บทที่ 2เอกสารค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ปัญหาภัยแล้ง การแปล - บทที่ 2เอกสารค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ปัญหาภัยแล้ง ไทย วิธีการพูด

บทที่ 2เอกสารค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง ใ

บทที่ 2
เอกสารค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ปัญหาภัยแล้ง ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูล เอกสาร อินเทอร์เน็ต และหนังสือเกี่ยวกับเรื่องปัญหาภัยแล้ง เพื่อเป็นแนวทางได้รู้ได้ทราบถึงเรื่องราวของภัยแล้งความเป็นมา ปัญหา ผลกระทบ และเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ที่ได้ศึกษา มีระเอียดดังต่อไปนี้
1 ความเป็นมาของภัยแล้ง
2 ปัญหาการเกิดภัยแล้ง
3 สาเหตุของภัยแล้ง
4 อันตรายโรคจากภัยแล้ง
5 ผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้ง
6 การเตรียมการป้องกันภัยแล้ง
7 เหตุการณ์ภัยแล้งในประเทศไทย
1. ความเป็นมาของภัยแล้ง ความแห้งแล้งของลมฟ้าอากาศ อันเกิดจากการที่มีฝนน้อยกว่าปกติ หรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เป็นระยะเวลานานกว่าปกติ และครอบคลุมพื้นที่บริเวณกว้าง ทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ พืชพันธุ์ไม้ต่างๆ ขาดน้ำ ทำให้ไม่เจริญเติบโตตามปกติเกิดความเสียหาย และความอดอยากทั่วไป ความแห้งแล้งเป็นภัยธรรมชาติประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย เพราะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึง ทำให้เกิดความอดอยากแร้นแค้น ซึ่งหากปีใดที่ไม่มีพายุเคลื่อนผ่านเลยก็จะก่อให้เกิดความแห้งแล้งรุนแรงมากขึ้น อันเนื่องมาจากฝนทิ้งช่วงยาวนาน โดยภัยแล้งที่เกิดขึ้นทุกปีจะอยู่ระหว่างเดือนมิถุนายนต่อเนื่องถึงเดือนกรกฎาคม ในช่วงดังกล่าวพืชไร่ที่เพาะปลูกจะขาดน้ำได้รับความเสียหายมนุษย์ - สัตว์ขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพรวมถึงด้านเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ความรุนแรงจะมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด้าน เช่น ความชื้นในอากาศ ความชื้นในดิน ระยะเวลาที่เกิดความแห้งแล้ง และขนาดของพื้นที่ที่มีความแห้งแล้ง
2. ปัญหาการเกิดภัยแล้ง
ปัญหาทั่วไปของการเกิดภัยแล้ง(ขาดแคลนน้ำ)
ปัญหาการเกิดภัยแล้งหรือการขาดแคลนนั้น เกิดจากการไม่มีหรือขาดแคลนน้ำที่มีคุณภาพดี สำหรับใช้ในกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การอุปโภค บริโภค การเกษตร การปศุสัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การอุตสาหกรรม การคมนาคมทางน้ำ เป็นต้น ส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการดำรงชีพของประชาชน

สาเหตุทั่วไปของการเกิดภัยแล้ง(ขาดแคลนน้ำ)
อาจสรุปสาเหตุที่ทำให้เกิดภัยแล้งได้ดังนี้
2.1 การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม โดยในฤดูฝน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ตกน้อย ทิ้งช่วง ไม่กระจายสม่ำเสมอ ทำให้มีน้ำเก็บกักในแหล่งน้ำน้อย น้ำและความชื้นในดินมีน้อย ในฤดูแล้งอากาศที่ร้อนจัดทำให้การสูญเสียน้ำจากการระเหยมีมาก ทำให้น้ำในแหล่งน้ำลดปริมาณลงจนถึงเหือดแห้งไป
2.2 ความต้องการใช้น้ำเพิ่มมากขึ้น จากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีพและการใช้ทรัพยากรจึงมีมาก ความต้องการน้ำเพื่อกิจกรรมต่างๆ จึงมีมากตามไปด้วย ในขณะที่แหล่งเก็บกักน้ำมีจำกัดไม่เพิ่มขึ้นสัมพันธ์กัน
2.3 แหล่งเก็บกักน้ำตามธรรมชาติและที่สร้างขึ้น มีน้อยไม่เพียงพอต่อการเก็บกักน้ำไว้ใช้ประโยชน์ซึ่งอาจเกิดจาก ข้อจำกัดของภูมิประเทศที่ไม่มีลำน้ำธรรมชาติ หรือไม่เหมาะสมที่จะพัฒนาเป็นแหล่งน้ำ หรือ
3.สาเหตุการเกิดภัยแล้ง
สาเหตุของการเกิดภัยแล้ง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดภัยแล้งสำหรับประเทศไทยแล้ว นอกจากฝน ยังมีปัจจัยอื่นที่เป็นองค์ประกอบอีกหลายอย่าง เช่น ระบบการหมุนเวียนของบรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงส่วนผสมของบรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศ กับน้ำทะเล หรือมหาสมุทร ดังนั้นการเกิดภัยแล้งจึงมิใช่เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งเพียงอย่างเดียว ซึ่งพอจะประมวลสาเหตุของการเกิดภัยแล้งได้ ดังนี้
1. เนื่องจากสภาวะอากาศในฤดูร้อนที่ร้อนมากกว่าปกติ
2. เนื่องจากการพัดพาของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
3. ความผิดปกติของตำแหน่งร่องมรสุม ทำให้ฝนตกในพื้นที่ไม่ต่อเนื่อง
4. ความผิดปกติ เนื่องจากพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยน้อยกว่าปกติ
5. การเปลี่ยนแปลงความสมดุลของพลังงานที่ได้รับจากดวงอาทิตย์ เช่น การเผาพลาสติก น้ำมัน และถ่านหิน ทำให้เกิดรูโหว่ในชั้นโอโซน
6. ผลกระทบจากปรากฏการณ์ภาวะเรือนกระจก เนื่องจากส่วนผสมของบรรยากาศ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ ลอยขึ้นไปเคลือบชั้นล่างของชั้นโอโซน ทำให้ความร้อนสะสมอยู่ในอากาศใกล้ผิวโลกมากขึ้น ทำให้อากาศร้อนกว่าปกติ
7. การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมต่างๆ
8. การตัดไม้ทำลายป่า ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมอันเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของภูมิอากาศ เช่น ฝน อุณหภูมิ และความชื้น
ฤดูกาลเกิดภัยแล้ง
การเกิดภัยแล้งโดยทั่วไปจะเกิดขึ้น 2 ช่วง ดังนี้
1. ในฤดูหนาวระหว่างเดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ และต่อเนื่องมาถึงฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม คือช่วงสิ้นสุดของฤดูฝน ซึ่งเริ่มจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคม เป็นต้นไป บริเวณประเทศไทยตอนบนจะไม่มีฝนตกมา หรือถ้ามีก็จะมีเพียงจำนวนเล็กน้อย ส่วนมากจะเป็นฝนจากพายุฝนฟ้าคะนอง จึงทำให้เกิดความแห้งแล้งเป็นประจำทุกปีในช่วงนี้ และมักจะมีไฟป่าเกิดขึ้นตามมาด้วย
4.อันตรายโรคจากภัยแล้ง

ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากเรื่องความเป็นอยู่ด้านเศรษฐกิจแล้ว ยังอาจจะส่งผลกระทบกับประชาชนด้านสุขภาพได้โรคที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพประชาชนที่ประสบภัยแล้ง ที่ต้องระมัดระวังมีหลายโรค แต่โรคที่มักจะพบผู้ป่วยบ่อย ๆ ในช่วงหน้าร้อน ได้แก่1. โรคอุจจาระร่วง สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อหลายประเภททั้งแบคทีเรีย ไวรัสและกลุ่มเชอโปรโตซ ที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร ซึ่งในหน้าร้อนมีโอกาสบูดเสียได้มากขึ้น และเมื่อรวมกับสุขอนามัยที่ไม่สะอาดแล้ว สามารถเกิดการระบาดของโรคอุจจาระร่วงในหน้าร้อนหรือช่วงแล้งนี้ได้อาการของโรคอุจจาระร่วง คือ ถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำามากกว่า 3 ครั้งต่อวัน เชื้อแบคทีเรียบางชนิด เช่นเชื้ออหิวาตกโรคเป็นสาเหตุทํให้เกิดอาการท้องร่วงรุนแรง มีอาการขาดน้ํา สูญเสียเกลือแร่ โรคนี้สามารถเกดกับประชาชนทุกกลุ่มอายุแต่อาจจะมีอาการรุนแรงในกลุ่มเด็กเล็กและกลุ่มผู้สูงอายุ หากป่วยแล้วอาการไม่รุนแรงก็สามารถใหการักษาเบื้องต้นได้เองด้วยผงเกลือแร่ผสมน้ําดื่มถ้ามีอาการุนแรง เช่นถ่ายเป็นน้ําหลายครั้ง อ่อนเพลีย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 2เอกสารค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าเรื่องปัญหาภัยแล้งผู้ศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูลเอกสารอินเทอร์เน็ตและหนังสือเกี่ยวกับเรื่องปัญหาภัยแล้งเพื่อเป็นแนวทางได้รู้ได้ทราบถึงเรื่องราวของภัยแล้งความเป็นมาปัญหาผลกระทบและเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ที่ได้ศึกษามีระเอียดดังต่อไปนี้1 ความเป็นมาของภัยแล้ง2 ปัญหาการเกิดภัยแล้ง3 สาเหตุของภัยแล้ง 4 อันตรายโรคจากภัยแล้ง5 ผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้ง6 การเตรียมการป้องกันภัยแล้ง7 เหตุการณ์ภัยแล้งในประเทศไทย1. ความเป็นมาของภัยแล้งความแห้งแล้งของลมฟ้าอากาศอันเกิดจากการที่มีฝนน้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลเป็นระยะเวลานานกว่าปกติและครอบคลุมพื้นที่บริเวณกว้างทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้พืชพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ขาดน้ำทำให้ไม่เจริญเติบโตตามปกติเกิดความเสียหายและความอดอยากทั่วไปความแห้งแล้งเป็นภัยธรรมชาติประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปีโดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทยเพราะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึงทำให้เกิดความอดอยากแร้นแค้นซึ่งหากปีใดที่ไม่มีพายุเคลื่อนผ่านเลยก็จะก่อให้เกิดความแห้งแล้งรุนแรงมากขึ้นอันเนื่องมาจากฝนทิ้งช่วงยาวนานโดยภัยแล้งที่เกิดขึ้นทุกปีจะอยู่ระหว่างเดือนมิถุนายนต่อเนื่องถึงเดือนกรกฎาคมในช่วงดังกล่าวพืชไร่ที่เพาะปลูกจะขาดน้ำได้รับความเสียหายมนุษย์ - สัตว์ขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพรวมถึงด้านเศรษฐกิจและสังคมทั้งนี้ความรุนแรงจะมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด้านเช่นความชื้นในอากาศความชื้นในดินระยะเวลาที่เกิดความแห้งแล้งและขนาดของพื้นที่ที่มีความแห้งแล้ง2. ปัญหาการเกิดภัยแล้ง ปัญหาทั่วไปของการเกิดภัยแล้ง(ขาดแคลนน้ำ)ปัญหาการเกิดภัยแล้งหรือการขาดแคลนนั้นเกิดจากการไม่มีหรือขาดแคลนน้ำที่มีคุณภาพดีสำหรับใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่การอุปโภคบริโภคการเกษตรการปศุสัตว์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำการอุตสาหกรรมการคมนาคมทางน้ำเป็นต้นส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการดำรงชีพของประชาชน สาเหตุทั่วไปของการเกิดภัยแล้ง(ขาดแคลนน้ำ)อาจสรุปสาเหตุที่ทำให้เกิดภัยแล้งได้ดังนี้ 2.1 การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมโดยในฤดูฝนฝนไม่ตกตามฤดูกาลตกน้อยทิ้งช่วงไม่กระจายสม่ำเสมอทำให้มีน้ำเก็บกักในแหล่งน้ำน้อยน้ำและความชื้นในดินมีน้อยในฤดูแล้งอากาศที่ร้อนจัดทำให้การสูญเสียน้ำจากการระเหยมีมากทำให้น้ำในแหล่งน้ำลดปริมาณลงจนถึงเหือดแห้งไป2.2 ความต้องการใช้น้ำเพิ่มมากขึ้นจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีพและการใช้ทรัพยากรจึงมีมากความต้องการน้ำเพื่อกิจกรรมต่าง ๆ จึงมีมากตามไปด้วยในขณะที่แหล่งเก็บกักน้ำมีจำกัดไม่เพิ่มขึ้นสัมพันธ์กัน2.3 แหล่งเก็บกักน้ำตามธรรมชาติและที่สร้างขึ้นมีน้อยไม่เพียงพอต่อการเก็บกักน้ำไว้ใช้ประโยชน์ซึ่งอาจเกิดจากข้อจำกัดของภูมิประเทศที่ไม่มีลำน้ำธรรมชาติหรือไม่เหมาะสมที่จะพัฒนาเป็นแหล่งน้ำ3.สาเหตุการเกิดภัยแล้งสาเหตุของการเกิดภัยแล้งปัจจัยที่ก่อให้เกิดภัยแล้งสำหรับประเทศไทยแล้วนอกจากฝนยังมีปัจจัยอื่นที่เป็นองค์ประกอบอีกหลายอย่างเช่นระบบการหมุนเวียนของบรรยากาศการเปลี่ยนแปลงส่วนผสมของบรรยากาศการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศกับน้ำทะเลหรือมหาสมุทรดังนั้นการเกิดภัยแล้งจึงมิใช่เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งเพียงอย่างเดียวซึ่งพอจะประมวลสาเหตุของการเกิดภัยแล้งได้ดังนี้1. เนื่องจากสภาวะอากาศในฤดูร้อนที่ร้อนมากกว่าปกติ2. เนื่องจากการพัดพาของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้3. ความผิดปกติของตำแหน่งร่องมรสุมทำให้ฝนตกในพื้นที่ไม่ต่อเนื่อง4. ความผิดปกติเนื่องจากพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยน้อยกว่าปกติ5. การเปลี่ยนแปลงความสมดุลของพลังงานที่ได้รับจากดวงอาทิตย์เช่นการเผาพลาสติกน้ำมันและถ่านหินทำให้เกิดรูโหว่ในชั้นโอโซน6. ผลกระทบจากปรากฏการณ์ภาวะเรือนกระจกเนื่องจากส่วนผสมของบรรยากาศเช่นคาร์บอนไดออกไซด์ไอน้ำลอยขึ้นไปเคลือบชั้นล่างของชั้นโอโซนทำให้ความร้อนสะสมอยู่ในอากาศใกล้ผิวโลกมากขึ้นทำให้อากาศร้อนกว่าปกติ7. การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆ8. การตัดไม้ทำลายป่าทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมอันเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของภูมิอากาศเช่นฝนอุณหภูมิและความชื้นฤดูกาลเกิดภัยแล้งดังนี้การเกิดภัยแล้งโดยทั่วไปจะเกิดขึ้น 2 ช่วง1. ในฤดูหนาวระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์และต่อเนื่องมาถึงฤดูร้อนระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคมคือช่วงสิ้นสุดของฤดูฝนซึ่งเริ่มจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคมเป็นต้นไปบริเวณประเทศไทยตอนบนจะไม่มีฝนตกมาหรือถ้ามีก็จะมีเพียงจำนวนเล็กน้อยส่วนมากจะเป็นฝนจากพายุฝนฟ้าคะนองจึงทำให้เกิดความแห้งแล้งเป็นประจำทุกปีในช่วงนี้และมักจะมีไฟป่าเกิดขึ้นตามมาด้วย 4.อันตรายโรคจากภัยแล้ง ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากเรื่องความเป็นอยู่ด้านเศรษฐกิจแล้วยังอาจจะส่งผลกระทบกับประชาชนด้านสุขภาพได้โรคที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพประชาชนที่ประสบภัยแล้งที่ต้องระมัดระวังมีหลายโรคแต่โรคที่มักจะพบผู้ป่วยบ่อยๆ ในช่วงหน้าร้อน ได้แก่1 โรคอุจจาระร่วงสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อหลายประเภททั้งแบคทีเรียไวรัสและกลุ่มเชอโปรโตซที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหารซึ่งในหน้าร้อนมีโอกาสบูดเสียได้มากขึ้นและเมื่อรวมกับสุขอนามัยที่ไม่สะอาดแล้วสามารถเกิดการระบาดของโรคอุจจาระร่วงในหน้าร้อนหรือช่วงแล้งนี้ได้อาการของโรคอุจจาระร่วงคือถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำามากกว่า 3 ครั้งต่อวันเชื้อแบคทีเรียบางชนิดเช่นเชื้ออหิวาตกโรคเป็นสาเหตุทํให้เกิดอาการท้องร่วงรุนแรงมีอาการขาดน้ําสูญเสียเกลือแร่โรคนี้สามารถเกดกับประชาชนทุกกลุ่มอายุแต่อาจจะมีอาการรุนแรงในกลุ่มเด็กเล็กและกลุ่มผู้สูงอายุหากป่วยแล้วอาการไม่รุนแรงก็สามารถใหการักษาเบื้องต้นได้เองด้วยผงเกลือแร่ผสมน้ําดื่มถ้ามีอาการุนแรงเช่นถ่ายเป็นน้ําหลายครั้งอ่อนเพลีย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 2

เอกสารค้นคว้าที่เกี่ยวข้องในการศึกษาค้นคว้าเรื่องปัญหาภัยแล้งผู้ศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูลเอกสารอินเทอร์เน็ตและหนังสือเกี่ยวกับเรื่องปัญหาภัยแล้งเพื่อเป็นแนวทางได้รู้ได้ทราบถึงเรื่องราวของภัยแล้งความเป็นมาปัญหาผลกระทบมีระเอียดดังต่อไปนี้
1 ความเป็นมาของภัยแล้ง
2
3
4 ปัญหาการเกิดภัยแล้งสาเหตุของภัยแล้งอันตรายโรคจากภัยแล้ง
5
6
7 ผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้งการเตรียมการป้องกันภัยแล้งเหตุการณ์ภัยแล้งในประเทศไทย
1ความเป็นมาของภัยแล้งความแห้งแล้งของลมฟ้าอากาศอันเกิดจากการที่มีฝนน้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลเป็นระยะเวลานานกว่าปกติและครอบคลุมพื้นที่บริเวณกว้างทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ขาดน้ำทำให้ไม่เจริญเติบโตตามปกติเกิดความเสียหายและความอดอยากทั่วไปความแห้งแล้งเป็นภัยธรรมชาติประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปีโดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทยทำให้เกิดความอดอยากแร้นแค้นซึ่งหากปีใดที่ไม่มีพายุเคลื่อนผ่านเลยก็จะก่อให้เกิดความแห้งแล้งรุนแรงมากขึ้นอันเนื่องมาจากฝนทิ้งช่วงยาวนานในช่วงดังกล่าวพืชไร่ที่เพาะปลูกจะขาดน้ำได้รับความเสียหายมนุษย์ - สัตว์ขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพรวมถึงด้านเศรษฐกิจและสังคมเช่นความชื้นในอากาศความชื้นในดินระยะเวลาที่เกิดความแห้งแล้งและขนาดของพื้นที่ที่มีความแห้งแล้ง
2 . ปัญหาการเกิดภัยแล้ง ( ขาดแคลนน้ำ )

ปัญหาทั่วไปของการเกิดภัยแล้งปัญหาการเกิดภัยแล้งหรือการขาดแคลนนั้นเกิดจากการไม่มีหรือขาดแคลนน้ำที่มีคุณภาพดีสำหรับใช้ในกิจกรรมต่างๆได้แก่การอุปโภคบริโภคการเกษตรการปศุสัตว์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำการอุตสาหกรรมการคมนาคมทางน้ำส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการดำรงชีพของประชาชน

สาเหตุทั่วไปของการเกิดภัยแล้ง ( ขาดแคลนน้ำอาจสรุปสาเหตุที่ทำให้เกิดภัยแล้งได้ดังนี้ )

21 การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมโดยในฤดูฝนฝนไม่ตกตามฤดูกาลตกน้อยทิ้งช่วงไม่กระจายสม่ำเสมอทำให้มีน้ำเก็บกักในแหล่งน้ำน้อยน้ำและความชื้นในดินมีน้อยทำให้น้ำในแหล่งน้ำลดปริมาณลงจนถึงเหือดแห้งไป
2 .2 ความต้องการใช้น้ำเพิ่มมากขึ้นจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีพและการใช้ทรัพยากรจึงมีมากความต้องการน้ำเพื่อกิจกรรมต่างๆจึงมีมากตามไปด้วย2.3 แหล่งเก็บกักน้ำตามธรรมชาติและที่สร้างขึ้นมีน้อยไม่เพียงพอต่อการเก็บกักน้ำไว้ใช้ประโยชน์ซึ่งอาจเกิดจากข้อจำกัดของภูมิประเทศที่ไม่มีลำน้ำธรรมชาติหรือไม่เหมาะสมที่จะพัฒนาเป็นแหล่งน้ำค็อค
3สาเหตุการเกิดภัยแล้ง

สาเหตุของการเกิดภัยแล้งปัจจัยที่ก่อให้เกิดภัยแล้งสำหรับประเทศไทยแล้วนอกจากฝนยังมีปัจจัยอื่นที่เป็นองค์ประกอบอีกหลายอย่างเช่นระบบการหมุนเวียนของบรรยากาศการเปลี่ยนแปลงส่วนผสมของบรรยากาศกับน้ำทะเลหรือมหาสมุทรดังนั้นการเกิดภัยแล้งจึงมิใช่เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งเพียงอย่างเดียวซึ่งพอจะประมวลสาเหตุของการเกิดภัยแล้งได้ดังนี้
1 . เนื่องจากสภาวะอากาศในฤดูร้อนที่ร้อนมากกว่าปกติ
2 เนื่องจากการพัดพาของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
3 ความผิดปกติของตำแหน่งร่องมรสุมทำให้ฝนตกในพื้นที่ไม่ต่อเนื่อง
4ความผิดปกติเนื่องจากพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยน้อยกว่าปกติ
5 การเปลี่ยนแปลงความสมดุลของพลังงานที่ได้รับจากดวงอาทิตย์เช่นการเผาพลาสติกน้ำมันและถ่านหินทำให้เกิดรูโหว่ในชั้นโอโซน
6ผลกระทบจากปรากฏการณ์ภาวะเรือนกระจกเนื่องจากส่วนผสมของบรรยากาศเช่นคาร์บอนไดออกไซด์ไอน้ำลอยขึ้นไปเคลือบชั้นล่างของชั้นโอโซนทำให้ความร้อนสะสมอยู่ในอากาศใกล้ผิวโลกมากขึ้นทำให้อากาศร้อนกว่าปกติ
7การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมต่างๆ
8 การตัดไม้ทำลายป่าทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมอันเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของภูมิอากาศเช่นฝนอุณหภูมิและความชื้น

ฤดูกาลเกิดภัยแล้งการเกิดภัยแล้งโดยทั่วไปจะเกิดขึ้น 2 ช่วงดังนี้
1ในฤดูหนาวระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์และต่อเนื่องมาถึงฤดูร้อนระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคมคือช่วงสิ้นสุดของฤดูฝนซึ่งเริ่มจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคมเป็นต้นไปหรือถ้ามีก็จะมีเพียงจำนวนเล็กน้อยส่วนมากจะเป็นฝนจากพายุฝนฟ้าคะนองจึงทำให้เกิดความแห้งแล้งเป็นประจำทุกปีในช่วงนี้และมักจะมีไฟป่าเกิดขึ้นตามมาด้วย
4 . อันตรายโรคจากภัยแล้ง

ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากเรื่องความเป็นอยู่ด้านเศรษฐกิจแล้วยังอาจจะส่งผลกระทบกับประชาชนด้านสุขภาพได้โรคที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพประชาชนที่ประสบภัยแล้งที่ต้องระมัดระวังมีหลายโรคจะในช่วงหน้าร้อนได้แก่ 1โรคอุจจาระร่วงสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อหลายประเภททั้งแบคทีเรียไวรัสและกลุ่มเชอโปรโตซที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหารซึ่งในหน้าร้อนมีโอกาสบูดเสียได้มากขึ้นและเมื่อรวมกับสุขอนามัยที่ไม่สะอาดแล้วความถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำามากกว่า 3 ครั้งต่อวันเชื้อแบคทีเรียบางชนิดเช่นเชื้ออหิวาตกโรคเป็นสาเหตุทํให้เกิดอาการท้องร่วงรุนแรงมีอาการขาดน้ําสูญเสียเกลือแร่หากป่วยแล้วอาการไม่รุนแรงก็สามารถใหการักษาเบื้องต้นได้เองด้วยผงเกลือแร่ผสมน้ําดื่มถ้ามีอาการุนแรงเช่นถ่ายเป็นน้ําหลายครั้งอ่อนเพลีย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: