ปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ ความสับสนทางประวัติศาสตร์ และเส้นแบ่งเขตแดนที่ละเ การแปล - ปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ ความสับสนทางประวัติศาสตร์ และเส้นแบ่งเขตแดนที่ละเ ไทย วิธีการพูด

ปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ ความสับสนทางปร

ปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ ความสับสนทางประวัติศาสตร์ และเส้นแบ่งเขตแดนที่ละเลยเชื้อชาติ และอัตลักษณ์ ยังทำให้เกิดปัญหาเรื่องความมั่นคง ทั้งในระดับรัฐ และระดับระหว่างประเทศ เช่น ปัญหาบริเวณพรมแดนไทย-มาเลเซีย หรือบริเวณพรมแดนมาเลเซีย-ฟิลิปปินส์



ศ.ดร.ธเนศนำเสนอประเด็นว่า สิ่งหนึ่งที่ชาติสมาชิกอาเซียนมีร่วมกันเกือบทุกประเทศ ยกเว้นไทย คืออิทธิพลจากชาติตะวันตก ผ่านการเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคม ซึ่งไม่ได้มาด้วยความสมัครใจของชาติสมาชิก



การบังคับ-กดขี่จากชาติตะวันตก กลับทำให้เกิดระบบระเบียบ ภาษา และแนวคิด ตามแบบตะวันตกแท้ๆ ที่ทำให้ชาติในอาเซียนหลายชาติมีความเชื่อมโยงกับประเทศแม่ จากทางยุโรป มากกว่ารากเหง้าแต่เดิม



เช่น ในฟิลิปปินส์ ที่มองว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสเปน และความเป็นยุโรป จนถึงก่อนการเกิดการตระหนักรู้ถึงความเป็นเอเชียเมื่อปีทศวรรษที่ 1880-1900 ฟิลิปปินส์จึงเริ่มมองสถานะตัวเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของโลกมลายู และเริ่มหันหน้ายอมรับอัตลักษณ์ความเป็นอาเซียนมากขึ้น

ศ.ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ





การปลุกระดบกระแสชาตินิยมไปจนถึงการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างก้าวกระโดด ตามตัวแบบอย่างญี่ปุ่นในหลายประเทศ ยังทำให้เกิดชนชั้นใหม่ในอาเซียนอย่าง "ชนชั้นกลาง" ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ปรับตัวและเติบโตขึ้นพร้อมกับสังคมเมือง ทำให้ไม่ยึดติดกับอัตลักษณ์และวัฒนธรรมดังเดิม และพร้อมที่จะมีบทบาทในการประสานความร่วมมือ เพื่อสร้างสิ่งที่ดีกว่าขึ้นใหม่ในอนาคต



จริงอยู่ ที่การก่อตั้งอาเซียนในยุคเริ่มแรก เป็นเหตุผลทางการเมือง เนื่องจากต้องการต้านภัยคอมมิวนิสต์ โดยชาติสมาชิกทั้ง 5 ชาติ ต่างได้รับอิทธิพลจากโลกเสรีฝ่ายตะวันตก กระทั่งเมื่อผ่านไประยะหนึ่ง เห็นว่าการแบ่งแยกกีดกันเพื่อนบ้านไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันในภูมิภาคเท่าความร่วมมือ จึงเกิดความพยายามประสานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ร่างข้อตกลงระหว่างกันและตั้งเป้าที่จะเป็น "ประชาคมอาเซียน" ในปี 2558 นี้



จะเห็นได้ว่า การตัดสินใจของอาเซียนแต่ละครั้งนั้น เป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของ "รัฐ" ในองค์รวมเป็นสำคัญ ทำให้ความพยายามที่จะสร้างอัตลักษณ์ร่วมกันของชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นความพยายามด้านโครงสร้าง ที่ดำเนินการโดยส่วนกลางหรือรัฐบาลของประเทศสมาชิกมาตลอด



นอกจากนี้ "วิถีแห่งอาเซียน" เอง ก็ยังเป็นตัวขัดขวางพัฒนาการ เพราะทำให้การตัดสินใจเชื่องช้า ต้องรอทุกชาติลงมติเป็นเอกฉันท์ ขณะเดียวกันก็ห้ามแทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน ทำให้ ข้อตกลงทั้งหลายที่ทำไว้ไม่สามารถออกมาเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน



เช่น การค้ามนุษย์ การปิดกั้นเสรี ภาพในการสื่อสาร และการตั้งคำถามต่อรัฐบาล ซึ่งถูกปิดกั้นไม่ให้มีการแทรกแซงแก้ปัญหาระหว่างกัน ตามวิถีแห่งอาเซียน



ศ.ดร.ธเนศระบุอีกว่า "อาเซียนจะเป็นประชาคมไม่ได้ หากยังมีการใช้อำนาจเกินหน้าที่โดยเจ้าหน้าที่รัฐ"



พร้อมเสนอว่า หากมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมร่วมกัน การเข้าพื้นที่ไปศึกษา ส่งเสริมบทบาทของสถาบันอาเซียน ในการแทรกแซงกิจการภายในแบบเชิงบวก ก็อาจจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นได้ นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้มีการชำระประวัติศาสตร์ ร่วมกันในหมู่ชาติสมาชิก เพื่อทำความเข้าใจรากเหง้าที่มีร่วมกัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ความสับสนทางประวัติศาสตร์และเส้นแบ่งเขตแดนที่ละเลยเชื้อชาติและอัตลักษณ์ยังทำให้เกิดปัญหาเรื่องความมั่นคงทั้งในระดับรัฐและระดับระหว่างประเทศเช่นปัญหาบริเวณพรมแดนไทยมาเลเซียหรือบริเวณพรมแดนมาเลเซีย-ฟิลิปปินส์ศ.ดร.ธเนศนำเสนอประเด็นว่าสิ่งหนึ่งที่ชาติสมาชิกอาเซียนมีร่วมกันเกือบทุกประเทศยกเว้นไทยคืออิทธิพลจากชาติตะวันตกผ่านการเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมซึ่งไม่ได้มาด้วยความสมัครใจของชาติสมาชิกการบังคับกดขี่จากชาติตะวันตกกลับทำให้เกิดระบบระเบียบภาษาและแนวคิดตามแบบตะวันตกแท้ ๆ ที่ทำให้ชาติในอาเซียนหลายชาติมีความเชื่อมโยงกับประเทศแม่จากทางยุโรปมากกว่ารากเหง้าแต่เดิมเช่นในฟิลิปปินส์ที่มองว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสเปนและความเป็นยุโรปและเริ่มหันหน้ายอมรับอัตลักษณ์ความเป็นอาเซียนมากขึ้นจนถึงก่อนการเกิดการตระหนักรู้ถึงความเป็นเอเชียเมื่อปีทศวรรษที่ 1880-1900 ฟิลิปปินส์จึงเริ่มมองสถานะตัวเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของโลกมลายูศ.ดร.ธเนศอาภรณ์สุวรรณการปลุกระดบกระแสชาตินิยมไปจนถึงการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างก้าวกระโดดตามตัวแบบอย่างญี่ปุ่นในหลายประเทศยังทำให้เกิดชนชั้นใหม่ในอาเซียนอย่าง "ชนชั้นกลาง" ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ปรับตัวและเติบโตขึ้นพร้อมกับสังคมเมืองทำให้ไม่ยึดติดกับอัตลักษณ์และวัฒนธรรมดังเดิมและพร้อมที่จะมีบทบาทในการประสานความร่วมมือเพื่อสร้างสิ่งที่ดีกว่าขึ้นใหม่ในอนาคตจริงอยู่ที่การก่อตั้งอาเซียนในยุคเริ่มแรกเป็นเหตุผลทางการเมืองเนื่องจากต้องการต้านภัยคอมมิวนิสต์โดยชาติสมาชิกทั้ง 5 ชาติต่างได้รับอิทธิพลจากโลกเสรีฝ่ายตะวันตกกระทั่งเมื่อผ่านไประยะหนึ่งเห็นว่าการแบ่งแยกกีดกันเพื่อนบ้านไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันในภูมิภาคเท่าความร่วมมือจึงเกิดความพยายามประสานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจร่างข้อตกลงระหว่างกันและตั้งเป้าที่จะเป็น "ประชาคมอาเซียน" ในปี 2558 นี้จะเห็นได้ว่าการตัดสินใจของอาเซียนแต่ละครั้งนั้นเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของ "รัฐ" ในองค์รวมเป็นสำคัญทำให้ความพยายามที่จะสร้างอัตลักษณ์ร่วมกันของชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นความพยายามด้านโครงสร้างที่ดำเนินการโดยส่วนกลางหรือรัฐบาลของประเทศสมาชิกมาตลอดนอกจากนี้ "วิถีแห่งอาเซียน" เองก็ยังเป็นตัวขัดขวางพัฒนาการเพราะทำให้การตัดสินใจเชื่องช้าต้องรอทุกชาติลงมติเป็นเอกฉันท์ขณะเดียวกันก็ห้ามแทรกแซงกิจการภายในของกันและกันทำให้ข้อตกลงทั้งหลายที่ทำไว้ไม่สามารถออกมาเป็นรูปธรรมโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชนเช่นการค้ามนุษย์การปิดกั้นเสรีภาพในการสื่อสารและการตั้งคำถามต่อรัฐบาลซึ่งถูกปิดกั้นไม่ให้มีการแทรกแซงแก้ปัญหาระหว่างกันตามวิถีแห่งอาเซียนศ.ดร.ธเนศระบุอีกว่า "อาเซียนจะเป็นประชาคมไม่ได้หากยังมีการใช้อำนาจเกินหน้าที่โดยเจ้าหน้าที่รัฐ"พร้อมเสนอว่าหากมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมร่วมกันการเข้าพื้นที่ไปศึกษาส่งเสริมบทบาทของสถาบันอาเซียนในการแทรกแซงกิจการภายในแบบเชิงบวกก็อาจจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นได้นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้มีการชำระประวัติศาสตร์ร่วมกันในหมู่ชาติสมาชิกเพื่อทำความเข้าใจรากเหง้าที่มีร่วมกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ปัญหาเรื่องอัตลักษณ์ความสับสนทางประวัติศาสตร์และเส้นแบ่งเขตแดนที่ละเลยเชื้อชาติและอัตลักษณ์ยังทำให้เกิดปัญหาเรื่องความมั่นคงทั้งในระดับรัฐและระดับระหว่างประเทศเช่นปัญหาบริเวณพรมแดนไทย - มาเลเซีย


ศ . ดร . ธเนศนำเสนอประเด็นว่าสิ่งหนึ่งที่ชาติสมาชิกอาเซียนมีร่วมกันเกือบทุกประเทศยกเว้นไทยคืออิทธิพลจากชาติตะวันตกผ่านการเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมซึ่งไม่ได้มาด้วยความสมัครใจของชาติสมาชิก



การบังคับ - กดขี่จากชาติตะวันตกกลับทำให้เกิดระบบระเบียบภาษาและแนวคิดตามแบบตะวันตกแท้ๆที่ทำให้ชาติในอาเซียนหลายชาติมีความเชื่อมโยงกับประเทศแม่จากทางยุโรปมากกว่ารากเหง้าแต่เดิม



เช่นในฟิลิปปินส์ที่มองว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสเปนและความเป็นยุโรปจนถึงก่อนการเกิดการตระหนักรู้ถึงความเป็นเอเชียเมื่อปีทศวรรษที่ 1880-1900 ฟิลิปปินส์จึงเริ่มมองสถานะตัวเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของโลกมลายู
ศ . ดรธเนศอาภรณ์สุวรรณ





.การปลุกระดบกระแสชาตินิยมไปจนถึงการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างก้าวกระโดดตามตัวแบบอย่างญี่ปุ่นในหลายประเทศยังทำให้เกิดชนชั้นใหม่ในอาเซียนอย่าง " ชนชั้นกลาง "ทำให้ไม่ยึดติดกับอัตลักษณ์และวัฒนธรรมดังเดิมและพร้อมที่จะมีบทบาทในการประสานความร่วมมือเพื่อสร้างสิ่งที่ดีกว่าขึ้นใหม่ในอนาคต



จริงอยู่ที่การก่อตั้งอาเซียนในยุคเริ่มแรกเป็นเหตุผลทางการเมืองเนื่องจากต้องการต้านภัยคอมมิวนิสต์โดยชาติสมาชิกทั้ง 5 ชาติต่างได้รับอิทธิพลจากโลกเสรีฝ่ายตะวันตกกระทั่งเมื่อผ่านไประยะหนึ่งจึงเกิดความพยายามประสานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจร่างข้อตกลงระหว่างกันและตั้งเป้าที่จะเป็น " ASEAN Committees in Third Countries " สามารถนี้
2558


จะเห็นได้ว่าการตัดสินใจของอาเซียนแต่ละครั้งนั้นเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของ " รัฐ " ในองค์รวมเป็นสำคัญทำให้ความพยายามที่จะสร้างอัตลักษณ์ร่วมกันของชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นความพยายามด้านโครงสร้าง


การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: