1. การปลูกหม่อนไหมเลี้ยงไหมที่ภูสิงห์ ความเป็นมา ในปี พ.ศ. 2549 กองกำล การแปล - 1. การปลูกหม่อนไหมเลี้ยงไหมที่ภูสิงห์ ความเป็นมา ในปี พ.ศ. 2549 กองกำล ไทย วิธีการพูด

1. การปลูกหม่อนไหมเลี้ยงไหมที่ภูสิง

1. การปลูกหม่อนไหมเลี้ยงไหมที่ภูสิงห์



ความเป็นมา
ในปี พ.ศ. 2549 กองกำลังสุรนารี กองทัพภาคที่ 2 ร่วมกับจังหวัดศรีสะเกษ ได้ขอใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าฝั่งซ้ายห้วยศาลา บริเวณบ้านตะแบงและบ้านโคกใหญ่ อำเภอภูสิงห์(ในขณะนั้น สองบ้านนี้ขึ้นอยู่กับอำเภอขุขันธ์เป็นชายแดนติดต่อกับประเทศกัมพูชา) เพื่อจัดตั้งระบบผลิตพลังงานแก็สชีวมวลในชนบท จำนวนประมาณ 4,000 ไร่ เพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพราษฎรเป็นระยะเวลา 30 ปี ซึ่งต่อมากรมป่าไม้อนุญาตให้ใช้พื้นที่ดังกล่าวได้ในปี 2532 แต่โครงการดังกล่าวไม่ประสบผลสำเร็จ เนื่องจากติดปัญหาต่าง ๆ มากมาย ต่อมาในปี 2533 กองกำลังสุรนารีได้จัดตั้งศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพช่วยเหลือราษฎรบริเวณชายแดน โดยดำเนินกิจกรรมพัฒนาแบบรวมกิจกรรมทุกสาขา ให้เป็นแหล่งสาธิต บริการพัฒนาอาชีพช่วยเหลือราษฎร และด้านฝึกอบรมราษฎร โดยดำเนินกิจกรรมตามรูปแบบและเค้าโครงของศูนย์พัฒนาโนนดินแดง โครงการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎรที่กิ่งอำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2537 และมีพระราชดำริกับข้าราชการที่เฝ้าฯ รับเสด็จ สรุปความว่า ให้ส่วนราชการต่าง ๆ ร่วมกันจัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาการเกษตรแบบเบ็ดเสร็จ” ในลักษณะเป็นศูนย์สาธิตทางการเกษตรเพื่อช่วยเหลือราษฎรในพื้นที่ซึ่งประกอบอาชีพทำนาไม่ได้ผลและให้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อดำเนินงานศูนย์ฯ ในลักษณะเช่นเดียวกับศูนย์พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โครงการศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์จึงได้ถูกพัฒนาเป็นศูนย์แม่บทและเป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชาติ การบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและเสริมสร้างความมั่นคงของชาติในปัจจุบันกำลังดำเนินกิจกรรมในแผนแม่บทระยะที่ 2 (ปี 2545-2549)
หลังจากทางจังหวัดได้จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินการจากส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแล้ว การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ก็เริ่มดำเนินการนับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา หน่วยงานต่าง ๆ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เข้ามาดำเนินการจัดทำแปลงสาธิต ฝึกอบรมเกษตรในหมู่บ้านรอบศูนย์
อาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม นับเป็นอาชีพที่อยู่คู่กับชาวไทยอีสานมาแต่ครั้งบรรพกาลสืบต่อกันมาถึงยุคปัจจุบัน จนมีลวดลายบนผืนผ้าต่าง ๆ นับเป็นร้อย ๆ ลวดลาย จังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวัดหนึ่งที่ราษฎรมีอาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหมมากเป็นอันดับต้น ๆ ของประเทศ โดยมีพื้นที่ปลูกหม่อน 11,163 ไร่ มีเกษตรกรปลุกหม่อนเลี้ยงไหม 14,989 ครัวเรือน สามารถผลิตเส้นไหมได้ 39,524 กิโลกรัม/ปีและอำเภอภูสิงห์เป็นอำเภอที่ราษฎรมีอาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหมมากอำเภอหนึ่งของขจังหวัด ารปลูกหม่อนเลี้ยงไหมของเกษตรกรก่อนที่จะมีโครงการฯอยู่ในสภาพล้าหลัง ให้ผลผลิตไหมต่ำ รังเล็ก หนอนไหมมักตายเป็นประจำ และปลูกหม่อนพันธุ์พื้นเมืองที่ให้ผลผลิตใบต่ำโครงการฯ โดยศูนย์วิจัยหม่อนไหมศรีสะเกษจึงมีความจำเป็นที่ต้องเข้าดำเนินการแก้ไขปัญหาให้เกษตรกร

การดำเนินกิจกรรมปลูกหม่อนเลี้ยงไหม


ศูนย์วิจัยหม่อนไหมศรีสะเกษ ได้เข้ามาวางแผนดำเนินการและปรับสภาพพื้นที่เมื่อ 19 มิถุนายน 2538 และปลูกหม่อนเพื่อเป็นแปลงสาธิตการปลูกหม่อนพันธุ์ดีและการปลูกที่ถูกวิธีเมื่อ 8 สิงหาคม 2538 ในพื้นที่ประมาณ 5 ไร่ โดยใช้หม่อน 4 พันธุ์ คือนครราชสีมา 60 บุรีรัมย์ 60 ศรีสะเกษ 33 และ ศก.2820 แต่พื้นที่บางส่วนมีสภาพเป็นซับทำให้หม่อนพันธุ์นครราชสีมา 60 และศก.2802 ตายหมดในปี 2541 ได้แก้ไขสภาพน้ำซับ โดยการขุดคูระบายน้ำรอบแปลงหม่อน และปลูกหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 และพันธุ์ศรีสะเกษ 33 จนเต็มพื้นที่ 8 ไร่ และในปี 2539 ได้ก่อสร้างโรงเลี้ยงไหมวัยอ่อนสาธิต ขนาด 6x8 เมตร โดยใช้วัสดุในท้องถิ่นแก่เกษตรกรในหมู่บ้านรอบโครงการฯ และผู้สนใจทั่วไป เพื่อแจกจ่ายไหมวัยอ่อนแก่เกษตรกรสมาชิก

การขยายผลการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมสู่หมู่บ้านรอบโครงการฯ


หลังจากได้สร้างสวนหม่อนและโรงเลี้ยงไหมวัยอ่อนสาธิตแก่เกษตรกรและผู้สนใจ ทั่วไปภายในโครงการฯแล้วในปี 2540 ได้เริ่มรับสมัครเกษตรกรสมาชิกปีละประมาณ 10 รายในหมู่บ้านรอบโครงการฯ ได้แก่ บ้านภูสิงห์ บ้านทุ่งหลวง บ้านตะแบง หมู่ 1 หมู่ 9 หมู่ 12 และหมู่ 18 และให้การสนับสนุนหม่อนพันธุ์ดี คือพันธุ์บุรีรัมย์ 60 และศรีสะเกษ 33 ในปีต่อ ๆ มาได้ให้การสนับสนุนหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 51 เท่านั้น เนื่องจากเป็นพันธุ์ที่ท่อนพันธุ์ออกรากง่ายจึงเป็นที่นิยมของเกษตรกรนำไปปลูกขยายผลแก่สมาชิกที่ต้องการเพิ่มเติมในด้านพันธุ์ไหมได้ให้มีการสนับสนุนพันธุ์ไหมไทยพื้นเมืองปรับปรุง คือ พันธุ์นางน้อยศรีสะเกษ 1 x นค. 4 โดยให้เกษตรกรสมาชิกมาร่วมกันเลี้ยงที่ โรงเลี้ยงสาธิตภายในโครงการฯ โดยมีเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ คอยให้คำแนะนำเทคนิคการเลี้ยงบางประการเป็นการพัฒนาทักษะการเลี้ยงไหมให้แก่เกษตรกรจนไหมเข้าสู่วันที่ 4 จึงแบ่งกันนำไปเลี้ยงที่บ้าน และเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ ได้เข้าไปให้คำแนะนำต่อที่บ้านจนไหมสุกทำรัง หรือเกษตรกรบางรายมีภารกิจภายในครอบครัวไม่สามารถมาร่วมเลี้ยงไหมวันอ่อนได้จะให่ไหมแรกฟักนำกลับไปเลี้ยงที่บ้าน โดยเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ คอยติดตามให้คำแนะนำจนไหมสุกทำรัง ในแต่ละปีจะสนับสนุนพันธุ์ไหมให้เกษตรกรสมาชิกเลี้ยงปีละ 5-6 รุ่น จึงถึงปัจจุบันมีสมาชิกในโครงการฯ แล้ว 50 รายรวมพื้นที่ปลูกหม่อนประมาณ 50 ไร่ ในความเป็นจริงมีเกษตรกรจะขอเข้าร่วมโครงการเป็นจำนวนมาก แต่ทางโครงการฯ ไม่สามารถรับได้ทั้งหมดผลการขยายผลการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมสู่หมู่บ้านเกษตรกรรอบโครงการฯ จากการดำเนินกิจกรรมการขยายผลการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา จนถึงปี 2546 เกษตรกรสมาชิกมีความพึงพอใจในอาชีพเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีรายได้เพิ่มขึ้นจากอดีตที่ทำนาเพียงอย่างเดียว ในสภาพรวมของโครงการฯ นับตั้งแต่ปี 2540-2546 เกษตรกรสมาชิกถ้าจำหน่ายรังไหมทั้งหมดจะมีรายได้ทั้งสิ้นถึง 726,980 บาท
จากการได้พบและสัมภาษณ์เกษตรกรสมาชิกบางรายดังเช่น นางโฮม จำปาเต็ม บ้านภูสิงห์ได้ยอมรับว่าโครงการนี้ได้สร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวอย่างต่อเนื่อง และในบางปีเช่นปี 2541 ได้เกิดวิกฤติฝนแล้งทำนาไม่ได้ผล ไม่มีข้าวจะกิน ก็ได้อาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหมสร้างรายได้นำไปซื้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. การปลูกหม่อนไหมเลี้ยงไหมที่ภูสิงห์ ความเป็นมา ในปีพ.ศ. ๒๕๔๙ กองกำลังสุรนารีกองทัพภาคที่ 2 ร่วมกับจังหวัดศรีสะเกษได้ขอใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าฝั่งซ้ายห้วยศาลาบริเวณบ้านตะแบงและบ้านโคกใหญ่อำเภอภูสิงห์(ในขณะนั้น สองบ้านนี้ขึ้นอยู่กับอำเภอขุขันธ์เป็นชายแดนติดต่อกับประเทศกัมพูชา)เพื่อจัดตั้งระบบผลิตพลังงานแก็สชีวมวลในชนบทจำนวนประมาณ 4000 ไร่เพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพราษฎรเป็นระยะเวลา 30 ปีซึ่งต่อมากรมป่าไม้อนุญาตให้ใช้พื้นที่ดังกล่าวได้ในปี 2532 แต่โครงการดังกล่าวไม่ประสบผลสำเร็จเนื่องจากติดปัญหาต่างๆ มากมายต่อมาในปี 2533 กองกำลังสุรนารีได้จัดตั้งศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพช่วยเหลือราษฎรบริเวณชายแดนโดยดำเนินกิจกรรมพัฒนาแบบรวมกิจกรรมทุกสาขาให้เป็นแหล่งสาธิตบริการพัฒนาอาชีพช่วยเหลือราษฎรและด้านฝึกอบรมราษฎรโดยดำเนินกิจกรรมตามรูปแบบและเค้าโครงของศูนย์พัฒนาโนนดินแดงโครงการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎรที่กิ่งอำเภอภูสิงห์จังหวัดศรีสะเกษเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ๒๕๓๗ และมีพระราชดำริกับข้าราชการที่เฝ้าฯ รับเสด็จสรุปความว่าให้ส่วนราชการต่างๆ ร่วมกันจัดตั้ง "ศูนย์พัฒนาการเกษตรแบบเบ็ดเสร็จ"ในลักษณะเป็นศูนย์สาธิตทางการเกษตรเพื่อช่วยเหลือราษฎรในพื้นที่ซึ่งประกอบอาชีพทำนาไม่ได้ผลและให้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อดำเนินงานศูนย์ฯ ในลักษณะเช่นเดียวกับศูนย์พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโครงการศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์จึงได้ถูกพัฒนาเป็นศูนย์แม่บทและเป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชาติการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและเสริมสร้างความมั่นคงของชาติในปัจจุบันกำลังดำเนินกิจกรรมในแผนแม่บทระยะที่ 2 (ปี 2545-2549) หลังจากทางจังหวัดได้จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินการจากส่วนราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องแล้วการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ก็เริ่มดำเนินการนับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาหน่วยงานต่างๆ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เข้ามาดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตฝึกอบรมเกษตรในหมู่บ้านรอบศูนย์ อาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมนับเป็นอาชีพที่อยู่คู่กับชาวไทยอีสานมาแต่ครั้งบรรพกาลสืบต่อกันมาถึงยุคปัจจุบันจนมีลวดลายบนผืนผ้าต่างๆ นับเป็นร้อยๆ ลวดลายจังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวัดหนึ่งที่ราษฎรมีอาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหมมากเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศโดยมีพื้นที่ปลูกหม่อน 11,163 ไร่มีเกษตรกรปลุกหม่อนเลี้ยงไหม 14,989 ครัวเรือนสามารถผลิตเส้นไหมได้ 39,524 กิโลกรัม/ปีและอำเภอภูสิงห์เป็นอำเภอที่ราษฎรมีอาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหมมากอำเภอหนึ่งของขจังหวัดารปลูกหม่อนเลี้ยงไหมของเกษตรกรก่อนที่จะมีโครงการฯอยู่ในสภาพล้าหลังให้ผลผลิตไหมต่ำรังเล็กหนอนไหมมักตายเป็นประจำและปลูกหม่อนพันธุ์พื้นเมืองที่ให้ผลผลิตใบต่ำโครงการฯ โดยศูนย์วิจัยหม่อนไหมศรีสะเกษจึงมีความจำเป็นที่ต้องเข้าดำเนินการแก้ไขปัญหาให้เกษตรกรการดำเนินกิจกรรมปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ศูนย์วิจัยหม่อนไหมศรีสะเกษได้เข้ามาวางแผนดำเนินการและปรับสภาพพื้นที่เมื่อ 19 มิถุนายน 2538 และปลูกหม่อนเพื่อเป็นแปลงสาธิตการปลูกหม่อนพันธุ์ดีและการปลูกที่ถูกวิธีเมื่อ 8 สิงหาคม 2538 ในพื้นที่ประมาณ 5 ไร่โดยใช้หม่อน 4 พันธุ์คือนครราชสีมา 60 บุรีรัมย์ 60 ศรีสะเกษ 33 และ ศก.2820 แต่พื้นที่บางส่วนมีสภาพเป็นซับทำให้หม่อนพันธุ์นครราชสีมา 60 และศก.2802 ตายหมดในปี 2541 ได้แก้ไขสภาพน้ำซับโดยการขุดคูระบายน้ำรอบแปลงหม่อนและปลูกหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 และพันธุ์ศรีสะเกษ 33 จนเต็มพื้นที่ 8 ไร่และในปี 2539 ได้ก่อสร้างโรงเลี้ยงไหมวัยอ่อนสาธิตขนาด 6 x 8 เมตรโดยใช้วัสดุในท้องถิ่นแก่เกษตรกรในหมู่บ้านรอบโครงการฯ และผู้สนใจทั่วไปเพื่อแจกจ่ายไหมวัยอ่อนแก่เกษตรกรสมาชิกการขยายผลการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมสู่หมู่บ้านรอบโครงการฯ หลังจากได้สร้างสวนหม่อนและโรงเลี้ยงไหมวัยอ่อนสาธิตแก่เกษตรกรและผู้สนใจ ทั่วไปภายในโครงการฯแล้วในปี 2540 ได้เริ่มรับสมัครเกษตรกรสมาชิกปีละประมาณ 10 รายในหมู่บ้านรอบโครงการฯ ได้แก่ บ้านภูสิงห์ บ้านทุ่งหลวง บ้านตะแบง หมู่ 1 หมู่ 9 หมู่ 12 และหมู่ 18 และให้การสนับสนุนหม่อนพันธุ์ดี คือพันธุ์บุรีรัมย์ 60 และศรีสะเกษ 33 ในปีต่อ ๆ มาได้ให้การสนับสนุนหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 51 เท่านั้น เนื่องจากเป็นพันธุ์ที่ท่อนพันธุ์ออกรากง่ายจึงเป็นที่นิยมของเกษตรกรนำไปปลูกขยายผลแก่สมาชิกที่ต้องการเพิ่มเติมในด้านพันธุ์ไหมได้ให้มีการสนับสนุนพันธุ์ไหมไทยพื้นเมืองปรับปรุง คือ พันธุ์นางน้อยศรีสะเกษ 1 x นค. 4 โดยให้เกษตรกรสมาชิกมาร่วมกันเลี้ยงที่ โรงเลี้ยงสาธิตภายในโครงการฯ โดยมีเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ คอยให้คำแนะนำเทคนิคการเลี้ยงบางประการเป็นการพัฒนาทักษะการเลี้ยงไหมให้แก่เกษตรกรจนไหมเข้าสู่วันที่ 4 จึงแบ่งกันนำไปเลี้ยงที่บ้าน และเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ ได้เข้าไปให้คำแนะนำต่อที่บ้านจนไหมสุกทำรัง หรือเกษตรกรบางรายมีภารกิจภายในครอบครัวไม่สามารถมาร่วมเลี้ยงไหมวันอ่อนได้จะให่ไหมแรกฟักนำกลับไปเลี้ยงที่บ้าน โดยเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ คอยติดตามให้คำแนะนำจนไหมสุกทำรัง ในแต่ละปีจะสนับสนุนพันธุ์ไหมให้เกษตรกรสมาชิกเลี้ยงปีละ 5-6 รุ่น จึงถึงปัจจุบันมีสมาชิกในโครงการฯ แล้ว 50 รายรวมพื้นที่ปลูกหม่อนประมาณ 50 ไร่ ในความเป็นจริงมีเกษตรกรจะขอเข้าร่วมโครงการเป็นจำนวนมาก แต่ทางโครงการฯ ไม่สามารถรับได้ทั้งหมดผลการขยายผลการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมสู่หมู่บ้านเกษตรกรรอบโครงการฯ จากการดำเนินกิจกรรมการขยายผลการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา จนถึงปี 2546 เกษตรกรสมาชิกมีความพึงพอใจในอาชีพเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีรายได้เพิ่มขึ้นจากอดีตที่ทำนาเพียงอย่างเดียว ในสภาพรวมของโครงการฯ นับตั้งแต่ปี 2540-2546 เกษตรกรสมาชิกถ้าจำหน่ายรังไหมทั้งหมดจะมีรายได้ทั้งสิ้นถึง 726,980 บาท จากการได้พบและสัมภาษณ์เกษตรกรสมาชิกบางรายดังเช่นนางโฮมจำปาเต็มบ้านภูสิงห์ได้ยอมรับว่าโครงการนี้ได้สร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวอย่างต่อเนื่องและในบางปีเช่นปี 2541 ได้เกิดวิกฤติฝนแล้งทำนาไม่ได้ผลไม่มีข้าวจะกินก็ได้อาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหมสร้างรายได้นำไปซื้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1 พ.ศ. 2549 กองกำลังสุรนารีกองทัพภาคที่ 2 ร่วมกับจังหวัดศรีสะเกษ บริเวณบ้านตะแบงและบ้านโคกใหญ่อำเภอภูสิงห์ (ในขณะนั้น จำนวนประมาณ 4,000 ไร่ 30 ปี 2532 เนื่องจากติดปัญหาต่าง ๆ มากมายต่อมาในปี 2533 ให้เป็นแหล่งสาธิตบริการพัฒนาอาชีพช่วยเหลือราษฎรและด้านฝึกอบรมราษฎร จังหวัดศรีสะเกษเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2537 รับเสด็จสรุปความว่าให้ส่วนราชการต่าง ๆ ร่วมกันจัดตั้ง "ศูนย์พัฒนาการเกษตรแบบเบ็ดเสร็จ" 2 (ปี ๆ ที่เกี่ยวข้องแล้วการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ หน่วยงานต่าง ๆ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เข้ามาดำเนินการจัดทำแปลงสาธิต จนมีลวดลายบนผืนผ้าต่าง ๆ นับเป็นร้อย ๆ ลวดลาย ๆ ของประเทศโดยมีพื้นที่ปลูกหม่อน 11,163 ไร่มีเกษตรกรปลุกหม่อนเลี้ยงไหม 14,989 ครัวเรือนสามารถผลิตเส้นไหมได้ 39,524 ให้ผลผลิตไหมต่ำรังเล็กหนอนไหมมักตายเป็นประจำ 19 มิถุนายน 2538 8 สิงหาคม 2538 ในพื้นที่ประมาณ 5 ไร่โดยใช้หม่อน 4 พันธุ์คือนครราชสีมา 60 บุรีรัมย์ 60 ศรีสะเกษ 33 และศก. 2820 60 และศก. 2802 ตายหมดในปี 2541 ได้แก้ไขสภาพน้ำซับโดยการขุดคูระบายน้ำรอบแปลงหม่อนและปลูกหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 และพันธุ์ศรีสะเกษ 33 จนเต็มพื้นที่ 8 ไร่และในปี 2539 ขนาด 6x8 เมตร และผู้สนใจทั่วไป ทั่วไปภายในโครงการฯ แล้วในปี 2540 10 รายในหมู่บ้านรอบโครงการฯ ได้แก่ บ้านภูสิงห์บ้านทุ่งหลวงบ้านตะแบงหมู่ 1 หมู่ 9 หมู่ 12 และหมู่ 18 และให้การสนับสนุนหม่อนพันธุ์ดีคือพันธุ์บุรีรัมย์ 60 และศรีสะเกษ 33 ในปีต่อ ๆ 51 เท่านั้น คือพันธุ์นางน้อยศรีสะเกษ 1 x นค. 4 โรงเลี้ยงสาธิตภายในโครงการฯ โดยมีเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ 4 จึงแบ่งกันนำไปเลี้ยงที่บ้านและเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ โดยเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ คอยติดตามให้คำแนะนำจนไหมสุกทำรัง 5-6 รุ่นจึงถึงปัจจุบันมีสมาชิกในโครงการฯ แล้ว 50 รายรวมพื้นที่ปลูกหม่อนประมาณ 50 ไร่ แต่ทางโครงการฯ ตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมาจนถึงปี 2546 ในสภาพรวมของโครงการฯ นับตั้งแต่ปี 2540-2546 726980 นางโฮมจำปาเต็ม และในบางปีเช่นปี 2541 ได้เกิดวิกฤติฝนแล้งทำนาไม่ได้ผลไม่มีข้าวจะกิน


















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: