บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ เรื่องเล่ การแปล - บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ เรื่องเล่ ไทย วิธีการพูด

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ เรื่องเล่าประกอบเต๋าคำในการส่งเสริมความสามารถทางด้านการฟังและพูดในเด็กวัย 5-6 ปี กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยก่อนเรียน อายุ 5-6 ปี โรงเรียนบ้านทุ่งเงิน ตำบลบ้านตูม อำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 12 คน ที่มีพัฒนาการด้านภาษาล่าช้าจากการประเมินด้วยแบบประเมิน Denver II
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้ 1) เรื่องเล่าประกอบเต๋าคำ 2) เต๋าคำ 3) คู่มือการใช้เรื่องเล่าประกอบเต๋าคำ 4) แบบประเมินความสามารถในการพูดและการฟัง 5) แบบประเมินความพึงพอใจของครูและผู้ปกครอง และ 6) แบบทดสอบพัฒนาการ Denver II (Frankenburgetal,1992) ดำเนินการวิจัยโดย 1) ติดต่อประสานงานกับผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมคุณภาพ 2) เก็บข้อมูลประเมินพัฒนาการด้านการฟังและการพูดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบประเมิน Denver II 3) สร้างเครื่องมือในการวิจัย 4) ให้กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เรื่องเล่าประกอบเต๋าคำ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทำ Pre test และ Post test อีก 6 ครั้ง ระยะเวลาห่างกัน 1 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดย 1) หาค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ของข้อมูลจากแบบประเมินความสามารถในการพูดและการฟัง และข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจของครูและผู้ปกครอง 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนน Pre-test กับ Post-test ครั้งที่ 1 ถึง 6 โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (one-way repeated measure ANOVA)
ผลวิจัย พบว่า 1) คะแนนเฉลี่ยรวมความสามารถด้านการฟังและการพูด Pre-test อยู่ในระดับต่ำ (X=2.33, SD=0.77) คะแนนเฉลี่ยรวมความสามารถด้านการฟังและการพูด Post-test ครั้งที่ 1 ถึง 3 อยู่ในระดับปานกลาง (X=2.75,SD=0.77; X=2.94,SD=0.78 และ X=3.49,SD=0.75 ตามลำดับ) และครั้งที่ 4 ถึง 6 อยู่ในระดับสูง (X=3.95,SD=0.58; X=4.23,SD=0.53 และ X=4.39,SD=0.46 ตามลำดับ) ส่วนคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของครูแลผู้ปกครองอยู่ในระดับมาก (X=4.45, SD=0.55) 2) ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยความสามรถด้านการฟังและการพูด ก่อน และหลังการพัฒนาความสามารถ 6 ครั้ง พบว่า คะแนนความสามารถด้านการฟังและการพูด มีอย่างน้อย 1 คู่ ที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ .01
ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ การจัดการส่งเสริมความสามารถด้านการฟังและพูดในเด็กวัย 5-6 ปี ควรใช้รูปแบบที่หลากหลายครอบคลุมทักษะด้านการอ่านและการเขียน เป็นแนวทางให้ครูและผู้ปกครองนำกิจกรรมไปพิจารณาเพื่อปรับใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการ สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบในการเลือกด้านของเต๋าคำให้เหมาะสมตามความพึงพอใจของผู้เล่น ใช้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการเล่นเพื่อให้เด็กเกิดความสนุกสนาน ควบคู่ไปกับการได้ฝึกพัฒนาการ นำไปจัดกิจกรรมเป็นกลุ่มเพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะทางสังคมและการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นหลังจากทำกิจกรรมควรให้เด็กช่วยเก็บอุปกรณ์เพื่อให้เด็กฝึกความรับผิดชอบและฝึกความมีระเบียบวินัยในตนเอง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เรื่องเล่าประกอบเต๋าคำในการส่งเสริมความสามารถทางด้านการฟังและพูดในเด็กวัย 5-6 ปีกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยก่อนเรียนอายุ 5-6 ปีโรงเรียนบ้านทุ่งเงินตำบลบ้านตูมอำเภอนาจะหลวยจังหวัดอุบลราชธานีจานวน 12 คนที่มีพัฒนาการด้านภาษาล่าช้าจากการประเมินด้วยแบบประเมิน Denver II 5 แบบประเมินความสามารถในการพูดและการฟัง 4 คู่มือการใช้เรื่องเล่าประกอบเต๋าคำ 3 เต๋าคำเรื่องเล่าประกอบเต๋าคำเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มีดังนี้ 1) 2)))) แบบประเมินความพึงพอใจของครูและผู้ปกครองและ 6) แบบทดสอบพัฒนาการ Denver II (Frankenburgetal, 1992) ดำเนินการวิจัยโดย 1) ติดต่อประสานงานกับผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมคุณภาพ 2) เก็บข้อมูลประเมินพัฒนาการด้านการฟังและการพูดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบประเมิน Denver II 3) สร้างเครื่องมือในการวิจัย 4 ให้กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เรื่องเล่าประกอบเต๋าคำเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทำก่อนทดสอบและบททดสอบอีก 6 ครั้งระยะเวลาห่างกัน 1 สัปดาห์วิเคราะห์ข้อมูลโดย 1) หาค่าเฉลี่ย (ค่าเฉลี่ย) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ของข้อมูลจากแบบประเมินความสามารถในการพูดและการฟังและข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจของครูและผู้ปกครอง 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนทดสอบก่อนดื่มด่ำครั้งที่ทดสอบหลัง 1 ถึง 6 โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (ทางเดียวซ้ำวัดการวิเคราะห์ความแปรปรวน)อยู่ในระดับต่ำการทดสอบก่อนคะแนนเฉลี่ยรวมความสามารถด้านการฟังและการพูดผลวิจัยพบว่า 1) (X = 2.33, SD = 0.77) อยู่ในระดับปานกลางคะแนนเฉลี่ยรวมความสามารถด้านการฟังและการพูดครั้งที่ทดสอบหลัง 1 ถึง 3 (X = 2.75, SD = 0.77 X = 2.94, SD = 0.78 และ X = 3.49, SD = 0.75 ตามลำดับ) อยู่ในระดับสูงและครั้งที่ 4 ถึง 6 (X = 3.95, SD = 0.58 X = 4.23, SD = 0.53 และ X = 4.39, SD = 0.46 ตามลำดับ) ส่วนคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของครูแลผู้ปกครองอยู่ในระดับมาก (X = 4.45, SD =เพิ่ม) 2) ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยความสามรถด้านการฟังและการพูดก่อนและหลังการพัฒนาความสามารถ 6 ครั้งพบว่าคะแนนความสามารถด้านการฟังและการพูดมีอย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่.01 ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ การจัดการส่งเสริมความสามารถด้านการฟังและพูดในเด็กวัย 5-6 ปี ควรใช้รูปแบบที่หลากหลายครอบคลุมทักษะด้านการอ่านและการเขียน เป็นแนวทางให้ครูและผู้ปกครองนำกิจกรรมไปพิจารณาเพื่อปรับใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการ สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบในการเลือกด้านของเต๋าคำให้เหมาะสมตามความพึงพอใจของผู้เล่น ใช้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการเล่นเพื่อให้เด็กเกิดความสนุกสนาน ควบคู่ไปกับการได้ฝึกพัฒนาการ นำไปจัดกิจกรรมเป็นกลุ่มเพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะทางสังคมและการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นหลังจากทำกิจกรรมควรให้เด็กช่วยเก็บอุปกรณ์เพื่อให้เด็กฝึกความรับผิดชอบและฝึกความมีระเบียบวินัยในตนเอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
5-6 ปีกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยก่อนเรียนอายุ 5-6 ปีโรงเรียนบ้านทุ่งเงินตำบลบ้านตูมอำเภอนาจะหลวยจังหวัดอุบลราชธานีจานวน 12 คน เดนเวอร์ มีดังนี้ 1) เรื่องเล่าประกอบเต๋าคำ 2) เต๋าคำ 3) 4) 5) และ 6) แบบทดสอบพัฒนาการเดนเวอร์ II (Frankenburgetal, 1992) ดำเนินการวิจัยโดย 1) 2) เดนเวอร์ครั้งที่ 3) สร้างเครื่องมือในการวิจัย 4) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทำก่อนการทดสอบและการทดสอบโพสต์อีก 6 ครั้งระยะเวลาห่างกัน 1 สัปดาห์วิเคราะห์ข้อมูลโดย 1) หาค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนการทดสอบ Pre-กับโพสต์การทดสอบครั้งที่ 1 ถึง 6 (ทางเดียวซ้ำวัด ANOVA) ผลวิจัยพบว่า 1) ก่อนการทดสอบอยู่ในระดับต่ำ (X = 2.33, SD = 0.77) หลังการทดสอบครั้งที่ 1 ถึง 3 อยู่ในระดับปานกลาง (X = 2.75, SD = 0.77; X = 2.94, SD = 0.78 และ X = 3.49, SD = 0.75 ตามลำดับ) และครั้งที่ 4 ถึง 6 อยู่ในระดับสูง ( X = 3.95, SD = 0.58; X = 4.23, SD = 0.53 และ X = 4.39, SD = 0.46 ตามลำดับ) (X = 4.45, SD = 0.55) 2) ก่อนและหลังการพัฒนาความสามารถ 6 ครั้งพบว่า มีอย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่. 01 ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ 5-6 ปี ควบคู่ไปกับการได้ฝึกพัฒนาการ




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?You can put your arm on the bed?
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: