กิด        วันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 เมืองลินคอร์นเชียร์ (Lincohnshi การแปล - กิด        วันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 เมืองลินคอร์นเชียร์ (Lincohnshi ไทย วิธีการพูด

กิด        วันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1

กิด        วันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 เมืองลินคอร์นเชียร์ (Lincohnshire) ประเทศอังกฤษ (England)
เสียชีวิต วันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 กรุงลอนดอน (London) ประเทศอังกฤษ (England)
ผลงาน   - ตั้งกฎแรงดึงดูดของโลก
             - ตั้งกฎเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
             - ตั้งทฤษฎีแคลคูลัส (Calculus)
             - ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง
             - ค้นพบสมบัติของแสงที่ว่า แสงสีขาวประกอบขึ้นจากแสงสีรุ้ง

         ในบรรดานักวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วและจะกล่าวต่อไป นิวตันเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นอัจฉริยะ
คนหนึ่งเลยทีเดียว แม้แต่นักวิทยาศาสตร์ผู้มีความสามารถอย่างไอน์สไตน์ก็ได้รับการยกย่องให้ฉลาดเท่ากับนิวตัน นั่นคือการแสดง
ให้เห็นว่าเขาคืออัจฉริยะคนหนึ่งของโลก

         การที่เขาได้รับการยกย่องเช่นนี้ เนื่องจากเขาได้ค้นพบและตั้งกฎอันยิ่งใหญ่ไว้หลายกฎ การค้นพบที่ได้รับการยกย่องและทำให้
คนรู้จักเขามากที่สุดก็คือกฎแรงดึงดูดของโลก ซึ่งเขาค้นพบในขณะที่มีอายุเพียง 20 ปีกว่า เท่านั้น

         นิวตันเกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 ที่หมู่บ้านวูลสธอร์พ (Woolsthorpe) เมืองลินคอร์นเชียร์ ประเทศอังกฤษ
บิดาของเขาเป็นเจ้าของที่ดินเล็ก ๆ แปลงหนึ่ง ซึ่งเสียชีวิตก่อนเขาเกิดประมาณ 3 เดือน ทำให้เขาเป็นกำพร้าบิดาตั้งแต่ก่อนลืมตา
มองโลกเสียอีก โชคร้ายของนิวตันไม่หมดเพียงเท่านั้นเนื่องจากเขาคลอดก่อนกำหนด ทำให้สุขภาพอ่อนแอ อีกทั้งตัวก็เล็กมาก และ
อาจจะเสียชีวิตได้ แต่ถึงอย่างนั้นนิวตันก็รอดชีวิตมาสร้างคุณประโยชน์อย่างมหาศาลให้กับวงการวิทยาศาสตร์และมนุษยชาติ
เมื่อนิวตันรอดชีวิตมาได้ก็เท่ากับเป็นการเพิ่มภาระให้กับฮานนา เอสคอช นิวตัน (Hannah Ayscough Newton) มารดาของ
เขาในการเลี้ยงดู ต่อมาเมื่อเขาอายุได้ 2 ปี มารดาของเขาได้แต่งงานใหม่กับบานาบาส สมิธ (Barnabas Smith) ซึ่งมีอาชีพ
เป็นนักบวช และมีรายได้มากพอที่จะเลี้ยงมารดาและนิวตันได้อย่างสบาย อีกทั้งบานาบาสยินดีที่จะจ่ายค่าเช่าที่ดินให้กับนิวตันอีก
ถึงปีละ 50 ปอนด์ ซึ่งก่อนหน้านี้พ่อของนิวตันเก็บค่าเช่าได้เพียงปีละ 30 ปอนด์ เท่านั้น แต่ถึงอย่างนั้นญาติทางฝ่ายบิดาก็ยังเกลียด บานาบาส ทำให้มารดาของนิวตันต้องย้ายไปอยู่ที่อื่น ส่วนนิวตันก็ต้องไปอยู่ในความอุปการะของญาติทางฝ่ายบิดาของเขา

         การศึกษาของนิวตันเริ่มต้นที่บ้านเกิดของเขานั่นเอง เมื่อเขาอายุได้ 12 ปี จึงได้เดินทางไปยังเมืองแกรนแธม (Grantham)
เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนคิงส์ (King's School) ในระหว่างนี้นิวตันได้ไปอาศัยอยู่กับครอบครัวคลาค ซึ่งมาดามคลาคเป็นเพื่อนสนิท
ของแม่ของนิวตัน ด้วยความที่นิวตันเป็นคนเก็บตัวไม่ชอบสุงสิงกับเพื่อนในวัยเดียวกัน เวลาว่างส่วนใหญ่เขาจึงใช้ไปกับการอ่าน
หนังสือ ค้นคว้า และประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ และเป็นเรื่องโชคดีของนิวตันที่มิสเตอร์คลาคเป็นนักสะสมขวดสารเคมี และหนังสือ
เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ไว้เป็นจำนวนมาก ทำให้นิวตันมีโอกาสได้ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่เขาชอบนิวตันได้เรียนอยู่ที่โรงเรียนคิงส์
4 ปี เท่านั้น ก็ต้องกลับบ้านเกิดของเขา เพราะบานาบาสพ่อเลี้ยงของเขาเสียชีวิต พร้อมกับทิ้งทรัพย์สมบัติไว้ให้กับแม่เขาจำนวนหนึ่ง
ดังนั้นแม่ของนิวตันจึงต้องการกลับไปทำฟาร์มอีกครั้งหนึ่ง และขอร้องให้นิวตันไปช่วยงานในฟาร์มด้วย แต่นิวตันไม่ชอบทำงาน
ในฟาร์ม เขาไม่เคยสนใจหรือเอาใจใส่สัตว์เลี้ยงของเขาแม้แต่น้อย เขายังใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับการอ่านหนังสือ และประดิษฐ์สิ่ง
ต่าง ๆ ซึ่งระหว่างนี้นิวตันได้ประดิษฐ์นาฬิกากันแดด (Sun Dial) นอกจากนี้เขายังชอบนั่งมองดูดาวบนท้องฟ้าเพื่อสังเกตการ
เคลื่อนที่ของดาวเหล่านั้น

         นิวตันทำงานในฟาร์มได้เพียง 1 ปี เท่านั้น มิสเตอร์สโตกส์ (Mr. Stokes) ซึ่งเป็นเพื่อนสนิทของแม่ และเป็นครูของเขา
ได้มาบอกกับแม่ของเขาว่านิวตันเป็นคนฉลาดและมีความสามารถ ไม่ควรจะให้ทำงานในฟาร์มนี้ต่อไป ควรส่งนิวตันไปเรียนต่อ
ที่โรงเรียนคิงส์ เพื่อเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัยอีกทั้งน้าของนิวตัน วิลเลี่ยม แอสคอช (William Ayscough) ซึ่งเป็น
นักบวช ก็เห็นดีในข้อนี้ เมื่อทั้งสองช่วยกันพูด แม่ของเขาจึงได้ส่งนิวตันไปเรียนต่อที่โรงเรียนคิงส์ หลังจากสำเร็จการศึกษาจาก
โรงเรียนคิงส์ นิวตันได้เข้าศึกษาต่อที่วิทยาลัยตรินิตี้ (Trinity College) ในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (Cambridge University)

         ในปี ค.ศ. 1664 เกิดกาฬโรคระบาดในกรุงลอนดอน ซึ่งได้แพร่ระบาดเข้ามาในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ด้วย ดังนั้นทาง
มหาวิทยาลัยจึงต้องหยุดการเรียนการสอนเป็นระยะเวลา 8 เดือน เพื่อป้องกันการติดโรค นิวตันจึงเดินทางกลับบ้าน และถือว่าเป็น
โอกาสที่ดีของนิวตันในการศึกษาค้นคว้าและทดลองวิทยาศาสตร์ ซึ่งนิวตันสามารถค้นพบทฤษฎีสำคัญ ๆ ถึง 3 ทฤษฎี ด้วยความที่
นิวตันชอบวิชาดาราศาสตร์ เขาตั้งใจจะประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์เลียนแบบของกาลิเลโอขึ้นด้วยตัวเอง เพื่อจะได้ส่องดูดวงดาว
ได้ชัดเจน ตามที่เขาต้องการ ทำให้เขาได้พบสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งคือ ทฤษฎีเกี่ยวกับแสงซึ่งเป็นทฤษฎีบทแรกของเขา ในขณะที่นิวตัน
กำลังฝนเลนส์ เขาสังเกตเห็นว่ามีสีรุ้งปรากฏอยู่บริเวณขอบเลนส์ เขาพยายามฝนเลนส์เพื่อให้แสงสีรุ้งที่ขอบเลนส์หายไป แต่ก็ไม่
สามารถทำได้ ในที่สุดเขาจึงเปลี่ยนมาใช้กระจกเงาเว้าหรือกระจกเงารวมแสง แทนเลนส์วัตถุ ส่วนเลนส์ตายังคงใช้เลนส์นูนตามเดิม
กล้องโทรทรรศน์ของนิวตันชนิดนี้เป็นต้นแบบของกล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสงในปัจจุบัน นิวตันได้นำกล้องโทรทรรศน์ของ
เขาไปเสนอกับทางสมาคมวิทยาศาสตร์ ซึ่งทางสมาคมก็ยอมรับรองผลงานของนิวตันชิ้นนี้ และจากผลงานชิ้นนี้เองเมื่อมหาวิทยาลัย
เคมบริดจ์เปิดทำการอีกครั้งหนึ่งนิวตันได้รับเชิญเข้าเป็นอาจารย์สอนวิชาคณิตศาสตร์ ประจำมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี ค.ศ.
1667 และต่อมาอีก 4 ปี นิวตันก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์วิชาคณิตศาสตร์ และปีต่อมานิวตันก็ได้รับเชิญให้ร่วมเป็น
สมาชิกของสมาคมวิทยาศาสตร์

         การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ครั้งนี้ยังทำให้เขาค้นพบสมบัติของแสง นิวตันได้เริ่มการทดลองเกี่ยวกับแสงโดยการปิดห้อง
จนมืดสนิทให้แสงรอดผ่านเข้ามาทางช่องเล็ก แล้วใช้แท่งแก้วสามเหลี่ยม หรือที่เรียกว่าปริซึม (Prism) รับแสงให้แสงผ่านแท่ง
แก้วปริซึม ผลปรากฏว่าแสงที่ผ่านปริซึมมีถึง 7 สี ได้แก่ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กิดวันที่ 25 ธันวาคมค.ศกันไปด้วยการตกแต่งประเทศอังกฤษเมืองลินคอร์นเชียร์ (Lincohnshire) (อังกฤษ)เสียชีวิตวันที่ 20 มีนาคมค.ศ. ค.ศ. 1727 ประเทศอังกฤษกรุงลอนดอน (ลอนดอน) (อังกฤษ)ผลงาน - ตั้งกฎแรงดึงดูดของโลก -ตั้งกฎเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ -ตั้งทฤษฎีแคลคูลัส (แคลคูลัส) -ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง -ค้นพบสมบัติของแสงที่ว่าแสงสีขาวประกอบขึ้นจากแสงสีรุ้ง ในบรรดานักวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วและจะกล่าวต่อไปนิวตันเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นอัจฉริยะคนหนึ่งเลยทีเดียวแม้แต่นักวิทยาศาสตร์ผู้มีความสามารถอย่างไอน์สไตน์ก็ได้รับการยกย่องให้ฉลาดเท่ากับนิวตันนั่นคือการแสดงให้เห็นว่าเขาคืออัจฉริยะคนหนึ่งของโลก การที่เขาได้รับการยกย่องเช่นนี้เนื่องจากเขาได้ค้นพบและตั้งกฎอันยิ่งใหญ่ไว้หลายกฎการค้นพบที่ได้รับการยกย่องและทำให้เท่านั้นปีกว่าซึ่งเขาค้นพบในขณะที่มีอายุเพียง 20 คนรู้จักเขามากที่สุดก็คือกฎแรงดึงดูดของโลก นิวตันเกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคมค.ศกันไปด้วยการตกแต่งที่หมู่บ้านวูลสธอร์พ (Woolsthorpe) เมืองลินคอร์นเชียร์ประเทศอังกฤษบิดาของเขาเป็นเจ้าของที่ดินเล็กๆ แปลงหนึ่งซึ่งเสียชีวิตก่อนเขาเกิดประมาณ 3 เดือนทำให้เขาเป็นกำพร้าบิดาตั้งแต่ก่อนลืมตามองโลกเสียอีกโชคร้ายของนิวตันไม่หมดเพียงเท่านั้นเนื่องจากเขาคลอดก่อนกำหนดทำให้สุขภาพอ่อนแออีกทั้งตัวก็เล็กมากและอาจจะเสียชีวิตได้แต่ถึงอย่างนั้นนิวตันก็รอดชีวิตมาสร้างคุณประโยชน์อย่างมหาศาลให้กับวงการวิทยาศาสตร์และมนุษยชาติ มารดาของเมื่อนิวตันรอดชีวิตมาได้ก็เท่ากับเป็นการเพิ่มภาระให้กับฮานนาเอสคอชนิวตัน (ฮันนาห์ Ayscough นิวตัน)เขาในการเลี้ยงดูต่อมาเมื่อเขาอายุได้ 2 ปีมารดาของเขาได้แต่งงานใหม่กับบานาบาสสมิธ (สมิธบารนาบัส) ซึ่งมีอาชีพเป็นนักบวชและมีรายได้มากพอที่จะเลี้ยงมารดาและนิวตันได้อย่างสบายอีกทั้งบานาบาสยินดีที่จะจ่ายค่าเช่าที่ดินให้กับนิวตันอีกถึงปีละ 50 ปอนด์ซึ่งก่อนหน้านี้พ่อของนิวตันเก็บค่าเช่าได้เพียงปีละ 30 ปอนด์เท่านั้นแต่ถึงอย่างนั้นญาติทางฝ่ายบิดาก็ยังเกลียดบานาบาสทำให้มารดาของนิวตันต้องย้ายไปอยู่ที่อื่นส่วนนิวตันก็ต้องไปอยู่ในความอุปการะของญาติทางฝ่ายบิดาของเขา การศึกษาของนิวตันเริ่มต้นที่บ้านเกิดของเขานั่นเองเมื่อเขาอายุได้ 12 ปีจึงได้เดินทางไปยังเมืองแกรนแธม (Grantham)เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนคิงส์ (King's School) ในระหว่างนี้นิวตันได้ไปอาศัยอยู่กับครอบครัวคลาค ซึ่งมาดามคลาคเป็นเพื่อนสนิทของแม่ของนิวตัน ด้วยความที่นิวตันเป็นคนเก็บตัวไม่ชอบสุงสิงกับเพื่อนในวัยเดียวกัน เวลาว่างส่วนใหญ่เขาจึงใช้ไปกับการอ่านหนังสือ ค้นคว้า และประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ และเป็นเรื่องโชคดีของนิวตันที่มิสเตอร์คลาคเป็นนักสะสมขวดสารเคมี และหนังสือเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ไว้เป็นจำนวนมาก ทำให้นิวตันมีโอกาสได้ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่เขาชอบนิวตันได้เรียนอยู่ที่โรงเรียนคิงส์ 4 ปีเท่านั้นก็ต้องกลับบ้านเกิดของเขาเพราะบานาบาสพ่อเลี้ยงของเขาเสียชีวิตพร้อมกับทิ้งทรัพย์สมบัติไว้ให้กับแม่เขาจำนวนหนึ่ง ดังนั้นแม่ของนิวตันจึงต้องการกลับไปทำฟาร์มอีกครั้งหนึ่งและขอร้องให้นิวตันไปช่วยงานในฟาร์มด้วยแต่นิวตันไม่ชอบทำงานในฟาร์มเขาไม่เคยสนใจหรือเอาใจใส่สัตว์เลี้ยงของเขาแม้แต่น้อยเขายังใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับการอ่านหนังสือและประดิษฐ์สิ่งนอกจากนี้เขายังชอบนั่งมองดูดาวบนท้องฟ้าเพื่อสังเกตการซึ่งระหว่างนี้นิวตันได้ประดิษฐ์นาฬิกากันแดด (สายพระอาทิตย์) ๆ ต่างเคลื่อนที่ของดาวเหล่านั้น นิวตันทำงานในฟาร์มได้เพียง 1 ปีเท่านั้นมิสเตอร์สโตกส์ (นายสโตกส์) ซึ่งเป็นเพื่อนสนิทของแม่และเป็นครูของเขาได้มาบอกกับแม่ของเขาว่านิวตันเป็นคนฉลาดและมีความสามารถไม่ควรจะให้ทำงานในฟาร์มนี้ต่อไปควรส่งนิวตันไปเรียนต่อ ที่โรงเรียนคิงส์เพื่อเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัยอีกทั้งน้าของนิวตันวิลเลี่ยม (William Ayscough) แอสคอชซึ่งเป็นนักบวชก็เห็นดีในข้อนี้เมื่อทั้งสองช่วยกันพูดแม่ของเขาจึงได้ส่งนิวตันไปเรียนต่อที่โรงเรียนคิงส์หลังจากสำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนคิงส์นิวตันได้เข้าศึกษาต่อที่วิทยาลัยตรินิตี้ (วิทยาลัยทรินิตี้) ในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์) ในปี ค.ศ. 1664 เกิดกาฬโรคระบาดในกรุงลอนดอน ซึ่งได้แพร่ระบาดเข้ามาในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ด้วย ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงต้องหยุดการเรียนการสอนเป็นระยะเวลา 8 เดือน เพื่อป้องกันการติดโรค นิวตันจึงเดินทางกลับบ้าน และถือว่าเป็นโอกาสที่ดีของนิวตันในการศึกษาค้นคว้าและทดลองวิทยาศาสตร์ ซึ่งนิวตันสามารถค้นพบทฤษฎีสำคัญ ๆ ถึง 3 ทฤษฎี ด้วยความที่นิวตันชอบวิชาดาราศาสตร์ เขาตั้งใจจะประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์เลียนแบบของกาลิเลโอขึ้นด้วยตัวเอง เพื่อจะได้ส่องดูดวงดาวได้ชัดเจน ตามที่เขาต้องการ ทำให้เขาได้พบสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งคือ ทฤษฎีเกี่ยวกับแสงซึ่งเป็นทฤษฎีบทแรกของเขา ในขณะที่นิวตันกำลังฝนเลนส์ เขาสังเกตเห็นว่ามีสีรุ้งปรากฏอยู่บริเวณขอบเลนส์ เขาพยายามฝนเลนส์เพื่อให้แสงสีรุ้งที่ขอบเลนส์หายไป แต่ก็ไม่
สามารถทำได้ ในที่สุดเขาจึงเปลี่ยนมาใช้กระจกเงาเว้าหรือกระจกเงารวมแสง แทนเลนส์วัตถุ ส่วนเลนส์ตายังคงใช้เลนส์นูนตามเดิม
กล้องโทรทรรศน์ของนิวตันชนิดนี้เป็นต้นแบบของกล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสงในปัจจุบัน นิวตันได้นำกล้องโทรทรรศน์ของ
เขาไปเสนอกับทางสมาคมวิทยาศาสตร์ ซึ่งทางสมาคมก็ยอมรับรองผลงานของนิวตันชิ้นนี้ และจากผลงานชิ้นนี้เองเมื่อมหาวิทยาลัย
เคมบริดจ์เปิดทำการอีกครั้งหนึ่งนิวตันได้รับเชิญเข้าเป็นอาจารย์สอนวิชาคณิตศาสตร์ ประจำมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี ค.ศ.
1667 และต่อมาอีก 4 ปี นิวตันก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์วิชาคณิตศาสตร์ และปีต่อมานิวตันก็ได้รับเชิญให้ร่วมเป็น
สมาชิกของสมาคมวิทยาศาสตร์

         การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ครั้งนี้ยังทำให้เขาค้นพบสมบัติของแสง นิวตันได้เริ่มการทดลองเกี่ยวกับแสงโดยการปิดห้อง
จนมืดสนิทให้แสงรอดผ่านเข้ามาทางช่องเล็ก แล้วใช้แท่งแก้วสามเหลี่ยม หรือที่เรียกว่าปริซึม (Prism) รับแสงให้แสงผ่านแท่ง
แก้วปริซึม ผลปรากฏว่าแสงที่ผ่านปริซึมมีถึง 7 สี ได้แก่ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
กิดวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 เมืองลินคอร์นเชียร์ (Lincohnshire) ประเทศอังกฤษ (อังกฤษ)
เสียชีวิตวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 กรุงลอนดอน (London) ประเทศอังกฤษ (อังกฤษ)
ผลงาน - ตั้งกฎแรงดึงดูดของโลก
             -
             ตั้งทฤษฎีแคลคูลัส (แคลคูลัส)
             -
             ค้นพบสมบัติของแสงที่ว่า ซึ่งเขาค้นพบในขณะที่มีอายุเพียง 20 ปีเท่านั้นกว่า         นิวตันเกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 ที่หมู่บ้านวูลส ธ อร์พ (Woolsthorpe) เมืองลินคอร์นเชียร์ ๆ แปลงหนึ่งซึ่งเสียชีวิตก่อนเขาเกิดประมาณ 3 เดือน ทำให้สุขภาพอ่อนแออีกทั้งตัวก็เล็กมากและอาจจะเสียชีวิตได้ เอสคอชนิวตัน (ฮันนาห์ Ayscough นิวตัน) มารดาของเขาในการเลี้ยงดูต่อมาเมื่อเขาอายุได้ 2 ปี สมิ ธ (บาร์นาบัสสมิ ธ ) ซึ่งมีอาชีพเป็นนักบวช 50 ปอนด์ 30 ปอนด์เท่านั้น บานาบาส          เมื่อเขาอายุได้ 12 ปีจึงได้เดินทางไปยังเมืองแกรนแธม (Grantham) เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนคิงส์ (โรงเรียนพระราชา) ค้นคว้าและประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ปีเท่านั้นก็ต้องกลับบ้านเกิดของเขา แต่นิวตันไม่ชอบทำงานในฟาร์ม และสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ (อาทิตย์แบบ Dial)          1 ปีเท่านั้นมิสเตอร์สโตกส์ (นายสโตคส์) ซึ่งเป็นเพื่อนสนิทของแม่ ไม่ควรจะให้ทำงานในฟาร์มนี้ต่อไป วิลเลี่ยมแอสคอช (วิลเลียม Ayscough) ซึ่งเป็นนักบวชก็เห็นดีในข้อนี้เมื่อทั้งสองช่วยกันพูด (Trinity College) ในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (Cambridge University)          ในปี ค.ศ. 1664 เกิดกาฬโรคระบาดในกรุงลอนดอน 8 เดือนเพื่อป้องกันการติดโรคนิวตันจึงเดินทางกลับบ้าน ซึ่งนิวตันสามารถค้นพบทฤษฎีสำคัญ ๆ ถึง 3 ทฤษฎี เพื่อรับจะได้ส่องดูดวงดาวได้ชัดเจนตามที่เขาต้องการ ในขณะที่นิวตันกำลังฝนเลนส์ แต่ก็ไม่สามารถทำได้ แทนเลนส์วัตถุ ประจำมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในปี ค.ศ. 1667 และต่อมาอีก 4 ปี แล้วใช้แท่งแก้วสามเหลี่ยมหรือที่เรียกว่าปริซึม (Prism) รับแสงให้แสงผ่านแท่งแก้วปริซึมผลปรากฏว่าได้แสงที่ผ่านปริซึมมีถึง 7 สี ได้แก่ ม่วงครามน้ำเงินเขียวเหลืองแสดแดง

















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
กิด       วันที่ 25 ธันวาคมค . ศ . ในเมืองลินคอร์นเชียร์ ( lincohnshire ) ประเทศอังกฤษ ( อังกฤษ )
เสียชีวิตวันที่ 20 มีนาคมค . ศ . 1 , 727 กรุงลอนดอน ( ลอนดอน ) ประเทศอังกฤษ ( อังกฤษ )
-
ผลงาน  ตั้งกฎแรงดึงดูดของโลก              - ตั้งกฎเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
              - ตั้งทฤษฎีแคลคูลัส ( แคลคูลัส )
-
             ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง              - ค้นพบสมบัติของแสงที่ว่าแสงสีขาวประกอบขึ้นจากแสงสีรุ้ง

         ในบรรดานักวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วและจะกล่าวต่อไปนิวตันเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นอัจฉริยะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: