ประวัติจังหวัดพัทลุง
จังหวัดพัทลุง มีประวัติความเป็นมายาวนาน ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานจากการค้นพบขวานหินขัดในท้องที่ทั่วไปหลายอำเภอ ในสมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13-14) บริเวณเมืองพัทลุงเป็นแหล่งชุมนุมที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดีย ในด้านพุทธศาสนาลัทธิมหายาน มีหลักฐานค้นพบ เช่น พระพิมพ์ดินดิบจำนวนมาก เป็นรูปพระโพธิสัsตว์รูปเทวดา โดยค้นพบบริเวณถ้ำคูหาสวรรค์และถ้ำเขาอกทะลุ ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 19 เมืองพัทลุง ได้ตั้งขึ้นอย่างมั่นคง ภายใต้การปกครองของกรุงศรีอยุธยามีฐานะเป็นเมืองชั้นตรี ซึ่งนับว่าเป็นหัวเมืองหนึ่งของพระราชอาณาจักรทางใต้ ในสมัยนั้น เมืองพัทลุงมักจะประสบปัญหาการโจมตีจากกลุ่มโจรสลัดมาเลย์อยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโจรสลัดอาแจะอารูและยุยงคตนะ ได้โจมตีเผาทำลายสร้างความเสียหายแก่เมืองพัทลุงถึงสองครั้ง ปัญหาดังกล่าวนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้มีการย้ายสถานที่ตั้งเมืองอยู่เสมอ และก็เป็นมูลเหตุที่ทำให้ชาวเมืองพัทลุงเป็นนักต่อสู้ที่เข้มแข็ง
สภาพทางภูมิศาสตร์
จังหวัดพัทลุง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของภาคใต้ของประเทศไทย ระหว่างละติจูดที่ 7 องศา 6 ลิปดาเหนือ ถึง 7 องศา 53 ลิปดาเหนือ และ ลองติจูดที่ 9 องศา 44 ลิปดาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานครตามเส้นทางสายเอเซีย (ทางหลวงหมายเลข 41) เป็นระยะทางประมาณ 858 กิโลเมตร และ ตามเส้นทางรถไฟระยะทาง ประมาณ 846 กิโลเมตร ความยาวของจังหวัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ประมาณ 78 กิโลเมตร และ ความกว้างจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 53 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 3,424,473 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,140,296 ไร่ (พื้นดิน 1,919,446 ไร่ พื้นน้ำ 220,850 ไร่)
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอควนเนียง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาและอำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ทิศตะวันออก ติดต่อกับทะเลสาบสงขลา ซึ่งเป็นน่านน้ำติดต่อกับอำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทิงพระ และอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเทือกเขาบรรทัด ซึ่งเป็นแนวติดต่อกับอำเภอห้วยยอด อำเภอเมือง อำเภอนาโยง อำเภอย่านตาขาว และอำเภอ ปะเหลียน จังหวัดตรัง
ประวัติจังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง มีประวัติความเป็นมายาวนาน ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานจากการค้นพบขวานหินขัดในท้องที่ทั่วไปหลายอำเภอ ในสมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13-14) บริเวณเมืองพัทลุงเป็นแหล่งชุมนุมที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดีย ในด้านพุทธศาสนาลัทธิมหายาน มีหลักฐานค้นพบ เช่น พระพิมพ์ดินดิบจำนวนมาก เป็นรูปพระโพธิสัsตว์รูปเทวดา โดยค้นพบบริเวณถ้ำคูหาสวรรค์และถ้ำเขาอกทะลุ ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 19 เมืองพัทลุง ได้ตั้งขึ้นอย่างมั่นคง ภายใต้การปกครองของกรุงศรีอยุธยามีฐานะเป็นเมืองชั้นตรี ซึ่งนับว่าเป็นหัวเมืองหนึ่งของพระราชอาณาจักรทางใต้ ในสมัยนั้น เมืองพัทลุงมักจะประสบปัญหาการโจมตีจากกลุ่มโจรสลัดมาเลย์อยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโจรสลัดอาแจะอารูและยุยงคตนะ ได้โจมตีเผาทำลายสร้างความเสียหายแก่เมืองพัทลุงถึงสองครั้ง ปัญหาดังกล่าวนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้มีการย้ายสถานที่ตั้งเมืองอยู่เสมอ และก็เป็นมูลเหตุที่ทำให้ชาวเมืองพัทลุงเป็นนักต่อสู้ที่เข้มแข็งสภาพทางภูมิศาสตร์ จังหวัดพัทลุง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของภาคใต้ของประเทศไทย ระหว่างละติจูดที่ 7 องศา 6 ลิปดาเหนือ ถึง 7 องศา 53 ลิปดาเหนือ และ ลองติจูดที่ 9 องศา 44 ลิปดาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานครตามเส้นทางสายเอเซีย (ทางหลวงหมายเลข 41) เป็นระยะทางประมาณ 858 กิโลเมตร และ ตามเส้นทางรถไฟระยะทาง ประมาณ 846 กิโลเมตร ความยาวของจังหวัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ประมาณ 78 กิโลเมตร และ ความกว้างจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 53 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 3,424,473 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,140,296 ไร่ (พื้นดิน 1,919,446 ไร่ พื้นน้ำ 220,850 ไร่)
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอควนเนียง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาและอำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ทิศตะวันออก ติดต่อกับทะเลสาบสงขลา ซึ่งเป็นน่านน้ำติดต่อกับอำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทิงพระ และอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเทือกเขาบรรทัด ซึ่งเป็นแนวติดต่อกับอำเภอห้วยยอด อำเภอเมือง อำเภอนาโยง อำเภอย่านตาขาว และอำเภอ ปะเหลียน จังหวัดตรัง
การแปล กรุณารอสักครู่..
จังหวัดพัทลุงประวัติจังหวัดพัทลุงมีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ในสมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13-14) ในด้านพุทธศาสนาลัทธิมหายานมีหลักฐานค้นพบเช่นพระพิมพ์ดินดิบจำนวนมากเป็นรูปพระโพธิสั s ตว์รูปเทวดา ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 19 เมืองพัทลุงได้ตั้งขึ้นอย่างมั่นคง ในสมัยนั้น ระหว่างละติจูดที่ 7 องศา 6 ลิปดาเหนือถึง 7 องศา 53 ลิปดาเหนือและลองติจูดที่ 9 องศา 44 ลิปดาตะวันออก (ทางหลวงหมายเลข 41) เป็นระยะทางประมาณ 858 กิโลเมตรและตามเส้นทางรถไฟระยะทางประมาณ 846 กิโลเมตร 78 กิโลเมตรและ ระยะทางประมาณ 53 กิโลเมตรมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 3,424,473 ตารางกิโลเมตรหรือ 2,140,296 ไร่ (พื้นดิน 1,919,446 ไร่พื้นน้ำ 220,850 ไร่) อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับอำเภอชะอวดจังหวัดนครศรีธรรมราช บริษัท และอำเภอระโนดจังหวัดสงขลาทิศใต้ติดต่อกับอำเภอควนเนียงอำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลาอำเภอควนกาหลงและจังหวัดสตูลทิศตะวันออกติดต่อกับทะเลสาบสงขลา กระแสสินอำเภอธุ์อำเภอสทิงพระและอำเภอสิงหนครจังหวัดสงขลาทิศตะวันตกติดต่อกับเทือกเขาบรรทัดซึ่งเป็นแนวติดต่อกับอำเภอห้วยยอดอำเภอเมืองอำเภอนาโยงอำเภอย่านตาขาวและอำเภอปะเหลียนจังหวัดตรัง
การแปล กรุณารอสักครู่..