ชื่อเครื่องยา ขิงชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จาก เหง้าแก่ชื่อพืชที่ให้เคร การแปล - ชื่อเครื่องยา ขิงชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จาก เหง้าแก่ชื่อพืชที่ให้เคร ไทย วิธีการพูด

ชื่อเครื่องยา ขิงชื่ออื่นๆของเครื่อ

ชื่อเครื่องยา ขิง
ชื่ออื่นๆของเครื่องยา
ได้จาก เหง้าแก่
ชื่อพืชที่ให้เครื่องยา ขิง
ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) ขิงแกลง ขิงแดง ขิงเผือก สะเอ
ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber officinale Roscoe
ชื่อพ้อง
ชื่อวงศ์ Zingiberaceae
ลักษณะภายนอกของเครื่องยา:
เหง้ามีลักษณะเป็นข้อๆ แบนในแนวนอน แตกแขนง รูปร่างเหมือนฝ่ามือประกอบด้วยแง่งเล็กๆ เปรียบเสมือนนิ้ว ขนาดยาว 3- 16 เซนติเมตร กว้าง 3-4 เซนติเมตร และหนา มากกว่า 2 เซนติเมตร ผิวนอกสีเหลือง หรือน้ำตาลอ่อน มีแนวย่นตามยาว ภายในมีสีเหลืองอ่อนถึงสีน้ำตาล เป็นเสี้ยน มี fiber มาก กลิ่นหอมเฉพาะ ผงสีเหลืองอ่อน รสหวาน เผ็ดจัด ร้อน

สรรพคุณ
เหง้า : รสหวานเผ็ดร้อน ขับลม แก้ท้องอืด จุกเสียด แน่นเฟ้อ คลื่นไส้อาเจียน แก้หอบไอ ขับเสมหะ แก้บิด เจริญอากาศธาตุ สารสำคัญในน้ำมันหอมระเหย จะออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ ใช้เหง้าแก่ทุบหรือบดเป็นผง ชงน้ำดื่ม แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน แก้จุกเสียด แน่นเฟ้อ เหง้าสด ตำคั้นเอาน้ำผสมกับน้ำมะนาว เติมเกลือเล็กน้อย จิบแก้ไอ ขับเสมหะ
ต้น : รสเผ็ดร้อน ขับลมให้ผายเรอ แก้จุกเสียด แก้ท้องร่วง
ใบ : รสเผ็ดร้อน บำรุงกำเดา แก้ฟกช้ำ แก้นิ่ว แก้ขัดปัสสาวะ แก้โรคตา ฆ่าพยาธิ
ดอก : รสเผ็ดร้อน แก้โรคประสาทซึ่งทำให้ใจขุ่นมัว ช่วยย่อยอาหาร แก้ขัดปัสสาวะ
ราก : รสหวานเผ็ดร้อนขม แก้แน่น เจริญอาหาร แก้ลม แก้เสมหะ แก้บิด
ผล : รสหวานเผ็ด บำรุงน้ำนม แก้ไข้ แก้คอแห้ง เจ็บคอ แก้ตาฟาง เป็นยาอายุวัฒนะ
แก่น : ฝนทำยาแก้คัน
ขิงยังมีสารอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกาย คือ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต แคลเซียม วิตามินเอและอีกมากมาย ขิงมีฤทธิ์อุ่น ช่วยขับเหงื่อ ไล่ความเย็น ขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ช่วยให้เจริญอาหาร และทำให้ร่างกายอบอุ่น ในทางยานิยมใช้ขิงแก่ เพราะขิงยิ่งแก่จะยิ่งเผ็ดร้อนและมีใยอาหารมาก นำเหง้าสดย่างไฟให้สุก ตำผสมกับน้ำปูนใสคั้นเอาแต่น้ำดื่ม หรือนำเหง้าสดหมกไฟรับประทานเมื่อมีอาการเบื่ออาหาร

องค์ประกอบทางเคมี:
ในเหง้าขิงมี น้ำมันหอมระเหยอยู่ประมาณ 1 - 3 % ขึ้นอยู่กับวิธีปลูกและช่วงการเก็บรักษา ในน้ำมันประกอบด้วยสารเคมี ที่สำคัญคือ ซิงจิเบอรีน (Zingiberene) , ซิงจิเบอรอล (Zingiberol) , ไบซาโบลี (bisabolene) และแคมฟีน (camphene) มีน้ำมัน (oleo - resin) ในปริมาณสูง เป็นส่วนที่ทำให้ขิงมีกลิ่นฉุน และมีรสเผ็ด ส่วนประกอบสำคัญ ในน้ำมันซัน ได้แก่ จินเจอรอล (gingerol) , โวกาออล (shogaol) , ซิงเจอโรน (zingerine) มีคุณสมบัติเป็นยากัดบูด กันหืน ใช้ใส่ในน้ำมันหรือไขมัน เพื่อป้องกันการบูดหืน สารที่ทำให้ขิงมีคุณสมบัติเป็นยากันบูด กันหืนได้คือ สารจำพวกฟีนนอลิค
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเครื่องยาขิงชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากเหง้าแก่ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาขิงชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)ขิงแกลงขิงแดงขิงเผือกสะเอชื่อวิทยาศาสตร์ไพล officinale Roscoeชื่อพ้อง วงศ์ขิงชื่อวงศ์ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: เหง้ามีลักษณะเป็นข้อ ๆ แบนในแนวนอนแตกแขนงรูปร่างเหมือนฝ่ามือประกอบด้วยแง่งเล็ก ๆ เปรียบเสมือนนิ้วขนาดยาว 3 - 16 เซนติเมตรกว้าง 3-4 เซนติเมตรและหนามากกว่า 2 เซนติเมตรผิวนอกสีเหลืองหรือน้ำตาลอ่อนมีแนวย่นตามยาวภายในมีสีเหลืองอ่อนถึงสีน้ำตาลเป็นเสี้ยนมีไฟเบอร์มากกลิ่นหอมเฉพาะผงสีเหลืองอ่อนรสหวานเผ็ดจัดร้อนสรรพคุณเหง้า: รสหวานเผ็ดร้อนขับลมแก้ท้องอืดจุกเสียดแน่นเฟ้อคลื่นไส้อาเจียนแก้หอบไอขับเสมหะแก้บิดเจริญอากาศธาตุสารสำคัญในน้ำมันหอมระเหยจะออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ใช้เหง้าแก่ทุบหรือบดเป็นผงชงน้ำดื่มแก้อาการคลื่นไส้อาเจียนแก้จุกเสียดแน่นเฟ้อเหง้าสดตำคั้นเอาน้ำผสมกับน้ำมะนาวเติมเกลือเล็กน้อยจิบแก้ไอขับเสมหะต้น: รสเผ็ดร้อนขับลมให้ผายเรอแก้จุกเสียดแก้ท้องร่วงใบ: รสเผ็ดร้อนบำรุงกำเดาแก้ฟกช้ำแก้นิ่วแก้ขัดปัสสาวะแก้โรคตาฆ่าพยาธิดอก: รสเผ็ดร้อนแก้โรคประสาทซึ่งทำให้ใจขุ่นมัวช่วยย่อยอาหารแก้ขัดปัสสาวะราก: รสหวานเผ็ดร้อนขมแก้แน่นเจริญอาหารแก้ลมแก้เสมหะแก้บิดผล: รสหวานเผ็ดบำรุงน้ำนมแก้ไข้แก้คอแห้งเจ็บคอแก้ตาฟางเป็นยาอายุวัฒนะแก่น: ฝนทำยาแก้คันขิงยังมีสารอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกายคือโปรตีนไขมันคาร์โบไฮเดรตแคลเซียมวิตามินเอและอีกมากมายขิงมีฤทธิ์อุ่นช่วยขับเหงื่อไล่ความเย็นขับลมแก้ท้องอืดท้องเฟ้อช่วยให้เจริญอาหารและทำให้ร่างกายอบอุ่นในทางยานิยมใช้ขิงแก่เพราะขิงยิ่งแก่จะยิ่งเผ็ดร้อนและมีใยอาหารมากนำเหง้าสดย่างไฟให้สุกตำผสมกับน้ำปูนใสคั้นเอาแต่น้ำดื่มหรือนำเหง้าสดหมกไฟรับประทานเมื่อมีอาการเบื่ออาหาร องค์ประกอบทางเคมี:ในเหง้าขิงมีน้ำมันหอมระเหยอยู่ประมาณ 1-3% ขึ้นอยู่กับวิธีปลูกและช่วงการเก็บรักษาในน้ำมันประกอบด้วยสารเคมีที่สำคัญคือซิงจิเบอรีน (Zingiberene), ซิงจิเบอรอล (Zingiberol), ไบซาโบลี (bisabolene) และแคมฟีน (camphene) มีน้ำมัน (ภัณฑ์ oleo - resin) ในปริมาณสูงเป็นส่วนที่ทำให้ขิงมีกลิ่นฉุนและมีรสเผ็ดส่วนประกอบสำคัญในน้ำมันซันได้แก่จินเจอรอล (gingerol), โวกาออล (shogaol), ซิงเจอโรน (zingerine) มีคุณสมบัติเป็นยากัดบูดกันหืนใช้ใส่ในน้ำมันหรือไขมันเพื่อป้องกันการบูดหืนสารที่ทำให้ขิงมีคุณสมบัติเป็นยากันบูดกันหืนได้คือสารจำพวกฟีนนอลิค
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเครื่องยา ขิง
ชื่ออื่นๆของเครื่องยา
ได้จาก เหง้าแก่
ชื่อพืชที่ให้เครื่องยา ขิง
ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) ขิงแกลง ขิงแดง ขิงเผือก สะเอ
ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber officinale Roscoe
ชื่อพ้อง
ชื่อวงศ์ Zingiberaceae
ลักษณะภายนอกของเครื่องยา:
เหง้ามีลักษณะเป็นข้อๆ แบนในแนวนอน แตกแขนง รูปร่างเหมือนฝ่ามือประกอบด้วยแง่งเล็กๆ เปรียบเสมือนนิ้ว ขนาดยาว 3- 16 เซนติเมตร กว้าง 3-4 เซนติเมตร และหนา มากกว่า 2 เซนติเมตร ผิวนอกสีเหลือง หรือน้ำตาลอ่อน มีแนวย่นตามยาว ภายในมีสีเหลืองอ่อนถึงสีน้ำตาล เป็นเสี้ยน มี fiber มาก กลิ่นหอมเฉพาะ ผงสีเหลืองอ่อน รสหวาน เผ็ดจัด ร้อน

สรรพคุณ
เหง้า : รสหวานเผ็ดร้อน ขับลม แก้ท้องอืด จุกเสียด แน่นเฟ้อ คลื่นไส้อาเจียน แก้หอบไอ ขับเสมหะ แก้บิด เจริญอากาศธาตุ สารสำคัญในน้ำมันหอมระเหย จะออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ ใช้เหง้าแก่ทุบหรือบดเป็นผง ชงน้ำดื่ม แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน แก้จุกเสียด แน่นเฟ้อ เหง้าสด ตำคั้นเอาน้ำผสมกับน้ำมะนาว เติมเกลือเล็กน้อย จิบแก้ไอ ขับเสมหะ
ต้น : รสเผ็ดร้อน ขับลมให้ผายเรอ แก้จุกเสียด แก้ท้องร่วง
ใบ : รสเผ็ดร้อน บำรุงกำเดา แก้ฟกช้ำ แก้นิ่ว แก้ขัดปัสสาวะ แก้โรคตา ฆ่าพยาธิ
ดอก : รสเผ็ดร้อน แก้โรคประสาทซึ่งทำให้ใจขุ่นมัว ช่วยย่อยอาหาร แก้ขัดปัสสาวะ
ราก : รสหวานเผ็ดร้อนขม แก้แน่น เจริญอาหาร แก้ลม แก้เสมหะ แก้บิด
ผล : รสหวานเผ็ด บำรุงน้ำนม แก้ไข้ แก้คอแห้ง เจ็บคอ แก้ตาฟาง เป็นยาอายุวัฒนะ
แก่น : ฝนทำยาแก้คัน
ขิงยังมีสารอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกาย คือ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต แคลเซียม วิตามินเอและอีกมากมาย ขิงมีฤทธิ์อุ่น ช่วยขับเหงื่อ ไล่ความเย็น ขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ช่วยให้เจริญอาหาร และทำให้ร่างกายอบอุ่น ในทางยานิยมใช้ขิงแก่ เพราะขิงยิ่งแก่จะยิ่งเผ็ดร้อนและมีใยอาหารมาก นำเหง้าสดย่างไฟให้สุก ตำผสมกับน้ำปูนใสคั้นเอาแต่น้ำดื่ม หรือนำเหง้าสดหมกไฟรับประทานเมื่อมีอาการเบื่ออาหาร

องค์ประกอบทางเคมี:
ในเหง้าขิงมี น้ำมันหอมระเหยอยู่ประมาณ 1 - 3 % ขึ้นอยู่กับวิธีปลูกและช่วงการเก็บรักษา ในน้ำมันประกอบด้วยสารเคมี ที่สำคัญคือ ซิงจิเบอรีน (Zingiberene) , ซิงจิเบอรอล (Zingiberol) , ไบซาโบลี (bisabolene) และแคมฟีน (camphene) มีน้ำมัน (oleo - resin) ในปริมาณสูง เป็นส่วนที่ทำให้ขิงมีกลิ่นฉุน และมีรสเผ็ด ส่วนประกอบสำคัญ ในน้ำมันซัน ได้แก่ จินเจอรอล (gingerol) , โวกาออล (shogaol) , ซิงเจอโรน (zingerine) มีคุณสมบัติเป็นยากัดบูด กันหืน ใช้ใส่ในน้ำมันหรือไขมัน เพื่อป้องกันการบูดหืน สารที่ทำให้ขิงมีคุณสมบัติเป็นยากันบูด กันหืนได้คือ สารจำพวกฟีนนอลิค
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเครื่องยาขิง

ได้จากชื่ออื่นๆของเครื่องยาเหง้าแก่

ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาขิงชื่ออื่น ( ของพืชที่ให้เครื่องยา ) ขิงแกลงขิงแดงขิงเผือกสะเอ
ชื่อวิทยาศาสตร์มาคธี


ชื่อพ้องชื่อวงศ์พืชวงศ์ขิงลักษณะภายนอกของเครื่องยา :
เหง้ามีลักษณะเป็นข้อๆแบนในแนวนอนแตกแขนงรูปร่างเหมือนฝ่ามือประกอบด้วยแง่งเล็กๆเปรียบเสมือนนิ้วขนาดยาว 3 - 16 เซนติเมตรกว้าง 3-4 เซนติเมตรและหนามากกว่า 2 เซนติเมตรผิวนอกสีเหลืองหรือน้ำตาลอ่อนภายในมีสีเหลืองอ่อนถึงสีน้ำตาลเป็นเสี้ยนคอนโดไฟเบอร์มากกลิ่นหอมเฉพาะผงสีเหลืองอ่อนรสหวานเผ็ดจัดร้อน


สรรพคุณเหง้า :รสหวานเผ็ดร้อนขับลมแก้ท้องอืดจุกเสียดแน่นเฟ้อคลื่นไส้อาเจียนแก้หอบไอขับเสมหะแก้บิดเจริญอากาศธาตุสารสำคัญในน้ำมันหอมระเหยจะออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ชงน้ำดื่มแก้อาการคลื่นไส้อาเจียนแก้จุกเสียดแน่นเฟ้อเหง้าสดตำคั้นเอาน้ำผสมกับน้ำมะนาวเติมเกลือเล็กน้อยจิบแก้ไอขับเสมหะ
ต้น : รสเผ็ดร้อนขับลมให้ผายเรอแก้จุกเสียดแก้ท้องร่วง
ใบ : รสเผ็ดร้อนบำรุงกำเดาแก้ฟกช้ำแก้นิ่วแก้ขัดปัสสาวะแก้โรคตาฆ่าพยาธิ
ดอก : รสเผ็ดร้อนแก้โรคประสาทซึ่งทำให้ใจขุ่นมัวช่วยย่อยอาหารแก้ขัดปัสสาวะ
ราก : รสหวานเผ็ดร้อนขมแก้แน่นเจริญอาหารแก้ลมแก้เสมหะแก้บิด
way back : รสหวานเผ็ดบำรุงน้ำนมแก้ไข้แก้คอแห้งเจ็บคอแก้ตาฟางเป็นยาอายุวัฒนะแก่นฝนทำยาแก้คัน

:ขิงยังมีสารอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกายความโปรตีนไขมันคาร์โบไฮเดรตแคลเซียมวิตามินเอและอีกมากมายขิงมีฤทธิ์อุ่นช่วยขับเหงื่อไล่ความเย็นขับลมแก้ท้องอืดท้องเฟ้อช่วยให้เจริญอาหารและทำให้ร่างกายอบอุ่นเพราะขิงยิ่งแก่จะยิ่งเผ็ดร้อนและมีใยอาหารมากนำเหง้าสดย่างไฟให้สุกตำผสมกับน้ำปูนใสคั้นเอาแต่น้ำดื่มหรือนำเหง้าสดหมกไฟรับประทานเมื่อมีอาการเบื่ออาหาร

องค์ประกอบทางเคมี :
ในเหง้าขิงมีน้ำมันหอมระเหยอยู่ประมาณ 1 - 3 % ขึ้นอยู่กับวิธีปลูกและช่วงการเก็บรักษาในน้ำมันประกอบด้วยสารเคมีที่สำคัญคือซิงจิเบอรีน ( ซิงจิเบอรีน ) , ซิงจิเบอรอล ( ซินจิเบอรอล )ไบซาโบลี ( ไบซาโบลี ) และแคมฟีน ( camphene ) มีน้ำมัน ( โอลีโอ - เรซิน ) ในปริมาณสูงเป็นส่วนที่ทำให้ขิงมีกลิ่นฉุนและมีรสเผ็ดส่วนประกอบสำคัญในน้ำมันซันได้แก่จินเจอรอล ( จินเจอรอล ) , โวกาออล ( โชกา ล )ซิงเจอโรน ( zingerine ) มีคุณสมบัติเป็นยากัดบูดกันหืนใช้ใส่ในน้ำมันหรือไขมันเพื่อป้องกันการบูดหืนสารที่ทำให้ขิงมีคุณสมบัติเป็นยากันบูดกันหืนได้คือสารจำพวกฟีนนอลิค
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: