ชื่อวิทยานิพนธ์ : การศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะ  ในพระพุ การแปล - ชื่อวิทยานิพนธ์ : การศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะ  ในพระพุ ไทย วิธีการพูด

ชื่อวิทยานิพนธ์ : การศึกษาเปรียบเที

ชื่อวิทยานิพนธ์ : การศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะ
ในพระพุทธศาสนาเถรวาท
ผู้วิจัย : พระมหารุ่งเรือง ขนฺติสโห (เหิดขุนทด)
ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาพระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
: พระมหาสุพัตร์ วชิราวุโธ ดร.
: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เกียรติศักดิ์ นาคประสิทธิ์
วันสำเร็จการศึกษา : ...../....../........

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถรวาทนี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ (๑) เพื่อศึกษาปัณณัตติวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท (๒) เพื่อศึกษาโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท (๓) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถรวาท ผลการศึกษาพบว่า
ปัณณัตติวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท ถือว่าเป็นโทษทางพระวินัยบัญญัติไว้ คนที่เป็นคฤหัสถ์ทำเข้าไม่เป็นความผิด ถือเอาความผิดนั้นเฉพาะพระภิกษุโดยฐานละเมิด พระวินัย เช่น ขุนดิน ฉันอาหารในเวลาวิกาล จับต้องหรือใช้เงินและทอง ผิงไฟ ว่ายน้ำ เป็นต้น โทษอย่างนี้เรียกว่า ปัณณัตติวัชชะ มูลเหตุการณ์บัญญัติปัณณัตติวัชชะ เพื่อให้ละเว้นจากการทำความชั่ว ให้ทำแต่ความดี และทำจิตใจให้เบิกบาน ผ่องใส รวมถึงความผาสุขแห่งสงฆ์ โดยองค์ประกอบที่สำคัญ คือ สจิตตกะ (ความเจตนา) อจิตตกะ (ความไม่มีเจตนา) เพราะเมื่อไม่ปฏิบัติตามก็จะเกิดโทษแห่งการล่วงละเมิดปัณณัตติวัชชะคือ โทษหนัก (ปาราชิก,สังฆาทิเสส) และโทษเบา (ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาษิต) แต่หากผู้ใดปฏิบัติตามพระวินัยก็จะได้รับประโยชน์แห่งการไม่ล่วงละเมิดปัณณัตติวัชชะ ได้แก่ ไม่เป็นทุกข์เดือดร้อนใจว่าบวชเข้ามาเป็นพระแล้วทำผิดศีลผิดวินัย เป็นต้น
โลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท เป็นโทษทางโลก คือ คนที่เป็นคฤหัสถ์ทำเข้าก็เป็นความผิด ภิกษุทำเข้าก็เป็นความผิด เช่น โจรกรรม ฆ่ามนุษย์ ตลอดจนถึงโทษสถานเบา เช่น การทุบตีกัน เป็นต้น เมื่อภิกษุทำกรรมเช่นนี้ย่อมผิดทั้งกฏหมายบ้านเมือง และผิดทางวินัยสงฆ์ โลกวัชชะในพระพุทธศาสนาพบว่าสังคมของภิกษุผู้ว่ายาก ทั้งในครั้งพุทธกาลและปัจจุบันได้เกิดวิกฤตทางศีลธรรม ส่งผลให้เกิดปัญหาและผลกระทบต่อศรัทธาของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไปเป็นอย่างมาก เช่น ปัญหาการล่วงละเมิดพระวินัยบัญญัติการเป็นผู้ว่ายากสอนยาก การปฏิบัติย่อหย่อนในพระธรรมวินัย ตามใจตนเองโดยใส่ใจใคร่ครวญในสิ่งที่คนมอง การละเลยกิจวัตรของสงฆ์ เป็นต้น ทำให้ได้รับการตำหนิติเตียนศาสนิกของศาสนาอื่น แม้แต่ในพุทธศาสนิกชนด้วยกันเองก็ไม่ก่อให้เกิดความเสื่อมศรัทธาในความประพฤติของตัวพระภิกษุ ปัญหาทั้งหมดล้วนมีมูลเหตุมาจากความไม่เข้าใจหรือไม่ใส่ใจศึกษาในหลักไตรสิกขา มีความเห็นผิด มิจทิฏฐิ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความคิดและพฤติกรรมต่างๆ ของพระภิกษุผู้ว่ายาก เกิดความวิปริตผิดทำนองคลองธรรม อันเป็นมูลเหตุทำให้เกิดความตกต่ำและเสื่อมเสียมาถึงองค์กรสงฆ์หมู่ใหญ่ ทั้งนี้เพราะผู้ว่ายากสอนยากเหล่านั้น ไม่ได้ศึกษาในหลักของพระธรรมพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้อย่างเคร่งครัดให้ถ่องแท้และเข้าใจ จึงมองไม่เห็นคุณค่าของข้อวัตรปฏิบัติในทางศีลธรรมคุณธรรมและจริยธรรมอันเป็นเหตุให้มีพุทธบัญญัติอันเป็นปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะสิ่งที่ชาวโลกติเตียน
เปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถรวาท การกระทำที่เป็นการล่วงละเมิดด้านพระธรรมวินัยเกิดเป็นความเศร้าหมองมี ๒ อย่าง คือ (๑) โลกวัชชะ คือ โทษทางโลก ได้แก่ การประพฤติล่วงอกุศลกรรมบถ เช่น การฆ่าสัตว์ เป็นต้น เป็นโทษที่ปรากฏชัดเจน (๒) ปัณณัติติวัชชะ โทษทางวินัยบัญญัติ เช่น รู้อยู่ บวชให้บุคคลมีอายุหย่อนกว่า ๒๐ ปี เป็นพระภิกษุ โทษทั้งสองอย่างนี้ มีหลักฐานในวชิรพุทธฏีกา เป็นคัมภีร์ฏีกาที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับวินัย คือ (๑) การประกาศให้รู้โลกวัชชะ ความตั้งอยู่ด้วยดีแห่งสงฆ์มีได้เพราะโทษปรากฏชัดเจน เมื่อนำสิ่งที่ชาวโลกเห็นว่าเป็นความผิดมาบัญญัติไว้ สังคมก็จะยอมรับเพราะมองเห็นโทษอย่างชัดเจน (๒) ในเพราะประกาศให้รู้ปัณณัตติวัชชะ คือ ความผาสุกแห่งสงฆ์มีได้เพราะอานิสงส์ปรากฏชัดเจน เมื่อนำเอาสิ่งที่ทรงเห็นว่า ควรบัญญัติมาบัญญัติไว้ สังคมก็อยู่อย่างผาสุก เพราะมองเห็นอานิสงส์อย่างชัดเจน ดังนั้นการกล่าวถึงโลกวัชชะเกิดขึ้นได้เพราะมีอกุศล คือ อกุศลกรรมบถ ๑๐ และกล่าวถึงปัณัตติวัชชะ เกิดขึ้นได้เพราะการกระทำสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามหรือไม่ควรกระทำสิ่งที่ควรกระทำ สำหรับโลกวัชชะ คือ สิ่งที่พระพุทธเจ้าบัญญัติสิกขาบทนั้นแล้ว เพราะโลกวัชชะเพื่อความตั้งอยู่ด้วยดีแห่งสงฆ์ โดยภาวะแห่งอกุศลโดยส่วนเดียว ในเพราะก้าวล่วงวัตถุ สิกขาบทใดที่ล่วงละเมิดแล้ว มีความชั่วโดยส่วนเดียว ทรงบัญญัติสิกขาบทนั้น เพื่อการยอมรับของสังคมเพราะชาวโลกเห็นว่ามีความผิด ส่วนปัณณัติวัชชะ เมื่อกระทำสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม แม้เพราะไม่มีเจตนาก้าวล่วงวัตถุหรือบัญญัติก็ตาม เช่นเพราะมีจิตรู้ว่าเป็นดอกไม้ และอาบัติที่เป็นปัณณัตติวัชชะนั้น ได้แก่ อาบัติที่ต้องในเวลามีจิตเป็นกุศล เช่น เก็บดอกไม้บูชาพระ แต่ผิดบัญญัติเรื่องพรากของเขียว เป็นต้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อวิทยานิพนธ์: การศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะ
ในพระพุทธศาสนาเถรวาท
ผู้วิจัย: พระมหารุ่งเรืองขนฺติสโห (เหิดขุนทด)
ปริญญา: พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาพระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
: พระมหาสุพัตร์วชิราวุโธดร
: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร เกียรติศักดิ์นาคประสิทธิ์
วันสำเร็จการศึกษา: ..... / ...... / ........



บทคัดย่อการศึกษาเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถรวาทนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาปัณณัตติวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท (2) เพื่อศึกษาโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท (3)ผลการศึกษาพบว่า
ปัณณัตติวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท ถือว่าเป็นโทษทางพระวินัยบัญญัติไว้ คนที่เป็นคฤหัสถ์ทำเข้าไม่เป็นความผิด ถือเอาความผิดนั้นเฉพาะพระภิกษุโดยฐานละเมิด พระวินัยเช่นขุนดินฉันอาหารในเวลาวิกาลผิงไฟว่ายน้ำเป็นต้นโทษอย่างนี้เรียกว่าปั ณ ณัตติวัชชะมูลเหตุการณ์บัญญัติปั ณ ณัตติวัชชะเพื่อให้ละเว้นจากการทำความชั่วให้ทำ แต่ความดีและทำจิตใจให้เบิกบานผ่องใสรวมถึงความผาสุขแห่งสงฆ์คือสจิตตกะ (ความเจตนา) อจิตตกะ (ความไม่มีเจตนา) เพราะเมื่อไม่ปฏิบัติตามก็จะเกิดโทษแห่งการล่วงละเมิดปัณณัตติวัชชะคือ โทษหนัก (ปาราชิก,สังฆาทิเสส) และโทษเบา (ถุลลัจจัยปาจิตตีย์ปาฏิเทสนียะทุกกฏและทุพภาษิต) แต่หากผู้ใดปฏิบัติตามพระวินัยก็จะได้รับประโยชน์แห่งการไม่ล่วงละเมิดปัณณัตติวัชชะ ได้แก่โลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาทเป็นโทษทางโลกคือ คนที่เป็นคฤหัสถ์ทำเข้าก็เป็นความผิด ภิกษุทำเข้าก็เป็นความผิดเช่นโจรกรรมฆ่ามนุษย์ตลอดจนถึงโทษสถานเบาเช่นการทุบตีกันเป็นต้นการปฏิบัติย่อหย่อนในพระธรรมวินัย ตามใจตนเองโดยใส่ใจใคร่ครวญในสิ่งที่คนมอง การละเลยกิจวัตรของสงฆ์เป็นต้น ทำให้ได้รับการตำหนิติเตียนศาสนิกของศาสนาอื่นปัญหาทั้งหมดล้วนมีมูลเหตุมาจากความไม่เข้าใจหรือไม่ใส่ใจศึกษาในหลักไตรสิกขา มีความเห็นผิดมิจทิฏฐิ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความคิดและพฤติกรรมต่างๆ ของพระภิกษุผู้ว่ายากเกิดความวิปริตผิดทำนองคลองธรรมเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถรวาท การกระทำที่เป็นการล่วงละเมิดด้านพระธรรมวินัยเกิดเป็นความเศร้าหมองมี 2 อย่างคือ (1) โลกวัชชะคือโทษทางโลก ได้แก่ การประพฤติล่วงอกุศลกรรมบถเช่นเป็นต้นเป็นโทษที่ปรากฏชัดเจน (2) ปั ณ ณัติติวัชชะโทษทางวินัยบัญญัติเช่นรู้อยู่บวชให้บุคคลมีอายุหย่อนกว่า 20 ปีเป็นพระภิกษุโทษทั้งสองอย่างนี้มีหลักฐานในวชิรพุทธฏีกาคือ (1) การประกาศให้รู้โลกวัชชะ ความตั้งอยู่ด้วยดีแห่งสงฆ์มีได้เพราะโทษปรากฏชัดเจน เมื่อนำสิ่งที่ชาวโลกเห็นว่าเป็นความผิดมาบัญญัติไว้ สังคมก็จะยอมรับเพราะมองเห็นโทษอย่างชัดเจน (2)คือ ความผาสุกแห่งสงฆ์มีได้เพราะอานิสงส์ปรากฏชัดเจน เมื่อนำเอาสิ่งที่ทรงเห็นว่าควรบัญญัติมาบัญญัติไว้สังคมก็อยู่อย่างผาสุกเพราะมองเห็นอานิสงส์อย่างชัดเจนคืออกุศลกรรมบถ 10 และกล่าวถึงปัณัตติวัชชะ เกิดขึ้นได้เพราะการกระทำสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามหรือไม่ควรกระทำสิ่งที่ควรกระทำ สำหรับโลกวัชชะคือ สิ่งที่พระพุทธเจ้าบัญญัติสิกขาบทนั้นแล้วโดยภาวะแห่งอกุศลโดยส่วนเดียวในเพราะก้าวล่วงวัตถุสิกขาบทใดที่ล่วงละเมิดแล้วมีความชั่วโดยส่วนเดียวทรงบัญญัติสิกขาบทนั้น เพื่อการยอมรับของสังคมเพราะชาวโลกเห็นว่ามีความผิด ส่วนปั ณ ณัติวัชชะแม้เพราะไม่มีเจตนาก้าวล่วงวัตถุหรือบัญญัติก็ตาม เช่นเพราะมีจิตรู้ว่าเป็นดอกไม้และอาบัติที่เป็นปั ณ ณัตติวัชชะนั้น ได้แก่ อาบัติที่ต้องในเวลามีจิตเป็นกุศลเช่นเก็บดอกไม้บูชาพระเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อวิทยานิพนธ์: การศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะ
ในพระพุทธศาสนาเถรวาท
ผู้วิจัย: พระมหารุ่งเรืองขนฺติสโห (เหิดขุนทด)
ปริญญา: พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาพระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
: พระมหาสุพัตร์วชิราวุโธดร
: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร เกียรติศักดิ์นาคประสิทธิ์
วันสำเร็จการศึกษา:.../.../...

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถรวาทนี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการคือ (๑) (๒) เพื่อศึกษาปัณณัตติวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาทเพื่อศึกษาโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท (๓) ผลการศึกษาพบว่า
ปัณณัตติวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาทถือว่าเป็นโทษทางพระวินัยบัญญัติไว้คนที่เป็นคฤหัสถ์ทำเข้าไม่เป็นความผิดถือเอาความผิดนั้นเฉพาะพระภิกษุโดยฐานละเมิดพระวินัยเช่นขุนดินฉันอาหารในเวลาวิกาล ผิงไฟว่ายน้ำเป็นต้นโทษอย่างนี้เรียกว่าปัณณัตติวัชชะมูลเหตุการณ์บัญญัติปัณณัตติวัชชะเพื่อให้ละเว้นจากการทำความชั่วให้ทำแต่ความดีและทำจิตใจให้เบิกบานผ่องใสรวมถึงความผาสุขแห่งสงฆ์ คือสจิตตกะ (ความเจตนา) อจิตตกะ (ความไม่มีเจตนา) เพราะเมื่อไม่ปฏิบัติตามก็จะเกิดโทษแห่งการล่วงละเมิดปัณณัตติวัชชะคือโทษหนัก (ปาราชิกสังฆาทิเสส) และโทษเบา (ถุลลัจจัยปาจิตตีย์ปาฏิเทสนียะทุกกฏและทุพภาษิต) แต่หากผู้ใดปฏิบัติตามพระวินัยก็จะได้รับประโยชน์แห่งการไม่ล่วงละเมิดปัณณัตติวัชชะได้แก่ เป็นต้น
โลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาทเป็นโทษทางโลกคือคนที่เป็นคฤหัสถ์ทำเข้าก็เป็นความผิดภิกษุทำเข้าก็เป็นความผิดเช่นโจรกรรมฆ่ามนุษย์ตลอดจนถึงโทษสถานเบาเช่นการทุบตีกันเป็นต้น และผิดทางวินัยสงฆ์โลกวัชชะในพระพุทธศาสนาพบว่าสังคมของภิกษุผู้ว่ายากทั้งในครั้งพุทธกาลและปัจจุบันได้เกิดวิกฤตทางศีลธรรมส่งผลให้เกิดปัญหาและผลกระทบต่อศรัทธาของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไปเป็นอย่างมากเช่น การปฏิบัติย่อหย่อนในพระธรรมวินัยตามใจตนเองโดยใส่ใจใคร่ครวญในสิ่งที่คนมองการละเลยกิจวัตรของสงฆ์เป็นต้นทำให้ได้รับการตำหนิติเตียนศาสนิกของศาสนาอื่น ปัญหาทั้งหมดล้วนมีมูลเหตุมาจากความไม่เข้าใจหรือไม่ใส่ใจศึกษาในหลักไตรสิกขามีความเห็นผิดมิจทิฏฐิซึ่งแสดงให้เห็นถึงความคิดและพฤติกรรมต่าง ๆ ของพระภิกษุผู้ว่ายากเกิดความวิปริตผิดทำนองคลองธรรม ทั้งนี้เพราะผู้ว่ายากสอนยากเหล่านั้นไม่ได้ศึกษาในหลักของพระธรรมพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้อย่างเคร่งครัดให้ถ่องแท้และเข้าใจ เปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถรวาทการกระทำที่เป็นการล่วงละเมิดด้านพระธรรมวินัยเกิดเป็นความเศร้าหมองมี ๒ เชิงแบบอย่างทางคือ (๑) โลกวัชชะคือโทษทางโลกได้แก่การประพฤติล่วงอกุศลกรรมบถเช่น เป็นต้นเป็นโทษที่ปรากฏชัดเจน (๒) ปัณณัติติวัชชะโทษทางวินัยบัญญัติเช่นรู้อยู่บวชให้บุคคลมีอายุหย่อนกว่า ๒๐ ปีเป็นพระภิกษุโทษทั้งสองอย่างนี้มีหลักฐานในวชิรพุทธฏีกา สังคมก็จะยอมรับเพราะมองเห็นโทษอย่างชัดเจนเมื่อนำสิ่งที่ชาวโลกเห็นว่าเป็นความผิดมาบัญญัติไว้ความตั้งอยู่ด้วยดีแห่งสงฆ์มีได้เพราะโทษปรากฏชัดเจนการประกาศให้รู้โลกวัชชะคือ (๑) (๒) คือความผาสุกแห่งสงฆ์มีได้เพราะอานิสงส์ปรากฏชัดเจนเมื่อนำเอาสิ่งที่ทรงเห็นว่าควรบัญญัติมาบัญญัติไว้สังคมก็อยู่อย่างผาสุกเพราะมองเห็นอานิสงส์อย่างชัดเจน คืออกุศลกรรมบถ ๑๐ และกล่าวถึงปัณัตติวัชชะเกิดขึ้นได้เพราะการกระทำสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามหรือไม่ควรกระทำสิ่งที่ควรกระทำสำหรับโลกวัชชะคือสิ่งที่พระพุทธเจ้าบัญญัติสิกขาบทนั้นแล้ว โดยภาวะแห่งอกุศลโดยส่วนเดียวในเพราะก้าวล่วงวัตถุสิกขาบทใดที่ล่วงละเมิดแล้วมีความชั่วโดยส่วนเดียวทรงบัญญัติสิกขาบทนั้นเพื่อการยอมรับของสังคมเพราะชาวโลกเห็นว่ามีความผิดส่วนปัณณัติวัชชะ แม้เพราะไม่มีเจตนาก้าวล่วงวัตถุหรือบัญญัติก็ตามเช่นเพราะมีจิตรู้ว่าเป็นดอกไม้และอาบัติที่เป็นปัณณัตติวัชชะนั้นได้แก่อาบัติที่ต้องในเวลามีจิตเป็นกุศลเช่นเก็บดอกไม้บูชาพระ เป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อวิทยานิพนธ์:การศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชในพระพุทธศาสนาเถรวาท

ผู้วิจัย:พระมหารุ่งเรืองขนฺติสโห(เหิดขุนทด)
ปริญญา:พุทธศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาพระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
:พระมหาสุพัตร์วชิราวุโธดร.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. เกียรติศักดิ์นาคประสิทธิ์
วันสำเร็จการศึกษา:...../.../........!

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบปัณณัตติว๓ประการคือ(๑)เพื่อศึกษาปัณณัตติวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราว(๒)เพื่อศึกษาโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาท(๓)ผลการศึกษาพบว่า
ตามมาตรฐานปัณณัตติวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาทถือว่าเป็นโทษทางพระวินัยบัญญัติไว้คนที่เป็นคฤหัสถ์ทำเข้าไม่เป็นความผิด ถือเอาความผิดนั้นเฉพาะพระภิกษุโดยฐานละเมิด พระวินัยเช่นขุนดินฉันอาหารในเวลาวิกาลผิงไฟว่ายน้ำเป็นต้นโทษอย่างนี้เรียกว่าปัณณัตติวัชชะมูลเหตุการณ์บัญญัติปัณณัตติวัชชะเพื่อให้ละเว้นจากการทำความชั่วให้ทำแต่ความดีและทำจิตใจให้เบิกบานผ่องใสรวมถึงความผาสุขแห่งสงฆ์คือสจิตตกะ(ความเจตนา)อจิตตกะ(ความไม่มีเจตนา)เพราะเมื่อไม่ปฏิบัติตามก็จะเกิดโทษแห่งการลโทษหนัก(ปาราชิก,สังฆาทิเสส)และโทษเบา(ถุลลัจจัยปาจิตตีย์ปาฏิเทสนียะทุกกฏ และทุพภาษิต )แต่หากผู้ใดปฏิบัติตามพระวินัยก็จะได้รับประได้แก่
เป็นต้นโลกวัชชะในพระพุทธศาสนาเถราวาทเป็นโทษทางโลกคือคนที่เป็นคฤหัสถ์ทำเข้าก็เป็นความผิด ภิกษุทำเข้าก็เป็นความผิด เช่นโจรกรรมฆ่ามนุษย์ตลอดจนถึงโทษสถานเบาเช่นการทุบตีกันเป็นต้นและผิดทางวินัยสงฆ์ โลกวัชชะในพระพุทธศาสนาพบว่าสังคมของภิกษุผู ทั้งในครั้งพุทธกาลและปัจจุบันได้เกิดวิกฤตทส่งผลให้เกิดปัญหาและผลกระทบต่อศรัทธาของพุทเช่นปัญหาทั้งหมดล้วนมีมูลเหตุมาจากความไม่เข้าใมีความเห็นผิดมิจทิฏฐิซึ่งแสดงให้เห็นถึงความคิดและพฤติกรรมต่างๆ ของพระภิกษุผู้ว่ายาก เกิดความวิปริตผิดทำนองคลองธรรมทั้งนี้เพราะผู้ว่ายากสอนยากเหล่านั้นไม่ได้ศึกษาในหลักของพระธรรมพระวินัยที่พระพเปรียบเทียบปัณณัตติวัชชะและโลกวัชชะในพระพุการกระทำที่เป็นการล่วงละเมิดด้านพระธรรมวิน๒อย่างคือ(๑)โลกวัชชะคือโทษทางโลกได้แก่การประพฤติล่วงอกุศลกรรมบถเช่นเป็นโทษที่ปรากฏชัดเจนเป็นต้น(๒)ปัณณัติติวัชชะโทษทางวินัยบัญญัติเช่นรู้อยู่บวชให้บุคคลมีอายุหย่อนกว่า๒๐ปี เป็นพระภิกษุ โทษทั้งสองอย่างนี้มีหลักฐานในวชิรพุทธฏีกาคือ(๑)การประกาศให้รู้โลกวัชชะความตั้งอยู่ด้วยดีแห่งสงฆ์มีได้เพราะโทษปราเมื่อนำสิ่งที่ชาวโลกเห็นว่าเป็นความผิดมาบัสังคมก็จะยอมรับเพราะมองเห็นโทษอย่างชัดเจน(๒)คือความผาสุกแห่งสงฆ์มีได้เพราะอานิสงส์ปรากฏชัเมื่อนำเอาสิ่งที่ทรงเห็นว่าควรบัญญัติมาบัญญัติไว้สังคมก็อยู่อย่างผาสุกเพราะมองเห็นอานิสงส์อย่างชัดเจนคืออกุศลกรรมบถ๑๐และกล่าวถึงปัณัตติวัชชะเกิดขึ้นได้เพราะการกระทำสิ่งที่พระพุทธเจ้าสำหรับโลกวัชชะคือสิ่งที่พระพุทธเจ้าบัญญัติสิกขาบทนั้นแล้วโดยภาวะแห่งอกุศลโดยส่วนเดียว ในเพราะก้าวล่วงวัตถุสิกขาบทใดที่ล่วงละเมิดแล้วมีความชั่วโดยส่วนเดียวทรงบัญญัติสิกขาบทนั้นเพื่อการยอมรับของสังคมเพราะชาวโลกเห็นว่ามีส่วนปัณณัติวัชชะแม้เพราะไม่มีเจตนาก้าวล่วงวัตถุหรือบัญญัติเช่นเพราะมีจิตรู้ว่าเป็นดอกไม้และอาบัติที่เป็นปัณณัตติวัชชะนั้นได้แก่อาบัติที่ต้องในเวลามีจิตเป็นกุศลเช่นเก็บดอกไม้บูชาพระ
ตามมาตรฐานเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: