฤษเครื่องมีเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ ยาแผนปัจจุบัน สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ เป็นต้น

โดยวัฒนธรรมสากลมีความแตกต่างจากวัฒนธรรมไทยอยู่หลายประการด้วยกัน ดังนี้

1) เน้นปรัชญาว่า “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถบังคบธรรมชาติให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด เช่น การเดินทางด้วยสองเท้าใช้เวลานานก็เลยประดิษฐ์รถยนต์ เครื่องบิน ขึ้นมาเป็นพาหนะที่ใช้ในการเดินทางแทน เป็นต้น แต่สำหรับวัฒนธรรมไทยนั้นเน้นปรัชญาว่า “มนุษย์ควรอยู่แบบผสมกลมกลืนกับธรรมชาติ” ดังนั้นคนไทยจึงนิยมสร้างวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับสภาพธรรมชาติ

2) เน้นทวิโลกทัศน์ ชาวตะวันตกแบ่งทุกสิ่งออกเป็น 2 ส่วนเสมอ เช่น ขาว-ดำ ดี-เลว ทันสมัย-ล้าสมัย จึงมีการแก้ไขความพยายามที่ปรับเปลี่ยนสิ่งล้าสมัยให้มีความทันสมัย เน้นให้สิ่งดีงามเหนือความเลว

ในขณะที่วัฒนธรรมไทยเน้นการมองโลกเป็นองค์รวม ไม่แยก ขาว-ดำ ดี-เลว แต่มองว่าโลกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีองค์ประกอบทั่งหลายที่ช่วยส่งเสริมจรรโลงโลกให้มีความสมดุล น่าอยู่รื่นรมย์ และสงบสุข

3)เน้นวิธีการทางวิทยาศาตร์ ที่ตั้งอยู่บนเหตุผลของปัจจัยที่สามารถสัมผัสได้ โดยมีการตั้งสมมติฐาน พิสูจน์ปัจจัยต่างๆ ว่าเป็นตามสมมติฐานหรือไม่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ได้รับความรู้ใหม่ๆ เพื่อนำไปสร้างทฤษฎีและนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ดังนั้น ชาติตะวันตกจึงสามารถสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีชั้นสูง แต่สำหรับวัฒนธรรมไทยแม้นว่าจะอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เช่นกัน แต่มักเน้นการนำปัจจัยทีสัมผัสได้มาศึกษาร่วมกับปัจจัยทางจิตใจและตามความคิดเชื่อของหลักธรรมทางศาสนาควบคู่ไปด้วย เพราะวัฒนธรรมไทยสท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่โยงใยกัน 3 ด้าย คือ

1. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับโลก สิ่งแวดล้อม พืช และ สัตว์

2. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ หรือระหว่างตัวเรากับคนอื่นๆที่อาศัยอยู่ร่วมกันในสังคม

3. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักสิทธิ์และอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ ทำให้วัฒนธรรมไทยมีขอบเขตที่กว้างขว้าง ครอบคลุมความสัมพันธ์ทุกประเภทของกรดำเนินชีวิตของคนในสังคม ทั้งทีเป็นรูปธรรมและนามธรรม



6. แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม

สังคมและวัฒนธรรมไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่ แต่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและเกี่ยวพันกับปัจจัยภายในและภายนอกที่เข้ามากระทบ ดังนั้นวัฒนธรรมอาจเหมาะสมกับสภาพสังคมในยุคหนึ่ง แต่อาจไม่สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของคนในสังคมในอีกยุคหนึ่งก็ได้

แต่ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงไม่ได้หมายถึงการละทิ้งวัฒนธรรมของตนไปอย่างชิ้นเชิง และหันไปรับวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาใช้ทั้งหมด เพราะรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยได้สร้างและสั่งสมมาให้สอดคล้องกับสังคมไทยมาช้านาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจเป็นผลมาจากลักษณะบางอย่างไม่ตอบสนองความต้องการของสมาชิกในปัจจุบัน จึงได้นำสิ่งประดิษฐ์มาคิดค้นใหม่ หรือหยิบยืมวัฒนธรรมของต่างชาติมาใช้ทดแทนบ้าง แต่เราก็มีความจำเป็นที่จะต้องมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยเอาไว้ เพราะหารไม่มีการอนุรักษ์แล้ว วัฒนธรรมของสังคมอื่นๆก็จะเข้ามาครอบงำและจะต้องตกเป็นเมืองขึ้นทางวัฒนธรรมของสังคมอื่นไป

การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เราอาจจะมองได้ 2 ระดับ ระดับที่หนึ่ง คือ การอนุรักษ์สงวนรักษาวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยให้คงอยู่ตลอดไป ส่วนระดับที่สอง คือ คนไทยจะต้องพัฒนาต่อยอดวัฒนธรรมของตนให้ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพสังคมในยุคปัจจุบัน

วัฒนธรรมประจำชาติท้องถิ่น จัดเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูง ควรค่าแก่การอนุรักษ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งขนบธรรมเนียมประเพณี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษาวัตถุ ภาษา วรรณกรรม และภูมิปัญญา ซื่งได้ได้บรรลุและสั่งสมความรู้ ความหมาย และคุณค่าทางวัฒนธรรมที่มีมาแต่อดีตให้คนรุ่นต่อมาได้เรียนรู้ เพื่อรู้จักตนเองและมีความภูมิใจในความเป็นชาติไทย โดยส่วนรวมสิ่งเหล่านี้สูญหายไป หากขาดการเอาใจใส่ในการอนุรักษ์และส่งเสริมในทางที่ถูกที่ควร

ซื่งแนวทางในการอนุรักษ์วัฒนธรรม มีดังนี้

1. ศึกษา ค้นคว้า และวิจัย วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ได้มีการรวบรวมไว้แล้วและที่ยังไม่ได้ศึกษา แต่มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วทุกแห่ง ผู้ศึกษาค้นคว้าจะได้ทราบความหมายและความสำคัญของมรดกวัฒนธรรมอย่างถ่องแท้ ความรู้ดังกว่าจะเป็นรากฐานของการดำเนินชีวิตเมื่อได้เห็นคุณค่าจะยอมรับและนำไปใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมและแพร่หลาย

2. ส่งเสริมให้ชนทุกหมู่เหล่าเห็นคุณค่า และร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยน และตอบสนองกระแสวัฒนธรรมอื่นๆ และวัฒนธรรมภายนอกอย่างเหมาะสม

3. ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมในวัฒนธรรม รณรงค์ให้ประชาชนและเอกชนตลอดจนหน่วยงานของรัฐเห็นความสำคัญและตระหนักว่าวัฒนธรรมเป็นเรื่องของทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกันในการส่งเสริม สนับสนุน แระสานงาน การบริการด้านความรู้ วิชาการ และทุนทรัพย์จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม

4.ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล5. ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคมหรือบริบทของสังคมนั้น ๆ แต่วัฒนธรรมของสังคมทุกสังคมมีความคล้อยคลึงกันมีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกันนักมานุษยวิทยาและนักสังคมวิทยาเรียกกันว่า "วัฒนธรรมสากล (วัฒนธรรมสากล)" แม้จะมีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกันแต่วัฒนธรรมแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกันดังตัวอย่างเช่นทุกสังคมจะมีภาษาแต่ภาษาของแต่ละสังคมจะแตกต่างกันบางสังคมใช้ภาษาไทยบางสังคมใช้ภาษาอังกฤษและบางสังคมใช้ภาษาอาหรับเป็นตน อีกนัยหนี่งกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมสากลก็คือการแพร่กระจายของวัฒนธรรมที่มีอิพลเหนือกว่าไปสู้วัฒนธรรมที่อ่อนแอกว่าทำให้เกิดการยอมรับและนำไปปฏิบัติตามในสังคมอื่นทั่วทุกภูมิภาคของโลกจนในที่สุดมีการเรียกวัฒนธรรมสั้นว่าเป็นวัฒนธรรมสากลเช่นภาษาอังกฤษเครื่องมีเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ยาแผนปัจจุบันสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เป็นต้น โดยวัฒนธรรมสากลมีความแตกต่างจากวัฒนธรรมไทยอยู่หลายประการด้วยกันดังนี้ 1) เน้นปรัชญาว่า "มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ" สามารถบังคบธรรมชาติให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมดเช่นการเดินทางด้วยสองเท้าใช้เวลานานก็เลยประดิษฐ์รถยนต์เครื่องบินขึ้นมาเป็นพาหนะที่ใช้ในการเดินทางแทนเป็นต้นแต่สำหรับวัฒนธรรมไทยนั้นเน้นปรัชญาว่า "มนุษย์ควรอยู่แบบผสมกลมกลืนกับธรรมชาติ" ดังนั้นคนไทยจึงนิยมสร้างวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับสภาพธรรมชาติ 2 เน้นทวิโลกทัศน์ชาวตะวันตกแบ่งทุกสิ่งออกเป็น 2 ส่วนเสมอเช่นขาว-ดำดี-เลวทันสมัยล้าสมัยจึงมีการแก้ไขความพยายามที่ปรับเปลี่ยนสิ่งล้าสมัยให้มีความทันสมัยเน้นให้สิ่งดีงามเหนือความเลว ในขณะที่วัฒนธรรมไทยเน้นการมองโลกเป็นองค์รวมไม่แยกขาว-ดำดี-เลวแต่มองว่าโลกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมีองค์ประกอบทั่งหลายที่ช่วยส่งเสริมจรรโลงโลกให้มีความสมดุลน่าอยู่รื่นรมย์และสงบสุข 3)เน้นวิธีการทางวิทยาศาตร์ ที่ตั้งอยู่บนเหตุผลของปัจจัยที่สามารถสัมผัสได้ โดยมีการตั้งสมมติฐาน พิสูจน์ปัจจัยต่างๆ ว่าเป็นตามสมมติฐานหรือไม่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ได้รับความรู้ใหม่ๆ เพื่อนำไปสร้างทฤษฎีและนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ดังนั้น ชาติตะวันตกจึงสามารถสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีชั้นสูง แต่สำหรับวัฒนธรรมไทยแม้นว่าจะอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เช่นกัน แต่มักเน้นการนำปัจจัยทีสัมผัสได้มาศึกษาร่วมกับปัจจัยทางจิตใจและตามความคิดเชื่อของหลักธรรมทางศาสนาควบคู่ไปด้วย เพราะวัฒนธรรมไทยสท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่โยงใยกัน 3 ด้าย คือ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับโลก สิ่งแวดล้อม พืช และ สัตว์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ หรือระหว่างตัวเรากับคนอื่นๆที่อาศัยอยู่ร่วมกันในสังคม 3. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักสิทธิ์และอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ ทำให้วัฒนธรรมไทยมีขอบเขตที่กว้างขว้าง ครอบคลุมความสัมพันธ์ทุกประเภทของกรดำเนินชีวิตของคนในสังคม ทั้งทีเป็นรูปธรรมและนามธรรม 6. แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม สังคมและวัฒนธรรมไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่ แต่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและเกี่ยวพันกับปัจจัยภายในและภายนอกที่เข้ามากระทบ ดังนั้นวัฒนธรรมอาจเหมาะสมกับสภาพสังคมในยุคหนึ่ง แต่อาจไม่สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของคนในสังคมในอีกยุคหนึ่งก็ได้ แต่ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงไม่ได้หมายถึงการละทิ้งวัฒนธรรมของตนไปอย่างชิ้นเชิง และหันไปรับวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาใช้ทั้งหมด เพราะรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยได้สร้างและสั่งสมมาให้สอดคล้องกับสังคมไทยมาช้านาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจเป็นผลมาจากลักษณะบางอย่างไม่ตอบสนองความต้องการของสมาชิกในปัจจุบัน จึงได้นำสิ่งประดิษฐ์มาคิดค้นใหม่ หรือหยิบยืมวัฒนธรรมของต่างชาติมาใช้ทดแทนบ้าง แต่เราก็มีความจำเป็นที่จะต้องมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยเอาไว้ เพราะหารไม่มีการอนุรักษ์แล้ว วัฒนธรรมของสังคมอื่นๆก็จะเข้ามาครอบงำและจะต้องตกเป็นเมืองขึ้นทางวัฒนธรรมของสังคมอื่นไป การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เราอาจจะมองได้ 2 ระดับ ระดับที่หนึ่ง คือ การอนุรักษ์สงวนรักษาวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยให้คงอยู่ตลอดไป ส่วนระดับที่สอง คือ คนไทยจะต้องพัฒนาต่อยอดวัฒนธรรมของตนให้ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพสังคมในยุคปัจจุบัน วัฒนธรรมประจำชาติท้องถิ่น จัดเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูง ควรค่าแก่การอนุรักษ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งขนบธรรมเนียมประเพณี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษาวัตถุ ภาษา วรรณกรรม และภูมิปัญญา ซื่งได้ได้บรรลุและสั่งสมความรู้ ความหมาย และคุณค่าทางวัฒนธรรมที่มีมาแต่อดีตให้คนรุ่นต่อมาได้เรียนรู้ เพื่อรู้จักตนเองและมีความภูมิใจในความเป็นชาติไทย โดยส่วนรวมสิ่งเหล่านี้สูญหายไป หากขาดการเอาใจใส่ในการอนุรักษ์และส่งเสริมในทางที่ถูกที่ควร
ซื่งแนวทางในการอนุรักษ์วัฒนธรรม มีดังนี้

1. ศึกษา ค้นคว้า และวิจัย วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ได้มีการรวบรวมไว้แล้วและที่ยังไม่ได้ศึกษา แต่มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วทุกแห่ง ผู้ศึกษาค้นคว้าจะได้ทราบความหมายและความสำคัญของมรดกวัฒนธรรมอย่างถ่องแท้ ความรู้ดังกว่าจะเป็นรากฐานของการดำเนินชีวิตเมื่อได้เห็นคุณค่าจะยอมรับและนำไปใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมและแพร่หลาย

2. ส่งเสริมให้ชนทุกหมู่เหล่าเห็นคุณค่า และร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยน และตอบสนองกระแสวัฒนธรรมอื่นๆ และวัฒนธรรมภายนอกอย่างเหมาะสม

3. ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมในวัฒนธรรม รณรงค์ให้ประชาชนและเอกชนตลอดจนหน่วยงานของรัฐเห็นความสำคัญและตระหนักว่าวัฒนธรรมเป็นเรื่องของทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกันในการส่งเสริม สนับสนุน แระสานงาน การบริการด้านความรู้ วิชาการ และทุนทรัพย์จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม

4.ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
5 ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคมหรือบริบทของสังคมนั้นๆแต่วัฒนธรรมของสังคมทุกสังคมมีความคล้อยคลึงกันนักมานุษยวิทยาและนักสังคมวิทยาเรียกกันว่า " วัฒนธรรมสากล ( วัฒนธรรมทั่วโลก ) " แม้จะมีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกันแต่วัฒนธรรมแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกันดังตัวอย่างเช่นทุกสังคมจะมีภาษาบางสังคมใช้ภาษาไทยบางสังคมใช้ภาษาอังกฤษและบางสังคมใช้ภาษาอาหรับเป็นตน

อีกนัยหนี่งกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมสากลก็คือการแพร่กระจายของวัฒนธรรมที่มีอิพลเหนือกว่าไปสู้วัฒนธรรมที่อ่อนแอกว่าทำให้เกิดการยอมรับและนำไปปฏิบัติตามในสังคมอื่นทั่วทุกภูมิภาคของโลก
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: