การตั้งครรภ์ของหญิงในขณะที่มี
อายุยังน้อย
หรือที่
สังคมมองว่าเป็น
“
วัยรุ่น
”
/
“
วัยเรียน
”
นั้น
มัก
ได้รับการ
น าเสนอ
ผ่านการศึกษาวิจัย ให้ความหมายและนิยา
ม
ว่า
“
ผิดปกติ
”
ที่ต้องมีการจัดการ ควบคุมในฐานะ
เป็น
“
ปัญหา
สังคม
”
ในงานนี้
ผู้ศึกษาไม่ได้เริ่มต้นจากฐานสมมุติ (
assumption
)ที่ว่า
หญิง
ที่ตั้
ง
ครรภ์
ตั้งแต่อายุยังน้อยเป็น
“
ปัญหา
สังคม
”
แต่สนใจประสบการณ์ชีวิตของวัยรุ่นหญิงที่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ว่า
สัมพันธ์กับบริบทสังคมวัฒนธรรม เพศภาวะ
เพศวิถีในสังคมไทย
หรือไม่
อย่างไร
มีการ
ต่อรอง การผลิตซ้ า หรือแม้แต่การจ านนของหญิงวัยรุ่น
หรือไม่ อย่างไร ทั้งนี้
เพื่อ
สะท้อน ความรู้สึก
การรับรู้ผ่าน
ประสบการณ์ชีวิต
และ
“
เสียง
”
ของแม่วัยรุ่น
(emic view)
อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษานี้
ถือ
เป็นข้อมูลเบื้องต้นจากสนาม
ที่
พบว่า มีเงื่อนอื่น นอกเหนือจาก
สภาพ
ทาง
เศรษฐกิจที่
อธิบายระดับความสามารถในการ
เลี้ยงดูลูก
และเงื่อนไข
ทางสังคม
เหล่านี้
มัก
ท าให้
แม่วัย
รุ่น
ส่วนใหญ่มี
ประสบการณ์แยกห่างจากลูกในทางกายภาพ
ขณะที่แม่ที่ต้องแยกห่างจากลูกได้รับความช่วยเหลือในการเลี้ยงดูบุตร
จากแม่ในเชิงสังคม(
social mothers
) นอกจากนี้พบว่า
แม้การตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่ผู้หญิงไม่ได้เลือกให้เกิดขึ้น
แต่
แม่
วัยรุ่นพยายามที่จ
ะเป็นแม่ที่ดี
รวมทั้งปรากฏ
บทบาทของการจ านน ผลิตซ้ า และต่อรองกับเพศวิถี เพศภาวะ ไม่ได้เป็น
แม่วัยรุ่น ที่ถูกกดทับจากบรรทัดฐานสังคม อย่างที่เข้าใจกันโดยผิวเผิน