งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาความต้องการตลาดที่มีศักยภาพเรื่องการท่องเที่ยว การแปล - งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาความต้องการตลาดที่มีศักยภาพเรื่องการท่องเที่ยว ไทย วิธีการพูด

งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาความต้องการ

งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาความต้องการตลาดที่มีศักยภาพเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชนในประเทศไทยและอาเซียน” ในชุดแผนงาน แนวทางการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวโดยชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ทางการแข่งขันของการท่องเที่ยวโดยชุมชนในกลุ่มประเทศอาเซียน ความต้องการของตลาดเป้าหมายที่สนใจการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อค้นหาแนวทางในการพัฒนาชุมชนให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของตลาด รวมทั้งการค้นหาแนวทางการเข้าถึงตลาดที่เหมาะสมและความร่วมมือทางด้านตลาดสำหรับการท่องเที่ยวโดยชุมชนในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เป็นงานวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยหลักการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางการท่องเที่ยว ผ่านกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ การประชุมกลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์เชิงลึก ควบคู่กับการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณด้วยการใช้เครื่องมือแบบสอบถามเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศที่เดินทางเข้าไปท่องเที่ยวในชุมชนท่องเที่ยว CBT และผู้แทนชุมชนท่องเที่ยว จำนวน 200 ชุด ผลการศึกษาพบว่า สถานการณ์การแข่งขันยังอยู่ในระดับต่ำ เนื่องจากความแตกต่างด้านระยะเวลาการดำเนินงานและรูปแบบการสนับสนุนจากภาครัฐหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องของแต่ละประเทศ นอกจากนี้ชุมชนท่องเที่ยว CBT แต่ละแห่งยังคงเผชิญกับปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขเพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาด้านการทำตลาด เมื่อพิจารณาเฉพาะประเทศไทย สรุปได้ว่านักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายของชุมชนท่องเที่ยว CBT ในปัจจุบันมีจำนวนอยู่ระหว่าง 100,000 – 105,000 คน นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้สามารถสร้างรายได้ชุมชนท่องเที่ยวได้ปีละประมาณ 29 ถึง 33 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาย เป็นกลุ่มข้าราชการและนักศึกษา มีระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนตั้งแต่ 15,000 – 30,000 บาท ทราบข้อมูลการท่องเที่ยวจากเว็บไซด์ กิจกรรมที่ชื่นชอบได้แก่ การวาดรูป เล่นดนตรี ชื่นชอบการถ่ายรูป และทานอาหารนอกบ้าน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องสัมพันธ์กับกลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายที่ชุมชนท่องเที่ยว CBT ต้องการคือ นักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบพบปะผู้คน ชื่นชมวิถีชีวิตผู้คนในท้องถิ่น ชอบการรับประทานอาหารพื้นถิ่น ต้องการศึกษาเรียนรู้ภาษาท้องถิ่น รวมทั้งเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบชีวิตอิสระ เรียบง่าย ชอบสถานที่ท่องเที่ยวที่เงียบสงบ มีบรรยากาศธรรมชาติที่อบอุ่น ในส่วนของแนวทางเพื่อเข้าถึงตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ สิ่งสำคัญที่สุดคือ การค้นหาความโดดเด่น เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ (Sense of Place) ที่เป็นลักษณะเฉพาะของชุมชนเพื่อสร้างความประทับใจในประสบการณ์พิเศษที่นักท่องเที่ยวจะได้รับ ควบคู่ไปกับเลือกช่องการสื่อสาร คัดสรรเครื่องมือหรือสื่อที่สามารถส่งสารไปยังนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง ตรงประเด็น รวดเร็ว สามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดความต้องการเดินทางท่องเที่ยว และเป็นสื่อที่ชุมชนสามารถบริหารจัดการเองได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาความต้องการตลาดที่มีศักยภาพเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชนในประเทศไทยและอาเซียน” ในชุดแผนงาน แนวทางการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวโดยชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ทางการแข่งขันของการท่องเที่ยวโดยชุมชนในกลุ่มประเทศอาเซียน ความต้องการของตลาดเป้าหมายที่สนใจการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อค้นหาแนวทางในการพัฒนาชุมชนให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของตลาด รวมทั้งการค้นหาแนวทางการเข้าถึงตลาดที่เหมาะสมและความร่วมมือทางด้านตลาดสำหรับการท่องเที่ยวโดยชุมชนในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เป็นงานวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยหลักการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางการท่องเที่ยว ผ่านกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ การประชุมกลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์เชิงลึก ควบคู่กับการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณด้วยการใช้เครื่องมือแบบสอบถามเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศที่เดินทางเข้าไปท่องเที่ยวในชุมชนท่องเที่ยว CBT และผู้แทนชุมชนท่องเที่ยว จำนวน 200 ชุด ผลการศึกษาพบว่า สถานการณ์การแข่งขันยังอยู่ในระดับต่ำ เนื่องจากความแตกต่างด้านระยะเวลาการดำเนินงานและรูปแบบการสนับสนุนจากภาครัฐหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องของแต่ละประเทศ นอกจากนี้ชุมชนท่องเที่ยว CBT แต่ละแห่งยังคงเผชิญกับปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขเพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาด้านการทำตลาด เมื่อพิจารณาเฉพาะประเทศไทย สรุปได้ว่านักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายของชุมชนท่องเที่ยว CBT ในปัจจุบันมีจำนวนอยู่ระหว่าง 100,000 – 105,000 คน นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้สามารถสร้างรายได้ชุมชนท่องเที่ยวได้ปีละประมาณ 29 ถึง 33 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาย เป็นกลุ่มข้าราชการและนักศึกษา มีระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนตั้งแต่ 15,000 – 30,000 บาท ทราบข้อมูลการท่องเที่ยวจากเว็บไซด์ กิจกรรมที่ชื่นชอบได้แก่ การวาดรูป เล่นดนตรี ชื่นชอบการถ่ายรูป และทานอาหารนอกบ้าน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องสัมพันธ์กับกลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายที่ชุมชนท่องเที่ยว CBT ต้องการคือ นักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบพบปะผู้คน ชื่นชมวิถีชีวิตผู้คนในท้องถิ่น ชอบการรับประทานอาหารพื้นถิ่น ต้องการศึกษาเรียนรู้ภาษาท้องถิ่น รวมทั้งเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบชีวิตอิสระ เรียบง่าย ชอบสถานที่ท่องเที่ยวที่เงียบสงบ มีบรรยากาศธรรมชาติที่อบอุ่น ในส่วนของแนวทางเพื่อเข้าถึงตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ สิ่งสำคัญที่สุดคือ การค้นหาความโดดเด่น เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ (Sense of Place) ที่เป็นลักษณะเฉพาะของชุมชนเพื่อสร้างความประทับใจในประสบการณ์พิเศษที่นักท่องเที่ยวจะได้รับ ควบคู่ไปกับเลือกช่องการสื่อสาร คัดสรรเครื่องมือหรือสื่อที่สามารถส่งสารไปยังนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง ตรงประเด็น รวดเร็ว สามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดความต้องการเดินทางท่องเที่ยว และเป็นสื่อที่ชุมชนสามารถบริหารจัดการเองได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
งานวิจัยเรื่อง ในชุดแผนงาน เป็นงานวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed วิธีวิจัย) ผู้ประกอบการ การประชุมกลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์เชิงลึก CBT และผู้แทนชุมชนท่องเที่ยวจำนวน 200 ชุดผลการศึกษาพบว่า นอกจากนี้ชุมชนท่องเที่ยว CBT เมื่อพิจารณาเฉพาะประเทศไทย CBT ในปัจจุบันมีจำนวนอยู่ระหว่าง 100,000 - 105,000 คน 29 ถึง 33 ล้านบาทส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชายเป็นกลุ่มข้าราชการและนักศึกษา 15,000 - 30,000 บาท กิจกรรมที่ชื่นชอบ ได้แก่ การวาดรูปเล่นดนตรีชื่นชอบการถ่ายรูปและทานอาหารนอกบ้าน CBT ต้องการคือนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบพบปะผู้คนชื่นชมวิถีชีวิตผู้คนในท้องถิ่นชอบการรับประทานอาหารพื้นถิ่นต้องการศึกษาเรียนรู้ภาษาท้องถิ่น เรียบง่ายชอบสถานที่ท่องเที่ยวที่เงียบสงบมีบรรยากาศธรรมชาติที่อบอุ่น สิ่งสำคัญที่สุดคือการค้นหาความโดดเด่นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ (ความรู้สึกของสถ​​านที่) ควบคู่ไปกับเลือกช่องการสื่อสาร ตรงประเด็นรวดเร็ว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
งานวิจัยเรื่อง " การศึกษาความต้องการตลาดที่มีศักยภาพเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชนในประเทศไทยและอาเซียน " ในชุดแผนงานแนวทางการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวโดยชุมชนความต้องการของตลาดเป้าหมายที่สนใจการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อค้นหาแนวทางในการพัฒนาชุมชนให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของตลาดเป็นงานวิจัยแบบผสมผสาน ( วิธีวิจัยแบบผสม ) ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยหลักการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนท่องเที่ยวผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางการท่องเที่ยวการประชุมกลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์เชิงลึกการท่องเที่ยวและผู้แทนชุมชนท่องเที่ยวจำนวน 200 ชุดผลการศึกษาพบว่าสถานการณ์การแข่งขันยังอยู่ในระดับต่ำนอกจากนี้ชุมชนท่องเที่ยว CBT แต่ละแห่งยังคงเผชิญกับปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขเพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาด้านการทำตลาดเมื่อพิจารณาเฉพาะประเทศไทยการท่องเที่ยวในปัจจุบันมีจำนวนอยู่ระหว่าง 100000 –จากคนนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้สามารถสร้างรายได้ชุมชนท่องเที่ยวได้ปีละประมาณ 29 ถึง 33 ล้านบาทส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชายเป็นกลุ่มข้าราชการและนักศึกษามีระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนตั้งแต่ 15 , 000 - 30000 บาททราบข้อมูลการท่องเที่ยวจากเว็บไซด์กิจกรรมที่ชื่นชอบได้แก่การวาดรูปเล่นดนตรีชื่นชอบการถ่ายรูปและทานอาหารนอกบ้านการท่องเที่ยวต้องการคือนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบพบปะผู้คนชื่นชมวิถีชีวิตผู้คนในท้องถิ่นชอบการรับประทานอาหารพื้นถิ่นต้องการศึกษาเรียนรู้ภาษาท้องถิ่นรวมทั้งเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบชีวิตอิสระเรียบง่ายมีบรรยากาศธรรมชาติที่อบอุ่นในส่วนของแนวทางเพื่อเข้าถึงตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้สิ่งสำคัญที่สุดคือการค้นหาความโดดเด่นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ ( ความหมาย )ควบคู่ไปกับเลือกช่องการสื่อสารคัดสรรเครื่องมือหรือสื่อที่สามารถส่งสารไปยังนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้องตรงประเด็นรวดเร็วสามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดความต้องการเดินทางท่องเที่ยว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: