หอม

หอม" มีชื่อพื้นบ้านว่า หอมไทย หอมหั

หอม" มีชื่อพื้นบ้านว่า หอมไทย หอมหัวเล็ก หอมเล็ก หอมแดง และหอมหัวแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า แชลลอท (shallot) บอยลิ่ง (boiling) ออนเนียน (Onion) โปเตโต้ออนเนียน (potato onion) มัลติพลายเออร์ออนเนียน (multiplier onion) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ออลเลียม แอสคาลโลนิคุม (Allium ascalonicum L.) จัดอยู่ในวงศ์ออลเลียซีอี้ (Alliaceae)
"หอม" เป็นพืชเก่าแก่ที่รู้จักกันมานาน มีหลายชนิดแตกต่างกันไป ตามขนาด สี และกลิ่นหอม หอมที่ใช้ในการทำอาหารมี 2 ชนิด คือ หอมหัวใหญ่ และหอมหัวเล็ก หรือที่เรียกว่า หอมแดงนั่นเอง สำหรับหอมแดง มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า ว่านหอมแดง ว่านหมาก ว่านไก่แดง ว่านเข้า ว่านเพลาะ หอมแดงจัดเป็นไม้ล้มลุกจำพวกหัว มีหัวเหมือนหอมหัวแดง แต่จะมีรูปรีทรงกระสวย ใบของหอมแดงจะมีลักษณะเป็นแผ่น แบน จีบตามยาวเหมือนผ้าจีบ ใบมีความกว้างประมาณ 2-4 เซนติเมตร ยาว 20-40 เซนติเมตร ดอกหอมแดงมีลักษณะเป็นกลีบสีขาว รูปช้อนปลายแหลม 5 กลีบ เกสรมีสีเหลือง ออกเป็นช่อ การขยายพันธุ์หอมแดงทำได้โดยการใช้หัว
หอมแดงเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยส่งออกหอมแดง ไปยังประเทศมาเลเซียเป็นจำนวนมาก

"หอม" มีคุณค่าทางโภชนาการคือ ประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต เส้นใย โปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก วิตามินบี 1 วิตามินบี2 ไนอาซิน และวิตามินซี ในหัวหอมสดจะประกอบไปด้วยน้ำมันหอมระเหย ซึ่งประกอบด้วยไดอัลลินไตรซัลไฟด์ (ซึ่งเป็นชนิดเดียวกับที่มีในกระเทียม) และมี ฟลาโวนอยด์ กลัยโคไซด์ เพคติน และกลูโคคินิน สารเหล่านี้มีคุณสมบัติในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ลดไขมันในเส้นเลือด ทำให้เจริญอาหาร และช่วยย่อยอาหาร นอกจากนี้ในหัวหอมยังมีฟอสฟอรัสในปริมาณที่สูง จึงช่วยทำให้มีความจำได้ดีอีกด้วย

สรรพคุณของหอมและวิธีใช้ ส่วนที่ใช้ประโยชน์คือ หัว ลำต้น และใบ ซึ่งให้สรรพคุณดังต่อไปนี้
- หัว มีรสร้อน จึงมีสรรพคุณใช้ขับลมในกระเพาะอาหาร ลำไส้ หรือจะนำหัวหอมแดงมาตำสุมกระหม่อมเด็กเพื่อใช้แก้หวัดได้เป็นอย่างดี
จากการศึกษารวบรวมรายงานที่เกี่ยวข้องกับหอมแดงพบว่า รายงานของ Prosea No.8 ( Vegetables ) 1996 ( หน้า 65 ) รายงานว่า หอมแดงมีคุณสมบัติ เป็นยารักษาโรค ใช้ลดไข้และรักษาแผลได้ โดยเอาหัวหอมแดงมาซอยเป็นแว่นๆ ผสมกับน้ำมันมะพร้าวและเกลือ ต้มให้เดือด แล้วนำมาพอกแผล นอกจากนี้หอมแดง ยังช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด และยับยั้งเส้นเลือดอุดตัน ด้วยการบริโภคสด หรือประกอบอาหาร หรือบริโภคชนิดผง และจากรายงานจากหนังสือสมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ กรกฎาคม 2539 ( หน้า 105 ) ว่าตำรายาไทยใช้หัวหอมแดง ผสมรวมกับเหง้าเปราะหอมสุมหัวเด็ก ใช้แก้หวัด คัดจมูก และกินเป็นยาขับลม รายงานจากหนังสือผักไทย-ยาไทย มกราคม 2539 ( หน้า 1 ) ว่า หอมแดงขับลม และแก้หวัด รายงานจากหนังสือสมุนไพรอันดับที่ 01 โครงการศึกษาวิจัยสมุนไพร โดยคณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2536 ( หน้า 205-207 ) ว่า หัวหอมแดงมีรสฉุน สุขุม ทำให้ร่างกายอบอุ่น ขับลม แก้ท้องอืดแน่น ช่วยย่อยอาหาร ทำให้เจริญอาหาร แก้บวมน้ำ ฆ่าพยาธิ และแก้อาการอักเสบต่างๆ เมล็ดหอมแดง ใช้กินแก้อาการกินเนื้อสัตว์เป็นพิษ อาเจียนเป็นเลือด ร่างกายซูบผอมเหลือง โดยใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมต้มน้ำดื่ม ในหอมแดงมีสารเคอร์ซิติน (quercetin) ฟลาโวนอยด์ (flavonoid)และ ไกลโคไซด์ (glycosides) จึงอาจช่วยป้องกันโรคมะเร็งได้
อย่างไรก็ตามทุกสรรพสิ่งในโลก เมื่อมีประโยชน์ก็ต้องมีโทษ หอมแดงก็เช่นกันนะคะ หากกินหอมแดงในปริมาณมากเป็นประจำ อาจจะทำให้หลงลืมง่าย ทำให้รากผมเป็นโรคเรื้อรัง ผมไม่เจริญงอกงาม มีกลิ่นตัว ฟันเสีย เลือดน้อย ตาฝ้ามัวไม่แจ่มใส และหากกินเป็นปริมาณมากเกิน อาจจะทำให้ประสาทเสียได้ จึงต้องระมัดระวังด้วยค่ะ

หอมแดง มีสรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้สิวอย่างประหยัด เรื่องของสิว และฝ้า ถือว่าเป็นศัตรูกับความงามของผู้หญิงอันดับต้นๆทีเดียว ก็เลยทำให้เกิดมีเครื่องสำอางกำจัดสิว ฝ้า ขายดิบขายดีทีเดียว แต่เราเคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ว่าทำไมคนรุ่นคุณย่าคุณยายถึงได้มีผิวพรรณและหน้าตาผ่องใส โดยไม่ต้องมีเครื่องสำอางอย่างที่คนรุ่นหลังใช้กันแต่อย่างใด ก็แสดงว่าต้องมีเครื่องสำอางรักษาผิวอยู่เช่นกัน และก็คงเป็นสูตรสมุนไพรที่ได้จากพืชพันธุ์ธรรมชาตินั่นเอง เครื่องสำอางที่เป็นสมุนไพรธรรมชาติ ใช้เป็นตำรับยาแก้สิวและฝ้า นั่นก็คือหัวหอมที่ใช้ประกอบในเครื่องแกงนั่นเอง หอมแดง มีสรรพคุณในการแก้สิว ลบรอยด่างดำ และรอยแผลเป็นที่เกิดจากสิวได้ด้วย สำหรับวิธีการก็มีวิธีการที่ง่ายๆคือ ใช้หอมแดง นำมาทุบหรือฝานให้เป็นแว่นบางๆ ใช้ทาบริเวณที่เป็นสิว ฝ้า หรือจุดด่างดำ เพียงไม่กี่สัปดาห์ก็เห็นผลแล้วละค่ะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
หอม"มีชื่อพื้นบ้านว่าหอมไทยหอมหัวเล็กหอมเล็กหอมแดงและหอมหัวแดงมีชื่อภาษาอังกฤษว่าแชลลอท (หอมแดง) บอยลิ่ง (เดือด) ออนเนียน (หัวหอม) โปเตโต้ออนเนียน (มันฝรั่งหอมใหญ่) มัลติพลายเออร์ออนเนียน (ตัวคูณหอม) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าออลเลียมแอสคาลโลนิคุม (ต้น ascalonicum L.) จัดอยู่ในวงศ์ออลเลียซีอี้ (Alliaceae)"หอม" เป็นพืชเก่าแก่ที่รู้จักกันมานานมีหลายชนิดแตกต่างกันไปตามขนาดสีและกลิ่นหอมหอมที่ใช้ในการทำอาหารมี 2 สิ่งคือหอมหัวใหญ่และหอมหัวเล็กหรือที่เรียกว่าหอมแดงนั่นเองสำหรับหอมแดงมีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่าว่านหอมแดงว่านหมากว่านไก่แดงว่านเข้าว่านเพลาะหอมแดงจัดเป็นไม้ล้มลุกจำพวกหัวมีหัวเหมือนหอมหัวแดงแต่จะมีรูปรีทรงกระสวยใบของหอมแดงจะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนจีบตามยาวเหมือนผ้าจีบใบมีความกว้างประมาณ 2-4 เซนติเมตรยาว 20-40 เซนติเมตรดอกหอมแดงมีลักษณะเป็นกลีบสีขาวรูปช้อนปลายแหลม 5 กลีบเกสรมีสีเหลืองออกเป็นช่อการขยายพันธุ์หอมแดงทำได้โดยการใช้หัวหอมแดงเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประเทศไทยส่งออกหอมแดงไปยังประเทศมาเลเซียเป็นจำนวนมาก"หอม" มีคุณค่าทางโภชนาการคือประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรตเส้นใยโปรตีนแคลเซียมฟอสฟอรัสเหล็กวิตามินบี 1 วิตามินบี2 ไนอาซินและวิตามินซีในหัวหอมสดจะประกอบไปด้วยน้ำมันหอมระเหยซึ่งประกอบด้วยไดอัลลินไตรซัลไฟด์ (ซึ่งเป็นชนิดเดียวกับที่มีในกระเทียม) และมีฟลาโวนอยด์กลัยโคไซด์เพคตินและกลูโคคินินสารเหล่านี้มีคุณสมบัติในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียลดไขมันในเส้นเลือดทำให้เจริญอาหารและช่วยย่อยอาหารนอกจากนี้ในหัวหอมยังมีฟอสฟอรัสในปริมาณที่สูงจึงช่วยทำให้มีความจำได้ดีอีกด้วยสรรพคุณของหอมและวิธีใช้ส่วนที่ใช้ประโยชน์คือหัวลำต้นและใบซึ่งให้สรรพคุณดังต่อไปนี้-หัวมีรสร้อนจึงมีสรรพคุณใช้ขับลมในกระเพาะอาหารลำไส้หรือจะนำหัวหอมแดงมาตำสุมกระหม่อมเด็กเพื่อใช้แก้หวัดได้เป็นอย่างดีจากการศึกษารวบรวมรายงานที่เกี่ยวข้องกับหอมแดงพบว่ารายงานของ Prosea No.8 (ผัก) 1996 (หน้า 65) รายงานว่าหอมแดงมีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรคใช้ลดไข้และรักษาแผลได้โดยเอาหัวหอมแดงมาซอยเป็นแว่น ๆ ผสมกับน้ำมันมะพร้าวและเกลือต้มให้เดือดแล้วนำมาพอกแผลนอกจากนี้หอมแดงยังช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดและยับยั้งเส้นเลือดอุดตันด้วยการบริโภคสดหรือประกอบอาหารหรือบริโภคชนิดผงและจากรายงานจากหนังสือสมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติกรกฎาคม 2539 (หน้า 105) ว่าตำรายาไทยใช้หัวหอมแดงผสมรวมกับเหง้าเปราะหอมสุมหัวเด็กใช้แก้หวัดคัดจมูพบว่ามีและกินเป็นยาขับลมรายงานจากหนังสือผักไทยยาไทยมกราคม 2539 (หน้า 1) ว่าหอมแดงขับลมและแก้หวัดรายงานจากหนังสือสมุนไพรอันดับที่ 01 โครงการศึกษาวิจัยสมุนไพรโดยคณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2536 (หน้า 205-207) ว่าหัวหอมแดงมีรสฉุนสุขุมทำให้ร่างกายอบอุ่นขับลมแก้ท้องอืดแน่นช่วยย่อยอาหารทำให้เจริญอาหารแก้บวมน้ำฆ่าพยาธิและแก้อาการอักเสบต่าง ๆ เมล็ดหอมแดงใช้กินแก้อาการกินเนื้อสัตว์เป็นพิษอาเจียนเป็นเลือดร่างกายซูบผอมเหลืองโดยใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมต้มน้ำดื่มในหอมแดงมีสารเคอร์ซิติน (quercetin) ฟลาโวนอยด์ (flavonoid) และไกลโคไซด์ (glycosides) จึงอาจช่วยป้องกันโรคมะเร็งได้อย่างไรก็ตามทุกสรรพสิ่งในโลกเมื่อมีประโยชน์ก็ต้องมีโทษหอมแดงก็เช่นกันนะคะหากกินหอมแดงในปริมาณมากเป็นประจำอาจจะทำให้หลงลืมง่ายทำให้รากผมเป็นโรคเรื้อรังผมไม่เจริญงอกงามมีกลิ่นตัวฟันเสียเลือดน้อยตาฝ้ามัวไม่แจ่มใสและหากกินเป็นปริมาณมากเกินอาจจะทำให้ประสาทเสียได้จึงต้องระมัดระวังด้วยค่ะหอมแดงมีสรรพคุณใช้เป็นยาแก้สิวอย่างประหยัดเรื่องของสิวและฝ้าถือว่าเป็นศัตรูกับความงามของผู้หญิงอันดับต้นๆทีเดียวก็เลยทำให้เกิดมีเครื่องสำอางกำจัดสิวฝ้าขายดิบขายดีทีเดียวแต่เราเคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ว่าทำไมคนรุ่นคุณย่าคุณยายถึงได้มีผิวพรรณและหน้าตาผ่องใสโดยไม่ต้องมีเครื่องสำอางอย่างที่คนรุ่นหลังใช้กันแต่อย่างใดก็แสดงว่าต้องมีเครื่องสำอางรักษาผิวอยู่เช่นกันและก็คงเป็นสูตรสมุนไพรที่ได้จากพืชพันธุ์ธรรมชาตินั่นเองเครื่องสำอางที่เป็นสมุนไพรธรรมชาติใช้เป็นตำรับยาแก้สิวและฝ้านั่นก็คือหัวหอมที่ใช้ประกอบในเครื่องแกงนั่นเองหอมแดงมีสรรพคุณในการแก้สิวลบรอยด่างดำและรอยแผลเป็นที่เกิดจากสิวได้ด้วยสำหรับวิธีการก็มีวิธีการที่ง่ายๆคือใช้หอมแดงนำมาทุบหรือฝานให้เป็นแว่นบาง ๆ ใช้ทาบริเวณที่เป็นสิวฝ้าหรือจุดด่างดำเพียงไม่กี่สัปดาห์ก็เห็นผลแล้วละค่ะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
หอม "มีชื่อพื้นบ้านว่าหอมไทยหอมหัวเล็กหอมเล็กหอมแดงและหอมหัวแดงมีชื่อภาษาอังกฤษว่าแชลลอท (หอมแดง) บอยลิ่ง (เดือด) ออนเนียน (หัวหอม) โปเตโต้ออนเนียน (หัวหอมมันฝรั่ง) มัลติพลายเออร์ออนเนียน (หัวหอมคูณ) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าออลเลียมแอสคาลโลนิคุม (Allium ascalonicum L. ) จัดอยู่ในวงศ์ออลเลียซีอี้ (Alliaceae)
"หอม" เป็นพืชเก่าแก่ที่รู้จักกันมานานมีหลายชนิดแตกต่างกันไปตามขนาดสีและกลิ่นหอมหอมที่ใช้ในการทำอาหารมี 2 ชนิดคือหอมหัวใหญ่และหอมหัวเล็กหรือที่เรียกว่าหอมแดงนั่นเองสำหรับหอมแดงมีชื่อ เรียกในท้องถิ่นว่าว่านหอมแดงว่านหมากว่านไก่แดงว่านเข้าว่านเพลาะหอมแดงจัดเป็นไม้ล้มลุกจำพวกหัวมีหัวเหมือนหอมหัวแดง แต่จะมีรูปรีทรงกระสวยใบของหอมแดงจะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนจีบตาม ยาวเหมือนผ้าจีบใบมีความกว้างประมาณ 2-4 เซนติเมตรยาว 20-40 เซนติเมตรดอกหอมแดงมีลักษณะเป็นกลีบสีขาวรูปช้อนปลายแหลม 5 กลีบเกสรมีสีเหลืองออกเป็นช่อ
ประเทศไทยส่งออกหอมแดง มีคุณค่าทางโภชนาการคือประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรตเส้นใยโปรตีนแคลเซียมฟอสฟอรัสเหล็กวิตามินบี 1 วิตามินบี 2 ไนอาซินและวิตามินซี ซึ่งประกอบด้วยไดอัลลินไตรซัลไฟด์ และมีฟลาโวนอยด์กลัยโคไซด์เพคตินและกลูโคคินิน ลดไขมันในเส้นเลือดทำให้เจริญอาหารและช่วยย่อยอาหาร ส่วนที่ใช้ประโยชน์คือหัวลำต้นและใบซึ่งให้สรรพคุณดังต่อไปนี้- หัวมีรสร้อน ลำไส้ รายงานของ Prosea 8 (ผัก) 1996 (หน้า 65) รายงานว่าหอมแดงมีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรคใช้ลดไข้และรักษาแผลได้โดยเอาหัวหอมแดงมาซอยเป็นแว่น ๆ ผสมกับน้ำมันมะพร้าวและเกลือต้มให้เดือดแล้วนำ มาพอกแผลนอกจากนี้หอมแดงยังช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดและยับยั้งเส้นเลือดอุดตันด้วยการบริโภคสดหรือประกอบอาหารหรือบริโภคชนิดผง กรกฎาคม 2539 (หน้า 105) ว่าตำรายาไทยใช้หัวหอมแดงผสมรวมกับเหง้าเปราะหอมสุมหัวเด็กใช้แก้หวัดคัดจมูกและกินเป็นยาขับลมรายงานจากหนังสือผักไทย - ยาไทยมกราคม 2539 (หน้า 1) ว่าหอมแดงขับลมและ แก้หวัดรายงานจากหนังสือสมุนไพรอันดับที่ 01 โครงการศึกษาวิจัยสมุนไพร 2536 (หน้า 205-207) ว่าหัวหอมแดงมีรสฉุนสุขุมทำให้ร่างกายอบอุ่นขับลมแก้ท้องอืดแน่นช่วยย่อยอาหารทำให้เจริญอาหารแก้บวมน้ำฆ่าพยาธิและแก้อาการอักเสบต่างๆเมล็ดหอมแดง อาเจียนเป็นเลือดร่างกายซูบผอมเหลืองโดยใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมต้มน้ำดื่มในหอมแดงมีสารเคอร์ซิติน (quercetin) ฟลาโวนอยด์ (flavonoid) และไกลโคไซด์ (ไกลโคไซด์) เมื่อมีประโยชน์ก็ต้องมีโทษหอมแดงก็เช่นกันนะคะหากกินหอมแดงในปริมาณมากเป็นประจำอาจจะทำให้หลงลืมง่ายทำให้รากผมเป็นโรคเรื้อรังผมไม่เจริญงอกงามมีกลิ่นตัวฟันเสียเลือดน้อยตาฝ้ามัวไม่แจ่มใสและหาก เป็นปริมาณกินมากเกินอาจจะทำให้ประสาทเสียได้จึงคุณต้องระมัดระวังด้วยค่ะหอมแดงมีสรรพคุณใช้เป็นยาแก้สิวอย่างประหยัดเรื่องของสิวและฝ้า ฝ้าขายดิบขายดีทีเดียว ใช้เป็นตำรับยาแก้สิวและฝ้า หอมแดงมีสรรพคุณในการแก้สิวลบรอยด่างดำและรอยแผลเป็นที่เกิดจากสิวได้ด้วย ใช้หอมแดงนำมาทุบหรือฝานให้เป็นแว่นบาง ๆ ใช้ทาบริเวณที่เป็นสิวฝ้าหรือจุดด่างดำ








การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
หอม " มีชื่อพื้นบ้านว่าหอมไทยหอมหัวเล็กหอมเล็กหอมแดงและหอมหัวแดงมีชื่อภาษาอังกฤษว่าแชลลอท ( หอมแดง ) บอยลิ่ง ( เดือด ) ออนเนียน ( หอม ) โปเตโต้ออนเนียน ( มันฝรั่งหัวหอม ( ต้นหอม ) มัลติพลายเออร์ออนเนียนตัวคูณ ) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าแอสคาลโลนิคุม ( ก็อกน้ำร้อน .จัดอยู่ในวงศ์ออลเลียซีอี้ ( เลียซีอี้ )
)" หอม " เป็นพืชเก่าแก่ที่รู้จักกันมานานมีหลายชนิดแตกต่างกันไปตามขนาดสีและกลิ่นหอมหอมที่ใช้ในการทำอาหารมี 2 ชนิดความหอมหัวใหญ่และหอมหัวเล็กหรือที่เรียกว่าหอมแดงนั่นเองสำหรับหอมแดงว่านหอมแดงว่านหมากว่านไก่แดงว่านเข้าว่านเพลาะหอมแดงจัดเป็นไม้ล้มลุกจำพวกหัวมีหัวเหมือนหอมหัวแดงแต่จะมีรูปรีทรงกระสวยใบของหอมแดงจะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนจีบตามยาวเหมือนผ้าจีบใบมีความกว้างประมาณ 2-4ยาว 20-40 เซนติเมตรดอกหอมแดงมีลักษณะเป็นกลีบสีขาวรูปช้อนปลายแหลม 5 กลีบเกสรมีสีเหลืองออกเป็นช่อการขยายพันธุ์หอมแดงทำได้โดยการใช้หัว
หอมแดงเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประเทศไทยส่งออกหอมแดงไปยังประเทศมาเลเซียเป็นจำนวนมาก

" หอม " มีคุณค่าทางโภชนาการคือประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรตเส้นใยโปรตีนแคลเซียมฟอสฟอรัสเหล็กวิตามินบี 1 วิตามินบี 2 ไนอาซินและวิตามินซีในหัวหอมสดจะประกอบไปด้วยน้ำมันหอมระเหยซึ่งประกอบด้วยไดอัลลินไตรซัลไฟด์และมีฟลาโวนอยด์กลัยโคไซด์เพคตินและกลูโคคินินสารเหล่านี้มีคุณสมบัติในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียลดไขมันในเส้นเลือดทำให้เจริญอาหารและช่วยย่อยอาหารนอกจากนี้ในหัวหอมยังมีฟอสฟอรัสในปริมาณที่สูง
สรรพคุณของหอมและวิธีใช้ส่วนที่ใช้ประโยชน์คือหัวลำต้นและใบซึ่งให้สรรพคุณดังต่อไปนี้
- หัวมีรสร้อนจึงมีสรรพคุณใช้ขับลมในกระเพาะอาหารลำไส้หรือจะนำหัวหอมแดงมาตำสุมกระหม่อมเด็กเพื่อใช้แก้หวัดได้เป็นอย่างดี
จากการศึกษารวบรวมรายงานที่เกี่ยวข้องกับหอมแดงพบว่ารายงานของ prosea ไม่8 ( ผัก ) 1996 ( หน้า 65 ) รายงานว่าหอมแดงมีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรคใช้ลดไข้และรักษาแผลได้โดยเอาหัวหอมแดงมาซอยเป็นแว่นๆผสมกับน้ำมันมะพร้าวและเกลือต้มให้เดือดแล้วนำมาพอกแผลนอกจากนี้หอมแดงและยับยั้งเส้นเลือดอุดตันด้วยการบริโภคสดหรือประกอบอาหารหรือบริโภคชนิดผงและจากรายงานจากหนังสือสมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติกรกฎาคม 2539 ( หน้า 105 ) ว่าตำรายาไทยใช้หัวหอมแดงผสมรวมกับเหง้าเปราะหอมสุมหัวเด็กคัดจมูกและกินเป็นยาขับลมรายงานจากหนังสือผักไทย - ยาไทยมกราคม 2539 ( หน้า 1 ) ว่าหอมแดงขับลมและแก้หวัดรายงานจากหนังสือสมุนไพรอันดับที่ 01 โครงการศึกษาวิจัยสมุนไพรโดยคณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2536 ( หน้า) ว่าหัวหอมแดงมีรสฉุนสุขุมทำให้ร่างกายอบอุ่นขับลมแก้ท้องอืดแน่นช่วยย่อยอาหารทำให้เจริญอาหารแก้บวมน้ำฆ่าพยาธิและแก้อาการอักเสบต่างๆเมล็ดหอมแดงใช้กินแก้อาการกินเนื้อสัตว์เป็นพิษอาเจียนเป็นเลือดโดยใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมต้มน้ำดื่มในหอมแดงมีสารเคอร์ซิติน ( quercetin ) ฟลาโวนอยด์ ( ฟลาโวนอยด์ ) และไกลโคไซด์ ( glycosides ) จึงอาจช่วยป้องกันโรคมะเร็งได้
อย่างไรก็ตามทุกสรรพสิ่งในโลกเมื่อมีประโยชน์ก็ต้องมีโทษหอมแดงก็เช่นกันนะคะหากกินหอมแดงในปริมาณมากเป็นประจำอาจจะทำให้หลงลืมง่ายทำให้รากผมเป็นโรคเรื้อรังผมไม่เจริญงอกงามมีกลิ่นตัวฟันเสียเลือดน้อยและหากกินเป็นปริมาณมากเกินอาจจะทำให้ประสาทเสียได้จึงต้องระมัดระวังด้วยค่ะ

หอมแดงมีสรรพคุณใช้เป็นยาแก้สิวอย่างประหยัดเรื่องของสิวและฝ้าถือว่าเป็นศัตรูกับความงามของผู้หญิงอันดับต้นๆทีเดียวก็เลยทำให้เกิดมีเครื่องสำอางกำจัดสิวฝ้าขายดิบขายดีทีเดียวโดยไม่ต้องมีเครื่องสำอางอย่างที่คนรุ่นหลังใช้กันแต่อย่างใดก็แสดงว่าต้องมีเครื่องสำอางรักษาผิวอยู่เช่นกันและก็คงเป็นสูตรสมุนไพรที่ได้จากพืชพันธุ์ธรรมชาตินั่นเองเครื่องสำอางที่เป็นสมุนไพรธรรมชาตินั่นก็คือหัวหอมที่ใช้ประกอบในเครื่องแกงนั่นเองหอมแดงมีสรรพคุณในการแก้สิวลบรอยด่างดำและรอยแผลเป็นที่เกิดจากสิวได้ด้วยสำหรับวิธีการก็มีวิธีการที่ง่ายๆคือใช้หอมแดงนำมาทุบหรือฝานให้เป็นแว่นบางๆฝ้าหรือจุดด่างดำเพียงไม่กี่สัปดาห์ก็เห็นผลแล้วละค่ะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: