3. การศึกษาผลกระทบสิ่งแวลดล้อม3.1 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ3.1.1 ลั การแปล - 3. การศึกษาผลกระทบสิ่งแวลดล้อม3.1 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ3.1.1 ลั ไทย วิธีการพูด

3. การศึกษาผลกระทบสิ่งแวลดล้อม3.1 ท

3. การศึกษาผลกระทบสิ่งแวลดล้อม
3.1 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
3.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ
3.1.1.1 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน
ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ลำปาวฝั่งขวา ครอบคลุมเขตปกครองอยู่ 6อำเภอ ใน 2จังหวัดได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ลำปาวฝั่งขวาทางด้านทิศเหนือติดกับลุ่มน้ำลำปาวตอนบน ทิศตะวันตกติดกับ ลุ่มน้ำห้วยสายบาตรและลุ่มน้ำชีส่วนที่ 4 และทิศตะวันออกติดกับลุ่มน้ำลำปาวฝั่งซ้าย โดยตอนบนของพื้นที่ลุ่มน้ำในเขตอำเภอหนองกุงศรี ติดกับอำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นเทือกเขาสูง ได้แก่ เทือกเขาภูโน มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ 400-500 เมตร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของห้วยลำหนองแสน ที่ไหลลงสู่อ่างเก็บน้ำลำปาวทางทิศตะวันออกของพื้นที่ ส่วนตอนกลางของพื้นที่ลุ่มน้ำ มีเทือกเขากั้นระหว่างอำเภอห้วยเม็กกับอำเภอยางตลาด ลักษณะภูมิประเทศบริเวณนี้เป็นที่ราบสูงและลูกคลื่น ลอนลาด มีห้วยกุดสังข์ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของลำปาวไหลผ่าน ส่วนตอนล่างของพื้นที่ลุ่มน้ำบริเวณอำเภอฆ้องชัยและอำเภอกมลาไสยเป็นที่ราบลาดต่ำลงมาตามแนวลำน้ำลำปาว และที่ราบน้ำท่วมถึง มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ 100-150 เมตร
3.1.1.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
คาดว่าจะมีกิจกรรมการขุดเปิดหน้าดิน เพื่อวางท่อส่งน้ำซึ่งส่วนใหญ่จะวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทาง อาจมีการขุดลอกแหล่งน้ำและลำคลองต่างหรืออาจมีการสร้างฝายทดน้ำเพื่อยกระดับน้ำให้สามารถสูบทอยน้ำส่งไปยังพื้นที่เกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งคาดว่าการขุดเปิดหน้าดินและการก่อสร้างองค์ประกอบต่างๆของโครงการจะไม่ส่งผลกระทบต่อลักษณะภูมิประเทศเดิมแต่หากมีการสร้างฝายทดน้ำขึ้นมาใหม่อาจมีการเปิดพื้นที่บางส่วนเพื่อเก็บกักน้ำหรือหากที่ตั้งฝายเป็นพื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าก็อาจมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศจากป่าเป็นแหล่งน้ำอาจส่งผลให้มีแหล่งน้ำเพิ่มขึ้นอย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะใช้พื้นที่ไม่มากนัก จะเป็นผลกระทบทางลบในระดับน้อย (-2)
2) ระยะดำเนินการ
การดำเนินการโครงการระบบเครือข่าย เป็นการส่งน้ำโดยระบบท่อเพื่อกระจายน้ำไปยังพื้นที่ต่างๆของแปลงเกษตรกรซึ่งจะเป็นการเอื้อประโยชน์ในการเพาะปลูกให้แก่เกษตรกรได้มีน้ำใช้ช่วงฤดูแล้งมากขึ้นโดยในระยะดำเนินการของโครงการระบบเครือข่ายน้ำจะไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิประเทศแต่อย่างใด (0)
3.1.1.3 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
(1) การก่อสร้างโครงการต้องควบคุมให้ดำเนินการเฉพาะขอบเขตพื้นที่ที่กำหนดหรือกันเขตไว้เท่านั้น โดยเฉพาะบริเวณที่มีการวางระบบท่อเครือข่ายน้ำ ซึ่งวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทาง
(2) บริเวณคันดินรอบแหล่งน้ำสาธารณะที่ขุดลอก ให้ดำเนินการปลูกต้นไม้และพืชคลุมดิน โดยใช้พันธุ์ไม้ท้องถิ่นเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน มีทัศนียภาพที่สวยงามและสร้างความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
(3) ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง พื้นที่เก็บกองวัสดุก่อสร้างและพื้นที่โดยรอบ เมื่อใช้พื้นที่แล้วเสร็จให้ปรับปรุงพื้นที่ให้คืนสู่สภาพเดิมหรือดีกว่าเดิมทันที
2) ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
3.1.1.4 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
ไม่มีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
2) ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
3.1.2 ลักษณะภูมิอากาศและคุณภาพอากาศ
3.1.2.1 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน
สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของพื้นที่ลำปาวฝั่งขวามีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน (Tropical Monsoon Climate) ในช่วงฤดูแล้งอากาศร้อนอบอ้าวและค่อนข้างหนาวในฤดูหนาว ส่วนฤดูฝนจะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม และจากการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ตัวแทนพื้นที่อ่อนไหว จำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 บริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกรุงเผือก สถานีที่2 บริเวณโรงเรียนบ้านแกวิทยาคม และสถานีที่ 3 บริเวณวัดพุทธมงคล โดยทำการตรวจวัดในช่วงวันที่ 8-11 เมษายน 2555 ผลการตรวจวัดพบว่าคุณภาพอากาศของทั้ง 3 สถานียังมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
3.1.2.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
กิจกรรมการขุดเปิดหน้าดินในระยะการก่อสร้างเพื่อวางท่อซึ่งส่วนใหญ่จะวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทางซึ่งการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวอาจส่งผลกระทบทำให้มีฝุ่นละอองเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในฤดูแล้งหน้าดินแห้ง ดังนั้นการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนดไว้เพื่อป้องกันและลดผลกระทบด้านฝุ่นละอองต่อชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงอย่างเคร่งครัดจะช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นได้จึงประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะก่อสร้างโครงการได้ว่ามีผลกระทบในระดับน้อยที่สุด (-1)
2) ระยะดำเนินการ
เมื่อโครงการเปิดดำเนินการแล้วจะไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศแต่อย่างใด
3.1.2.3 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
(1) ควบคุมให้ผู้รับเหมาฉีดพรมน้ำบริเวณพื้นที่ขุดเปิดหน้าดิน และเส้นทางคมนาคมในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างเพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองอย่างสม่ำเสมอ
(2) การขนส่งวัสดุในการก่อสร้างชนิดที่สามารถฟุ้งกระจายหรือตกหล่นบนผิวจราจรต้องมีการปิดคลุมเมื่อมีการขนย้ายทุกครั้ง เพื่อป้องกันการตกหล่นหรือฟุ้งกระจายขณะขนส่งตลอดเส้นทาง
(3) จำกัดความเร็วรถบรรทุกวัสดุก่อสร้างของโครงการ ในช่วงที่ผ่านพื้นที่ชุมชนไม่ให้เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง และในพื้นที่ทั่วไปไม่ให้เกิน 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง (ตามข้อกำหนดในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522)
(4) ตรวจสอบเครื่องจักร และเครื่องยนต์ เป็นประจำทุกเดือน เพื่อลดมลสารจากไอเสีย
(5) ติดตั้งแผงพลาสติก/รั้ว/ผ้าใบ เพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองในบริเวณชุมชน ตามระเบียบและข้อปฏิบัติในการควบคุมฝุ่นละอองจากการก่อสร้างประเภทต่างๆ ของกรมควบคุมมลพิษ ทั้งนี้ในกรณีที่ไม่สามารถติดตั้งแผงดังกล่าวได้ ให้ฉีดพรมน้ำหรือจัดให้มีสิ่งปิดคลุมกองวัสดุที่ใช้อย่างมิดชิด
2) ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
3.1.2.4 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
ตรวจวัดคุณภาพอากาศ โดยทำการตรวจวัดปริมาณฝ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
3. การศึกษาผลกระทบสิ่งแวลดล้อม
3.1 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
3.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ
3.1.1.1 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน
ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ลำปาวฝั่งขวาครอบคลุมเขตปกครองอยู่ 6อำเภอ ใน 2จังหวัดได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดมหาสารคามซึ่งสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ลำปาวฝั่งขวาทางด้านทิศเหนือติดกับลุ่มน้ำลำปาวตอนบน ลุ่มน้ำห้วยสายบาตรและลุ่มน้ำชีส่วนที่ 4 และทิศตะวันออกติดกับลุ่มน้ำลำปาวฝั่งซ้ายโดยตอนบนของพื้นที่ลุ่มน้ำในเขตอำเภอหนองกุงศรีติดกับอำเภอท่าคันโทจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นเทือกเขาสูงได้แก่เทือกเขาภูโน ประมาณ 400-500 เมตรซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของห้วยลำหนองแสนที่ไหลลงสู่อ่างเก็บน้ำลำปาวทางทิศตะวันออกของพื้นที่ส่วนตอนกลางของพื้นที่ลุ่มน้ำมีเทือกเขากั้นระหว่างอำเภอห้วยเม็กกับอำเภอยางตลาด ลอนลาดมีห้วยกุดสังข์ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของลำปาวไหลผ่านส่วนตอนล่างของพื้นที่ลุ่มน้ำบริเวณอำเภอฆ้องชัยและอำเภอกมลาไสยเป็นที่ราบลาดต่ำลงมาตามแนวลำน้ำลำปาวและที่ราบน้ำท่วมถึง ประมาณ 100-150 เมตร
3.1.1.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
คาดว่าจะมีกิจกรรมการขุดเปิดหน้าดินเพื่อวางท่อส่งน้ำซึ่งส่วนใหญ่จะวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทาง อาจมีการขุดลอกแหล่งน้ำและลำคลองต่างหรืออาจมีการสร้างฝายทดน้ำเพื่อยกระดับน้ำให้สามารถสูบทอยน้ำส่งไปยังพื้นที่เกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งคาดว่าการขุดเปิดหน้าดินและการก่อสร้างองค์ประกอบต่างๆของโครงการจะไม่ส่งผลกระทบต่อลักษณะภูมิประเทศเดิมแต่หากมีการสร้างฝายทดน้ำขึ้นมาใหม่อาจมีการเปิดพื้นที่บางส่วนเพื่อเก็บกักน้ำหรือหากที่ตั้งฝายเป็นพื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าก็อาจมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศจากป่าเป็นแหล่งน้ำอาจส่งผลให้มีแหล่งน้ำเพิ่มขึ้นอย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะใช้พื้นที่ไม่มากนัก จะเป็นผลกระทบทางลบในระดับน้อย (-2)
2 ระยะดำเนินการ
การดำเนินการโครงการระบบเครือข่าย เป็นการส่งน้ำโดยระบบท่อเพื่อกระจายน้ำไปยังพื้นที่ต่างๆของแปลงเกษตรกรซึ่งจะเป็นการเอื้อประโยชน์ในการเพาะปลูกให้แก่เกษตรกรได้มีน้ำใช้ช่วงฤดูแล้งมากขึ้นโดยในระยะดำเนินการของโครงการระบบเครือข่ายน้ำจะไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิประเทศแต่อย่างใด (0)
3.1.1.3 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
(1) การก่อสร้างโครงการต้องควบคุมให้ดำเนินการเฉพาะขอบเขตพื้นที่ที่กำหนดหรือกันเขตไว้เท่านั้นโดยเฉพาะบริเวณที่มีการวางระบบท่อเครือข่ายน้ำซึ่งวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทาง
(2) บริเวณคันดินรอบแหล่งน้ำสาธารณะที่ขุดลอกให้ดำเนินการปลูกต้นไม้และพืชคลุมดินโดยใช้พันธุ์ไม้ท้องถิ่นเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินมีทัศนียภาพที่สวยงามและสร้างความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
(3) ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างพื้นที่เก็บกองวัสดุก่อสร้างและพื้นที่โดยรอบเมื่อใช้พื้นที่แล้วเสร็จให้ปรับปรุงพื้นที่ให้คืนสู่สภาพเดิมหรือดีกว่าเดิมทันที
2) ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
3.1.1.4 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1 ระยะก่อสร้าง
ไม่มีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
2 ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
3.12 ลักษณะภูมิอากาศและคุณภาพอากาศ
3.1.2.1 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน
ส่วนฤดูฝนจะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมในช่วงฤดูแล้งอากาศร้อนอบอ้าวและค่อนข้างหนาวในฤดูหนาวสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของพื้นที่ลำปาวฝั่งขวามีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน (ภูมิอากาศมรสุมเขตร้อน) จำนวน 3 สถานีได้แก่สถานีที่ 1 บริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกรุงเผือก สถานีที่2 บริเวณโรงเรียนบ้านแกวิทยาคมและสถานีที่ 3 บริเวณวัดพุทธมงคลโดยทำการตรวจวัดในช่วงวันที่ 8-11 เมษายน 2555 3 สถานียังมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
3.1.2.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
กิจกรรมการขุดเปิดหน้าดินในระยะการก่อสร้างเพื่อวางท่อซึ่งส่วนใหญ่จะวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทางซึ่งการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวอาจส่งผลกระทบทำให้มีฝุ่นละอองเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในฤดูแล้งหน้าดินแห้ง ดังนั้นการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนดไว้เพื่อป้องกันและลดผลกระทบด้านฝุ่นละอองต่อชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงอย่างเคร่งครัดจะช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นได้จึงประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะก่อสร้างโครงการได้ว่ามีผลกระทบในระดับน้อยที่สุด (-1)
2 ระยะดำเนินการ
เมื่อโครงการเปิดดำเนินการแล้วจะไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศแต่อย่างใด
3.1.2.3 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
(1) ควบคุมให้ผู้รับเหมาฉีดพรมน้ำบริเวณพื้นที่ขุดเปิดหน้าดินและเส้นทางคมนาคมในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างเพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองอย่างสม่ำเสมอ
(2) การขนส่งวัสดุในการก่อสร้างชนิดที่สามารถฟุ้งกระจายหรือตกหล่นบนผิวจราจรต้องมีการปิดคลุมเมื่อมีการขนย้ายทุกครั้งเพื่อป้องกันการตกหล่นหรือฟุ้งกระจายขณะขนส่งตลอดเส้นทาง
(3) จำกัดความเร็วรถบรรทุกวัสดุก่อสร้างของโครงการในช่วงที่ผ่านพื้นที่ชุมชนไม่ให้เกิน 30 และในพื้นที่ทั่วไปไม่ให้เกินกิโลเมตร/ชั่วโมง 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง (ตามข้อกำหนดในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522)
(4) ตรวจสอบเครื่องจักรและเครื่องยนต์เป็นประจำทุกเดือนเพื่อลดมลสารจากไอเสีย
(5) ติดตั้งแผงพลาสติก/รั้ว/ผ้าใบเพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองในบริเวณชุมชนตามระเบียบและข้อปฏิบัติในการควบคุมฝุ่นละอองจากการก่อสร้างประเภทต่าง ๆ ของกรมควบคุมมลพิษ ให้ฉีดพรมน้ำหรือจัดให้มีสิ่งปิดคลุมกองวัสดุที่ใช้อย่างมิดชิด
2 ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
3.1.2.4 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
ตรวจวัดคุณภาพอากาศโดยทำการตรวจวัดปริมาณฝ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
3. การศึกษาผลกระทบสิ่งแวลดล้อม
3.1 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
3.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ
3.1.1.1 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน
ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ลำปาวฝั่งขวา ครอบคลุมเขตปกครองอยู่ 6อำเภอ ใน 2จังหวัดได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ลำปาวฝั่งขวาทางด้านทิศเหนือติดกับลุ่มน้ำลำปาวตอนบน ทิศตะวันตกติดกับ ลุ่มน้ำห้วยสายบาตรและลุ่มน้ำชีส่วนที่ 4 และทิศตะวันออกติดกับลุ่มน้ำลำปาวฝั่งซ้าย โดยตอนบนของพื้นที่ลุ่มน้ำในเขตอำเภอหนองกุงศรี ติดกับอำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นเทือกเขาสูง ได้แก่ เทือกเขาภูโน มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ 400-500 เมตร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของห้วยลำหนองแสน ที่ไหลลงสู่อ่างเก็บน้ำลำปาวทางทิศตะวันออกของพื้นที่ ส่วนตอนกลางของพื้นที่ลุ่มน้ำ มีเทือกเขากั้นระหว่างอำเภอห้วยเม็กกับอำเภอยางตลาด ลักษณะภูมิประเทศบริเวณนี้เป็นที่ราบสูงและลูกคลื่น ลอนลาด มีห้วยกุดสังข์ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของลำปาวไหลผ่าน ส่วนตอนล่างของพื้นที่ลุ่มน้ำบริเวณอำเภอฆ้องชัยและอำเภอกมลาไสยเป็นที่ราบลาดต่ำลงมาตามแนวลำน้ำลำปาว และที่ราบน้ำท่วมถึง มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ 100-150 เมตร
3.1.1.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
คาดว่าจะมีกิจกรรมการขุดเปิดหน้าดิน เพื่อวางท่อส่งน้ำซึ่งส่วนใหญ่จะวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทาง อาจมีการขุดลอกแหล่งน้ำและลำคลองต่างหรืออาจมีการสร้างฝายทดน้ำเพื่อยกระดับน้ำให้สามารถสูบทอยน้ำส่งไปยังพื้นที่เกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งคาดว่าการขุดเปิดหน้าดินและการก่อสร้างองค์ประกอบต่างๆของโครงการจะไม่ส่งผลกระทบต่อลักษณะภูมิประเทศเดิมแต่หากมีการสร้างฝายทดน้ำขึ้นมาใหม่อาจมีการเปิดพื้นที่บางส่วนเพื่อเก็บกักน้ำหรือหากที่ตั้งฝายเป็นพื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าก็อาจมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศจากป่าเป็นแหล่งน้ำอาจส่งผลให้มีแหล่งน้ำเพิ่มขึ้นอย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะใช้พื้นที่ไม่มากนัก จะเป็นผลกระทบทางลบในระดับน้อย (-2)
2) ระยะดำเนินการ
การดำเนินการโครงการระบบเครือข่าย เป็นการส่งน้ำโดยระบบท่อเพื่อกระจายน้ำไปยังพื้นที่ต่างๆของแปลงเกษตรกรซึ่งจะเป็นการเอื้อประโยชน์ในการเพาะปลูกให้แก่เกษตรกรได้มีน้ำใช้ช่วงฤดูแล้งมากขึ้นโดยในระยะดำเนินการของโครงการระบบเครือข่ายน้ำจะไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิประเทศแต่อย่างใด (0)
3.1.1.3 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
(1) การก่อสร้างโครงการต้องควบคุมให้ดำเนินการเฉพาะขอบเขตพื้นที่ที่กำหนดหรือกันเขตไว้เท่านั้น โดยเฉพาะบริเวณที่มีการวางระบบท่อเครือข่ายน้ำ ซึ่งวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทาง
(2) บริเวณคันดินรอบแหล่งน้ำสาธารณะที่ขุดลอก ให้ดำเนินการปลูกต้นไม้และพืชคลุมดิน โดยใช้พันธุ์ไม้ท้องถิ่นเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน มีทัศนียภาพที่สวยงามและสร้างความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
(3) ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง พื้นที่เก็บกองวัสดุก่อสร้างและพื้นที่โดยรอบ เมื่อใช้พื้นที่แล้วเสร็จให้ปรับปรุงพื้นที่ให้คืนสู่สภาพเดิมหรือดีกว่าเดิมทันที
2) ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
3.1.1.4 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
ไม่มีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
2) ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
3.1.2 ลักษณะภูมิอากาศและคุณภาพอากาศ
3.1.2.1 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน
สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของพื้นที่ลำปาวฝั่งขวามีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน (Tropical Monsoon Climate) ในช่วงฤดูแล้งอากาศร้อนอบอ้าวและค่อนข้างหนาวในฤดูหนาว ส่วนฤดูฝนจะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม และจากการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ตัวแทนพื้นที่อ่อนไหว จำนวน 3 สถานี ได้แก่ สถานีที่ 1 บริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกรุงเผือก สถานีที่2 บริเวณโรงเรียนบ้านแกวิทยาคม และสถานีที่ 3 บริเวณวัดพุทธมงคล โดยทำการตรวจวัดในช่วงวันที่ 8-11 เมษายน 2555 ผลการตรวจวัดพบว่าคุณภาพอากาศของทั้ง 3 สถานียังมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
3.1.2.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
กิจกรรมการขุดเปิดหน้าดินในระยะการก่อสร้างเพื่อวางท่อซึ่งส่วนใหญ่จะวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทางซึ่งการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวอาจส่งผลกระทบทำให้มีฝุ่นละอองเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในฤดูแล้งหน้าดินแห้ง ดังนั้นการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนดไว้เพื่อป้องกันและลดผลกระทบด้านฝุ่นละอองต่อชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงอย่างเคร่งครัดจะช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นได้จึงประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะก่อสร้างโครงการได้ว่ามีผลกระทบในระดับน้อยที่สุด (-1)
2) ระยะดำเนินการ
เมื่อโครงการเปิดดำเนินการแล้วจะไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศแต่อย่างใด
3.1.2.3 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
(1) ควบคุมให้ผู้รับเหมาฉีดพรมน้ำบริเวณพื้นที่ขุดเปิดหน้าดิน และเส้นทางคมนาคมในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างเพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองอย่างสม่ำเสมอ
(2) การขนส่งวัสดุในการก่อสร้างชนิดที่สามารถฟุ้งกระจายหรือตกหล่นบนผิวจราจรต้องมีการปิดคลุมเมื่อมีการขนย้ายทุกครั้ง เพื่อป้องกันการตกหล่นหรือฟุ้งกระจายขณะขนส่งตลอดเส้นทาง
(3) จำกัดความเร็วรถบรรทุกวัสดุก่อสร้างของโครงการ ในช่วงที่ผ่านพื้นที่ชุมชนไม่ให้เกิน 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง และในพื้นที่ทั่วไปไม่ให้เกิน 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง (ตามข้อกำหนดในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522)
(4) ตรวจสอบเครื่องจักร และเครื่องยนต์ เป็นประจำทุกเดือน เพื่อลดมลสารจากไอเสีย
(5) ติดตั้งแผงพลาสติก/รั้ว/ผ้าใบ เพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองในบริเวณชุมชน ตามระเบียบและข้อปฏิบัติในการควบคุมฝุ่นละอองจากการก่อสร้างประเภทต่างๆ ของกรมควบคุมมลพิษ ทั้งนี้ในกรณีที่ไม่สามารถติดตั้งแผงดังกล่าวได้ ให้ฉีดพรมน้ำหรือจัดให้มีสิ่งปิดคลุมกองวัสดุที่ใช้อย่างมิดชิด
2) ระยะดำเนินการ
ไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
3.1.2.4 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1) ระยะก่อสร้าง
ตรวจวัดคุณภาพอากาศ โดยทำการตรวจวัดปริมาณฝ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
3 . การศึกษาผลกระทบสิ่งแวลดล้อม 3.1 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ



3.1.1.1 สภาพแวดล้อมปัจจุบัน 3.1.1 ลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ลำปาวฝั่งขวาครอบคลุมเขตปกครองอยู่ 6 อำเภอ the 2 จังหวัดได้แก่จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดมหาสารคามซึ่งสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ลำปาวฝั่งขวาทางด้านทิศเหนือติดกับลุ่มน้ำลำปาวตอนบนลุ่มน้ำห้วยสายบาตรและลุ่มน้ำชีส่วนที่ 4 และทิศตะวันออกติดกับลุ่มน้ำลำปาวฝั่งซ้ายโดยตอนบนของพื้นที่ลุ่มน้ำในเขตอำเภอหนองกุงศรีติดกับอำเภอท่าคันโทจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นเทือกเขาสูงได้แก่เทือกเขาภูโนประมาณ 400-500 เมตรซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของห้วยลำหนองแสนที่ไหลลงสู่อ่างเก็บน้ำลำปาวทางทิศตะวันออกของพื้นที่ส่วนตอนกลางของพื้นที่ลุ่มน้ำมีเทือกเขากั้นระหว่างอำเภอห้วยเม็กกับอำเภอยางตลาดลอนลาดมีห้วยกุดสังข์ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของลำปาวไหลผ่านส่วนตอนล่างของพื้นที่ลุ่มน้ำบริเวณอำเภอฆ้องชัยและอำเภอกมลาไสยเป็นที่ราบลาดต่ำลงมาตามแนวลำน้ำลำปาวและที่ราบน้ำท่วมถึงประมาณ 100-150 เมตร
3.1.1.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมระยะก่อสร้าง

1 )คาดว่าจะมีกิจกรรมการขุดเปิดหน้าดินเพื่อวางท่อส่งน้ำซึ่งส่วนใหญ่จะวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทางอาจมีการขุดลอกแหล่งน้ำและลำคลองต่างหรืออาจมีการสร้างฝายทดน้ำเพื่อยกระดับน้ำให้สามารถสูบทอยน้ำส่งไปยังพื้นที่เกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งคาดว่าการขุดเปิดหน้าดินและการก่อสร้างองค์ประกอบต่างๆของโครงการจะไม่ส่งผลกระทบต่อลักษณะภูมิประเทศเดิมแต่หากมีการสร้างฝายทดน้ำขึ้นมาใหม่อาจมีการเปิดพื้นที่บางส่วนเพื่อเก็บกักน้ำหรือหากที่ตั้งฝายเป็นพื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าก็อาจมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศจากป่าเป็นแหล่งน้ำอาจส่งผลให้มีแหล่งน้ำเพิ่มขึ้นอย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะใช้พื้นที่ไม่มากนักจะเป็นผลกระทบทางลบในระดับน้อย ( - 2 )
2 ) ระยะดำเนินการ
การดำเนินการโครงการระบบเครือข่ายเป็นการส่งน้ำโดยระบบท่อเพื่อกระจายน้ำไปยังพื้นที่ต่างๆของแปลงเกษตรกรซึ่งจะเป็นการเอื้อประโยชน์ในการเพาะปลูกให้แก่เกษตรกรได้มีน้ำใช้ช่วงฤดูแล้งมากขึ้นโดยในระยะดำเนินการของโครงการระบบเครือข่ายน้ำจะไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิประเทศแต่อย่างใด( 0 )
3.1.1.3 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมระยะก่อสร้าง

1 )( 1 ) การก่อสร้างโครงการต้องควบคุมให้ดำเนินการเฉพาะขอบเขตพื้นที่ที่กำหนดหรือกันเขตไว้เท่านั้นโดยเฉพาะบริเวณที่มีการวางระบบท่อเครือข่ายน้ำซึ่งวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทาง
( 2 ) บริเวณคันดินรอบแหล่งน้ำสาธารณะที่ขุดลอกให้ดำเนินการปลูกต้นไม้และพืชคลุมดินโดยใช้พันธุ์ไม้ท้องถิ่นเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินมีทัศนียภาพที่สวยงามและสร้างความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
( 3 ) ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างพื้นที่เก็บกองวัสดุก่อสร้างและพื้นที่โดยรอบเมื่อใช้พื้นที่แล้วเสร็จให้ปรับปรุงพื้นที่ให้คืนสู่สภาพเดิมหรือดีกว่าเดิมทันที
2 )
ระยะดำเนินการไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
3.1.1.4 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1 ) ระยะก่อสร้าง
ไม่มีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
2 )

ระยะดำเนินการไม่มีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ 3.1 .2 ลักษณะภูมิอากาศและคุณภาพอากาศสภาพแวดล้อมปัจจุบัน

3.1.2.1สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของพื้นที่ลำปาวฝั่งขวามีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน ( มรสุมเขตร้อน ) ในช่วงฤดูแล้งอากาศร้อนอบอ้าวและค่อนข้างหนาวในฤดูหนาวส่วนฤดูฝนจะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมจำนวน 3 สถานีได้แก่สถานีที่ 1 บริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกรุงเผือกสถานีที่ 2 บริเวณโรงเรียนบ้านแกวิทยาคมและสถานีที่ 3 บริเวณวัดพุทธมงคลโดยทำการตรวจวัดในช่วงวันที่ 8-11 เมษายน 2555สถานียังมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
33.1.2.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมระยะก่อสร้าง

1 )กิจกรรมการขุดเปิดหน้าดินในระยะการก่อสร้างเพื่อวางท่อซึ่งส่วนใหญ่จะวางขนานกับแนวถนนหรือวางในเขตทางซึ่งการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวอาจส่งผลกระทบทำให้มีฝุ่นละอองเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในฤดูแล้งหน้าดินแห้งดังนั้นการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนดไว้เพื่อป้องกันและลดผลกระทบด้านฝุ่นละอองต่อชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงอย่างเคร่งครัดจะช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นได้จึงประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะก่อสร้างโครงการได้ว่ามีผลกระทบในระดับน้อยที่สุด( - 1 )
2 ) ระยะดำเนินการ

3.1.2.3 เมื่อโครงการเปิดดำเนินการแล้วจะไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศแต่อย่างใดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมระยะก่อสร้าง

1 )( 1 ) ควบคุมให้ผู้รับเหมาฉีดพรมน้ำบริเวณพื้นที่ขุดเปิดหน้าดินและเส้นทางคมนาคมในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างเพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองอย่างสม่ำเสมอ
( 2 ) การขนส่งวัสดุในการก่อสร้างชนิดที่สามารถฟุ้งกระจายหรือตกหล่นบนผิวจราจรต้องมีการปิดคลุมเมื่อมีการขนย้ายทุกครั้งเพื่อป้องกันการตกหล่นหรือฟุ้งกระจายขณะขนส่งตลอดเส้นทาง
( 3 ) จำกัดความเร็วรถบรรทุกวัสดุก่อสร้างของโครงการในช่วงที่ผ่านพื้นที่ชุมชนไม่ให้เกิน 30 กิโลเมตร / ชั่วโมงและในพื้นที่ทั่วไปไม่ให้เกิน 80 กิโลเมตร / ชั่วโมง ( ตามข้อกำหนดในพระราชบัญญัติจราจรทางบกพ . ศ . 2522 )
( 4 ) ตรวจสอบเครื่องจักรและเครื่องยนต์เป็นประจำทุกเดือนเพื่อลดมลสารจากไอเสีย
( 5 ) ติดตั้งแผงพลาสติก / รั้ว / ผ้าใบเพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองในบริเวณชุมชนตามระเบียบและข้อปฏิบัติในการควบคุมฝุ่นละอองจากการก่อสร้างประเภทต่างๆของกรมควบคุมมลพิษให้ฉีดพรมน้ำหรือจัดให้มีสิ่งปิดคลุมกองวัสดุที่ใช้อย่างมิดชิด
2 ) ระยะดำเนินการ

3.1.2.4 ไม่มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1 ) ระยะก่อสร้าง
ตรวจวัดคุณภาพอากาศโดยทำการตรวจวัดปริมาณฝ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: