วันนี้จึงมีเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพมาฝากกัน เป็นเรื่องของการประเมินความเส การแปล - วันนี้จึงมีเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพมาฝากกัน เป็นเรื่องของการประเมินความเส ไทย วิธีการพูด

วันนี้จึงมีเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพมาฝ

วันนี้จึงมีเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพมาฝากกัน เป็นเรื่องของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการปฏิบัติงาน แต่จะเน้นเฉพาะสุขภาพของพนักงานที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการเท่านั้น ซึ่งในช่วงต้นปี 2552 นี้ กระทรวงแรงงานมีแนวโน้มที่จะประกาศกฎหมายออกมาอีก 1 ฉบับ คือกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ... ซึ่งเนื้อหาในกฎหมายฉบับนี้ส่วนหนึ่ง ได้กำหนดให้นายจ้าง ต้องทำการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของลูกจ้าง ซึ่งนับเป็นเรื่องที่ดีที่จะทำให้สถานประกอบการต่างๆ หันมาดูแลและใส่ใจกับสุขภาพของพนักงานในการปฏิบัติงานอย่างเป็นจริงเป็นจังกันมากขึ้น รวมถึงมีความตระหนักเกี่ยวกับอันตรายของโรคจากการท
เราต้องยอมรับว่า ในทุกวันนี้สถานประกอบการหลายแห่งมีระบบจัดการด้านสุขภาพและการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของพนักงานค่อนข้างน้อยและยังไม่ระบบกันมากนัก ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมายดังกล่าว จึงมีเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ ซึ่งเนื้อหาส่วนหนึ่งเป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมมนา โดยขอสรุปเป็นประเด็นที่สำคัญๆ ดังนี้
1. การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ คือ กระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบในการประมาณถึงโอกาสของอันตรายที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพเมื่อมีการสัมผัสจริงในสิ่งแวดล้อม และประมาณถึงระดับความรุนแรงของอันตรายต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ กระบวนการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพนั้นมุ่งหวังที่จะเข้าไปจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ไม่ได้บอกว่าจะทำให้ความเสี่ยงไม่เกิด ในการประเมินความเสี่ยงในภาพรวม ควรต้องระบุอันตรายได้ บ่งบอกลักษณะความเสี่ยงได้ เพื่อจะได้นำผลที่ได้ไปใช้ดำเนินการจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
2. ขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ ในขั้นตอนนี้ ถ้าสถานประกอบการใดคุ้นเคยกับขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงของระบบ ISO 14001 หรือ TIS/OHSAS18001 ก็คงเข้าใจง่ายขึ้น เพราะใช้หลักการเดียวกัน ซึ่งขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ แบ่งเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้
2.1 กำหนดพื้นที่หรือบริเวณที่จะทำการประเมิน โดยแบ่งพื้นที่ที่จะประเมินออกเป็นพื้นที่ย่อย โดยอาจแบ่งให้สอดคล้องกับโครงสร้างองค์กรและสายการบังคับบัญชาก็ได้ โดยพื้นที่ดังกล่าวควรเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยง หรือเป็นพื้นที่ที่ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น เสียงดัง สารเคมี ความร้อน เป็นต้น
2.2 การชี้บ่งอันตราย หรือปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานให้ครอบคลุมสิ่งที่เป็นอันตรายทั้งหมดที่มีอยู่ในพื้นที่ทำงาน เช่น สารเคมีอันตราย อันตรายด้านกายภาพ เช่น แสงสว่าง ความร้อน เป็นต้น
2.3 กำหนดกลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่จะถูกประเมิน ขั้นตอนนี้จะแบ่งผู้ปฏิบัติงานที่ทำงานในลักษณะเดียวกันให้อยู่ในพื้นที่เดียวกัน และมีการสัมผัสอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงเหมือนๆ กันควรจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
2.4 วิเคราะห์งานหรือกิจกรรมของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน เพื่อหาความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานจากการปฏิบัติงานนั้นๆ โดยพิจารณาจากอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงที่ต้องสัมผัส, ความถี่ของการสัมผัส และระยะเวลาในการสัมผัส ในขั้นตอนนี้อาจนำข้อมูลจากการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (Job Safety Analysis) มาใช้พิจารณาร่วมกันด้วยก็ได้
2.5 ประเมินระดับความเสี่ยงของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน เป็นขั้นตอนที่สำคัญขั้นตอนหนึ่งซึ่งแต่ละองค์กรจะต้องจัดทำตารางประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment Matrix)โดยจะต้องประเมินในเรื่องระดับการสัมผัส (Exposure Rating)ในที่นี้อาจแบ่งย่อยๆ ออกเป็นการสัมผัสเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทำงาน หรือการสัมผัสในระยะเวลาสั้นๆ 15 นาที หรือต่ำกว่า และระดับความรุนแรง (Health Effect Rating) ของปัจจัยเสี่ยงแยกย่อยตามงานหรือกิจกรรมต่างๆ อีกทั้งในการประเมินจะต้องพิจารณาทั้งในกรณีที่มีและไม่มีมาตรการควบคุมด้วย ซึ่งจะคล้ายกับตอนที่เราประเมินความเสี่ยงในระบบ ISO 14001 หรือ TIS/OHSAS18001 เราก็มีการประเมินอันตรายในภาวะปกติ ภาวะผิดปกติและภาวะฉุกเฉิน ผลที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงในขั้นตอนนี้ จะทำให้เราทราบถึงลำดับความสำคัญของสิ่งที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพเพื่อจะได้นำไปวางแผนจัดการต่อไป
2.6 การจัดการความเสี่ยง หลังจากที่เราทราบถึงลำดับความสำคัญของสิ่งที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพ แล้วเราก็จะนำมาพิจารณาและเลือกมาตรการควบคุมความเสี่ยงที่เหมาะสมตามระดับความเสี่ยง เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงที่มีความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพของพนักงานได้ถูกควบคุมและมีการดำเนินการแก้ไข

3. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ จริงๆ แล้วประโยชน์มีเยอะมากแต่ขอสรุปที่สำคัญๆ ดังนี้
3.1 สถานประกอบมีระบบในการจัดการเรื่องสุขภาพ และการเฝ้าระวังสุขภาพของพนักงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งปัญหาโรคจากการทำงานก็จะมีการป้องกันและมีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นเช่นกัน
3.2 ค่าใช้จ่ายอันเนื่องจากปัญหาเรื่องสุขภาพของพนักงานลดลง
3.2 พนักงานได้รับการดูแลด้านสุขภาพจากบริษัทดีขึ้น จึงส่งผลให้ขวัญและกำลังใจในการทำงานดีขึ้นตามไปด้ด้วย นอกจากนี้ยังเกิดความเชื่อมั่นในองค์กร
อย่างไรก็ตามรายละเอียดของขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพที่กล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงแนวทางหนึ่งเท่านั้น ยังไม่ถือเป็นข้อสรุปที่เป็นทางการ ทางกระทรวงแรงงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้กำลังดำเนินการทบทวนรายละเอียดของเนื้อหาในกฎหมายนี้อยู่เพื่อให้สามารถนำไปปฏิบัติได้เมื่อมีการบังคับใช้ ซึ่งถ้ามีรายละเอียดความคืบหน้าอย่างไรเกี่ยวกับกฎหมายฉบับนี้ จะแจ้งให้สมาชิกwww.npc-se.co.th ได้ทราบต่อไป ติดตามต่อไปในฉบับหน้านะคะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วันนี้จึงมีเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพมาฝากกันเป็นเรื่องของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการปฏิบัติงานแต่จะเน้นเฉพาะสุขภาพของพนักงานที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการเท่านั้นซึ่งในช่วงต้นปี 2552 นี้กระทรวงแรงงานมีแนวโน้มที่จะประกาศกฎหมายออกมาอีก 1 ฉบับคือกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายพ.ศ. ... ซึ่งเนื้อหาในกฎหมายฉบับนี้ส่วนหนึ่งได้กำหนดให้นายจ้างต้องทำการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของลูกจ้างซึ่งนับเป็นเรื่องที่ดีที่จะทำให้สถานประกอบการต่าง ๆ หันมาดูแลและใส่ใจกับสุขภาพของพนักงานในการปฏิบัติงานอย่างเป็นจริงเป็นจังกันมากขึ้นรวมถึงมีความตระหนักเกี่ยวกับอันตรายของโรคจากการท เราต้องยอมรับว่าในทุกวันนี้สถานประกอบการหลายแห่งมีระบบจัดการด้านสุขภาพและการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของพนักงานค่อนข้างน้อยและยังไม่ระบบกันมากนักดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมายดังกล่าวจึงมีเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพซึ่งเนื้อหาส่วนหนึ่งเป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมมนาโดยขอสรุปเป็นประเด็นที่สำคัญ ๆ ดังนี้1. การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพคือกระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบในการประมาณถึงโอกาสของอันตรายที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพเมื่อมีการสัมผัสจริงในสิ่งแวดล้อมและประมาณถึงระดับความรุนแรงของอันตรายต่าง ๆ ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพกระบวนการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพนั้นมุ่งหวังที่จะเข้าไปจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพไม่ได้บอกว่าจะทำให้ความเสี่ยงไม่เกิดในการประเมินความเสี่ยงในภาพรวมควรต้องระบุอันตรายได้บ่งบอกลักษณะความเสี่ยงได้เพื่อจะได้นำผลที่ได้ไปใช้ดำเนินการจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ2. ขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในขั้นตอนนี้ถ้าสถานประกอบการใดคุ้นเคยกับขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงของระบบ ISO 14001 หรือ TIS/OHSAS18001 ก็คงเข้าใจง่ายขึ้นเพราะใช้หลักการเดียวกันซึ่งขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพแบ่งเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้2.1 กำหนดพื้นที่หรือบริเวณที่จะทำการประเมินโดยแบ่งพื้นที่ที่จะประเมินออกเป็นพื้นที่ย่อยโดยอาจแบ่งให้สอดคล้องกับโครงสร้างองค์กรและสายการบังคับบัญชาก็ได้โดยพื้นที่ดังกล่าวควรเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงหรือเป็นพื้นที่ที่ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เช่นเสียงดังสารเคมีความร้อนเป็นต้น2.2 การชี้บ่งอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานให้ครอบคลุมสิ่งที่เป็นอันตรายทั้งหมดที่มีอยู่ในพื้นที่ทำงานเช่นสารเคมีอันตรายอันตรายด้านกายภาพเช่นแสงสว่างความร้อนเป็นต้น2.3 กำหนดกลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่จะถูกประเมินขั้นตอนนี้จะแบ่งผู้ปฏิบัติงานที่ทำงานในลักษณะเดียวกันให้อยู่ในพื้นที่เดียวกันและมีการสัมผัสอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงเหมือน ๆ กันควรจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน2.4 วิเคราะห์งานหรือกิจกรรมของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเพื่อหาความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานจากการปฏิบัติงานนั้น ๆ โดยพิจารณาจากอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงที่ต้องสัมผัส มาใช้พิจารณาร่วมกันด้วยก็ได้ความถี่ของการสัมผัสและระยะเวลาในการสัมผัสในขั้นตอนนี้อาจนำข้อมูลจากการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (งานความปลอดภัยวิเคราะห์)2.5 ประเมินระดับความเสี่ยงของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญขั้นตอนหนึ่งซึ่งแต่ละองค์กรจะต้องจัดทำตารางประเมินความเสี่ยง (เมตริกซ์การประเมินความเสี่ยง) (รับคะแนน) โดยจะต้องประเมินในเรื่องระดับการสัมผัสในที่นี้อาจแบ่งย่อย ๆ ออกเป็นการสัมผัสเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทำงานหรือการสัมผัสในระยะเวลาสั้น ๆ 15 นาทีหรือต่ำกว่าและระดับความรุนแรง (สุขภาพมีผลคะแนน) ของปัจจัยเสี่ยงแยกย่อยตามงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ อีกทั้งในการประเมินจะต้องพิจารณาทั้งในกรณีที่มีและไม่มีมาตรการควบคุมด้วยซึ่งจะคล้ายกับตอนที่เราประเมินความเสี่ยงในระบบ ISO 14001 หรือ TIS/OHSAS18001 เราก็มีการประเมินอันตรายในภาวะปกติภาวะผิดปกติและภาวะฉุกเฉินผลที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงในขั้นตอนนี้จะทำให้เราทราบถึงลำดับความสำคัญของสิ่งที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพเพื่อจะได้นำไปวางแผนจัดการต่อไป2.6 การจัดการความเสี่ยงหลังจากที่เราทราบถึงลำดับความสำคัญของสิ่งที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพแล้วเราก็จะนำมาพิจารณาและเลือกมาตรการควบคุมความเสี่ยงที่เหมาะสมตามระดับความเสี่ยงเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงที่มีความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพของพนักงานได้ถูกควบคุมและมีการดำเนินการแก้ไข3. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจริง ๆ แล้วประโยชน์มีเยอะมากแต่ขอสรุปที่สำคัญ ๆ ดังนี้3.1 สถานประกอบมีระบบในการจัดการเรื่องสุขภาพและการเฝ้าระวังสุขภาพของพนักงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นอีกทั้งปัญหาโรคจากการทำงานก็จะมีการป้องกันและมีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นเช่นกัน3.2 ค่าใช้จ่ายอันเนื่องจากปัญหาเรื่องสุขภาพของพนักงานลดลง3.2 พนักงานได้รับการดูแลด้านสุขภาพจากบริษัทดีขึ้นจึงส่งผลให้ขวัญและกำลังใจในการทำงานดีขึ้นตามไปด้ด้วยนอกจากนี้ยังเกิดความเชื่อมั่นในองค์กร อย่างไรก็ตามรายละเอียดของขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเพียงแนวทางหนึ่งเท่านั้นยังไม่ถือเป็นข้อสรุปที่เป็นทางการทางกระทรวงแรงงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้กำลังดำเนินการทบทวนรายละเอียดของเนื้อหาในกฎหมายนี้อยู่เพื่อให้สามารถนำไปปฏิบัติได้เมื่อมีการบังคับใช้ซึ่งถ้ามีรายละเอียดความคืบหน้าอย่างไรเกี่ยวกับกฎหมายฉบับนี้จะแจ้งให้สมาชิก www.npc-se.co.th ได้ทราบต่อไปติดตามต่อไปในฉบับหน้านะคะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ซึ่งในช่วงต้นปี 2552 นี้ 1 ฉบับ พ.ศ. ... ได้กำหนดให้นายจ้าง
โดยขอสรุปเป็นประเด็นที่สำคัญ ๆ ดังนี้
1 การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพคือ ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ ในการประเมินความเสี่ยงในภาพรวมควรต้องระบุอันตรายได้บ่งบอกลักษณะความเสี่ยงได้
ในขั้นตอนนี้ ISO 14001 หรือมาตรฐาน TIS / OHSAS18001 ก็คงเข้าใจง่ายขึ้นเพราะใช้หลักการเดียวกัน แบ่งเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้
2.1 เช่นเสียงดังสารเคมีความร้อนเป็นต้น
2.2 การชี้บ่งอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่ เช่นสารเคมีอันตรายอันตรายด้านกายภาพเช่นแสงสว่างความร้อนเป็นต้น
2.3 กันควรจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
2.4 ความถี่ของการสัมผัสและระยะเวลาในการสัมผัส (Job วิเคราะห์ความปลอดภัย) มาใช้พิจารณาร่วมกันด้วยก็ได้
2.5 (การประเมินความเสี่ยง (การจัดอันดับแสง) ในที่นี้อาจแบ่งย่อย ๆ หรือการสัมผัสในระยะเวลาสั้น ๆ 15 นาทีหรือต่ำกว่าและระดับความรุนแรง (สุขภาพผลการจัดอันดับ) ISO 14001 หรือมาตรฐาน TIS / OHSAS 18001 ภาวะผิดปกติและภาวะฉุกเฉิน
การจัดการความเสี่ยง จริงๆ ดังนี้3.1 เป็นเพียงแนวทางหนึ่งเท่านั้นยังไม่ถือเป็นข้อสรุปที่เป็นทางการ จะแจ้งให้สมาชิก www.npc-se.co.th ได้ทราบต่อไปติดตามต่อไปในฉบับหน้านะคะ






การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1 สถานประกอบมีระบบในการจัดการเรื่องสุขภาพและการเฝ้าระวังสุขภาพของพนักงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นอีกทั้งปัญหาโรคจากการทำงานก็จะมีการป้องกันและมีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นเช่นกัน
3วันนี้จึงมีเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพมาฝากกันเป็นเรื่องของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการปฏิบัติงานแต่จะเน้นเฉพาะสุขภาพของพนักงานที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการเท่านั้นซึ่งในช่วงต้นปี 2552 นี้1 ฉบับคือกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายพ .ศ . . . . . . . .ซึ่งเนื้อหาในกฎหมายฉบับนี้ส่วนหนึ่งได้กำหนดให้นายจ้างต้องทำการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของลูกจ้างซึ่งนับเป็นเรื่องที่ดีที่จะทำให้สถานประกอบการต่างๆรวมถึงมีความตระหนักเกี่ยวกับอันตรายของโรคจากการท
เราต้องยอมรับว่าในทุกวันนี้สถานประกอบการหลายแห่งมีระบบจัดการด้านสุขภาพและการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของพนักงานค่อนข้างน้อยและยังไม่ระบบกันมากนักจึงมีเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพซึ่งเนื้อหาส่วนหนึ่งเป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมมนาโดยขอสรุปเป็นประเด็นที่สำคัญๆดังนี้
1 .การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพความกระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบในการประมาณถึงโอกาสของอันตรายที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพเมื่อมีการสัมผัสจริงในสิ่งแวดล้อมและประมาณถึงระดับความรุนแรงของอันตรายต่างๆกระบวนการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพนั้นมุ่งหวังที่จะเข้าไปจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพไม่ได้บอกว่าจะทำให้ความเสี่ยงไม่เกิดในการประเมินความเสี่ยงในภาพรวมควรต้องระบุอันตรายได้เพื่อจะได้นำผลที่ได้ไปใช้ดำเนินการจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
2 .ขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในขั้นตอนนี้ถ้าสถานประกอบการใดคุ้นเคยกับขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงของระบบ ISO 14001 / OHSAS18001 ก็คงเข้าใจง่ายขึ้นเพราะใช้หลักการเดียวกันค็อค มอก.แบ่งเป็นแนะนำและอำนวยดังนี้
62 .1 กำหนดพื้นที่หรือบริเวณที่จะทำการประเมินโดยแบ่งพื้นที่ที่จะประเมินออกเป็นพื้นที่ย่อยโดยอาจแบ่งให้สอดคล้องกับโครงสร้างองค์กรและสายการบังคับบัญชาก็ได้หรือเป็นพื้นที่ที่ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงต่างๆเช่นเสียงดังสารเคมีความร้อนเป็นต้น
2 .2 การชี้บ่งอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานให้ครอบคลุมสิ่งที่เป็นอันตรายทั้งหมดที่มีอยู่ในพื้นที่ทำงานเช่นสารเคมีอันตรายอันตรายด้านกายภาพเช่นแสงสว่างเป็นต้น
4 วิเคราะห์งานหรือกิจกรรมของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานโดยพิจารณาจากอันตรายหรือปัจจัยเสี่ยงที่ต้องสัมผัสเพื่อหาความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานจากการปฏิบัติงานนั้นๆ ,ความถี่ของการสัมผัสและระยะเวลาในการสัมผัสในขั้นตอนนี้อาจนำข้อมูลจากการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ( การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ) มาใช้พิจารณาร่วมกันด้วยก็ได้
25 ประเมินระดับความเสี่ยงของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญขั้นตอนหนึ่งซึ่งแต่ละองค์กรจะต้องจัดทำตารางประเมินความเสี่ยง ( การประเมินความเสี่ยงโดยจะต้องประเมินในเรื่องระดับการสัมผัสเมทริกซ์ ( แสง )ออกเป็นการสัมผัสเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทำงานหรือการสัมผัสในระยะเวลาสั้นๆ 15 นาทีหรือต่ำกว่าและระดับความรุนแรง ( คะแนนผลสุขภาพ ) ของปัจจัยเสี่ยงแยกย่อยตามงานหรือกิจกรรมต่างๆซึ่งจะคล้ายกับตอนที่เราประเมินความเสี่ยงในระบบ ISO 14001 / OHSAS18001 เราก็มีการประเมินอันตรายในภาวะปกติภาวะผิดปกติและภาวะฉุกเฉินผลที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงในขั้นตอนนี้ค็อค มอก.2 .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: