ยากที่จะปฏิเสธว่าปัจจุบันนี้น้ำชาเขียวได้แพร่หลายไปทั่วทุกหย่อมหญ้าของ การแปล - ยากที่จะปฏิเสธว่าปัจจุบันนี้น้ำชาเขียวได้แพร่หลายไปทั่วทุกหย่อมหญ้าของ ไทย วิธีการพูด

ยากที่จะปฏิเสธว่าปัจจุบันนี้น้ำชาเข

ยากที่จะปฏิเสธว่าปัจจุบันนี้น้ำชาเขียวได้แพร่หลายไปทั่วทุกหย่อมหญ้าของประเทศไทยเสียแล้ว และไม่มีใครที่ไม่เคยลิ้มลองมัน ไม่ว่าชาเขียวจากญี่ปุ่นแท้ๆหรือแค่ชาที่ดังเพราะการโปรโมท แม้ว่าชาเขียวจะดังในบ้านเรามากขนาดนี้แต่มีคนส่วนน้อยมากที่จะเคยลองชิมชาเขียวต้นตำหรับญี่ปุ่นแท้ๆ และน้อยคนลงไปอีกที่จะรู้จักประวัติความเป็นมาของมัน
วันนี้ทาง anngle จึงนำประวัติคร่าวๆของชาเขียวมาให้อ่านกัน
สมัยก่อนมีพระรูปหนึ่งชื่อเอไซ (えいさい: Eisai) ซึ่งเป็นคนนำชาเข้ามาจากประเทศจีน สมัยนั้นจะมีแต่พระเท่านั้นที่นิยมดื่มกันจนพระเอไซนำไปมอบให้โชกุนได้ลองชิม จึงทำให้ชามีชื่อเสียงโด่งดังและแพร่หลายไปถึงในวัง จนมีการนำไปปลูกนอกเมืองเกียวโต (ขณะนั้นเมืองหลวงคือเกียวโต)
สำหรับชนชั้นสูงสมัยนั้นจะนิยมดื่มชากันในงานเลี้ยงสังสรรค์ โดยมีการดื่มชาก่อนอาหารหลัก และเมื่อรับประทานอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะมีการเล่นเกมทายชา (ให้ชิมน้ำชาและทายว่าเป็นชาอะไร) จนได้มีการพัฒนาไปเป็นพิธีชงชาสำหรับคนรักการดื่มชา ซึ่งพิธีชงชาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ วาบิชะ (wabicha : わび茶) เป็นพิธีชงชาแบบเรียบง่ายทั้งพิธีและสถานที่ ก่อตั้งโดยพระจากนิกายเซนชื่อว่าทาเกะโนโจโอ (Takeno Jouou : 武野 紹鴎) ต่อมาได้ถูกพระเซนโนะริคิว (Senno Rikyu : 千利休) พัฒนาจนเป็นพิธีแบบในปัจจุบัน ทั้งวางรูปแบบและกำหนดวิธีการชงชาต่างๆยึดหลักที่ว่าต้องเรียบง่ายและจริงใจระหว่างทำพิธี
มีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าบ้านและแขกผู้มาเยือนว่า 一期一会 (いちごいちえ:Ichigo ichie) ถือเสมือนว่าทั้งสองเจอกันแค่ครั้งเดียว ต้องให้เกียรติกันและทำให้ดีที่สุด
สำนักที่สืบทอดพิธีชงชาแบบวาบิชะนั้นชื่อว่าอุระเซงเคะ (Urasenke : 裏千家) ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น 茶の湯 (Chanoyu) และปัจจุบันคือ 茶道 (Chado)
ส่วนชาที่ชงในพิธีนั้นมีอยู่ 2 แบบ คือ
濃茶 (Koicha) ต้องชงในภาชนะใหญ่ดื่มกันได้หลายคน จึงต้องชงให้มีรสชาติเข้มข้น
薄茶 (Usucha) เป็นการชงในถ้วยเล็กๆเพื่อดื่มคนเดียว ใช้กันทั่วๆไปและสามารถพบเห็นได้ในปัจจุบัน เมื่อก่อนเสิร์ฟกับขนมแห้ง (Higashi) แต่ปัจจุบันเสิร์ฟกับขนมสด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ยากที่จะปฏิเสธว่าปัจจุบันนี้น้ำชาเขียวได้แพร่หลายไปทั่วทุกหย่อมหญ้าของประเทศไทยเสียแล้วและไม่มีใครที่ไม่เคยลิ้มลองมันไม่ว่าชาเขียวจากญี่ปุ่นแท้ๆหรือแค่ชาที่ดังเพราะการโปรโมทแม้ว่าชาเขียวจะดังในบ้านเรามากขนาดนี้แต่มีคนส่วนน้อยมากที่จะเคยลองชิมชาเขียวต้นตำหรับญี่ปุ่นแท้ ๆ และน้อยคนลงไปอีกที่จะรู้จักประวัติความเป็นมาของมันวันนี้ทาง anngle จึงนำประวัติคร่าวๆของชาเขียวมาให้อ่านกันสมัยก่อนมีพระรูปหนึ่งชื่อเอไซ (えいさい: Eisai) ซึ่งเป็นคนนำชาเข้ามาจากประเทศจีนสมัยนั้นจะมีแต่พระเท่านั้นที่นิยมดื่มกันจนพระเอไซนำไปมอบให้โชกุนได้ลองชิมจึงทำให้ชามีชื่อเสียงโด่งดังและแพร่หลายไปถึงในวังจนมีการนำไปปลูกนอกเมืองเกียวโต (ขณะนั้นเมืองหลวงคือเกียวโต)สำหรับชนชั้นสูงสมัยนั้นจะนิยมดื่มชากันในงานเลี้ยงสังสรรค์โดยมีการดื่มชาก่อนอาหารหลักและเมื่อรับประทานอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะมีการเล่นเกมทายชา (ให้ชิมน้ำชาและทายว่าเป็นชาอะไร) จนได้มีการพัฒนาไปเป็นพิธีชงชาสำหรับคนรักการดื่มชาซึ่งพิธีชงชาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือวาบิชะ (wabicha: わび茶) เป็นพิธีชงชาแบบเรียบง่ายทั้งพิธีและสถานที่ก่อตั้งโดยพระจากนิกายเซนชื่อว่าทาเกะโนโจโอ (Takeno Jouou: 武野紹鴎) ต่อมาได้ถูกพระเซนโนะริคิว (Senno Rikyu: 千利休) พัฒนาจนเป็นพิธีแบบในปัจจุบันทั้งวางรูปแบบและกำหนดวิธีการชงชาต่างๆยึดหลักที่ว่าต้องเรียบง่ายและจริงใจระหว่างทำพิธีมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าบ้านและแขกผู้มาเยือนว่า一期一会 (いちごいちえ:Ichigo ichie) ถือเสมือนว่าทั้งสองเจอกันแค่ครั้งเดียวต้องให้เกียรติกันและทำให้ดีที่สุดสำนักที่สืบทอดพิธีชงชาแบบวาบิชะนั้นชื่อว่าอุระเซงเคะ (Urasenke: 裏千家) ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น茶道และปัจจุบันคือ茶の湯 (Chanoyu) (Chado)ส่วนชาที่ชงในพิธีนั้นมีอยู่ 2 คำประกอบคือ濃茶 (Koicha) ต้องชงในภาชนะใหญ่ดื่มกันได้หลายคนจึงต้องชงให้มีรสชาติเข้มข้นแต่ปัจจุบันเสิร์ฟกับขนมสด薄茶 (Usucha) เป็นการชงในถ้วยเล็กๆเพื่อดื่มคนเดียวใช้กันทั่วๆไปและสามารถพบเห็นได้ในปัจจุบันเมื่อก่อนเสิร์ฟกับขนมแห้ง (ฮิกาชิ)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ยากที่จะปฏิเสธว่าปัจจุบันนี้น้ำชาเขียวได้แพร่หลายไปทั่วทุกหย่อมหญ้าของประเทศไทยเสียแล้ว และไม่มีใครที่ไม่เคยลิ้มลองมัน ไม่ว่าชาเขียวจากญี่ปุ่นแท้ๆหรือแค่ชาที่ดังเพราะการโปรโมท แม้ว่าชาเขียวจะดังในบ้านเรามากขนาดนี้แต่มีคนส่วนน้อยมากที่จะเคยลองชิมชาเขียวต้นตำหรับญี่ปุ่นแท้ๆ และน้อยคนลงไปอีกที่จะรู้จักประวัติความเป็นมาของมัน
วันนี้ทาง anngle จึงนำประวัติคร่าวๆของชาเขียวมาให้อ่านกัน
สมัยก่อนมีพระรูปหนึ่งชื่อเอไซ (えいさい: Eisai) ซึ่งเป็นคนนำชาเข้ามาจากประเทศจีน สมัยนั้นจะมีแต่พระเท่านั้นที่นิยมดื่มกันจนพระเอไซนำไปมอบให้โชกุนได้ลองชิม จึงทำให้ชามีชื่อเสียงโด่งดังและแพร่หลายไปถึงในวัง จนมีการนำไปปลูกนอกเมืองเกียวโต (ขณะนั้นเมืองหลวงคือเกียวโต)
สำหรับชนชั้นสูงสมัยนั้นจะนิยมดื่มชากันในงานเลี้ยงสังสรรค์ โดยมีการดื่มชาก่อนอาหารหลัก และเมื่อรับประทานอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะมีการเล่นเกมทายชา (ให้ชิมน้ำชาและทายว่าเป็นชาอะไร) จนได้มีการพัฒนาไปเป็นพิธีชงชาสำหรับคนรักการดื่มชา ซึ่งพิธีชงชาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ วาบิชะ (wabicha : わび茶) เป็นพิธีชงชาแบบเรียบง่ายทั้งพิธีและสถานที่ ก่อตั้งโดยพระจากนิกายเซนชื่อว่าทาเกะโนโจโอ (Takeno Jouou : 武野 紹鴎) ต่อมาได้ถูกพระเซนโนะริคิว (Senno Rikyu : 千利休) พัฒนาจนเป็นพิธีแบบในปัจจุบัน ทั้งวางรูปแบบและกำหนดวิธีการชงชาต่างๆยึดหลักที่ว่าต้องเรียบง่ายและจริงใจระหว่างทำพิธี
มีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าบ้านและแขกผู้มาเยือนว่า 一期一会 (いちごいちえ:Ichigo ichie) ถือเสมือนว่าทั้งสองเจอกันแค่ครั้งเดียว ต้องให้เกียรติกันและทำให้ดีที่สุด
สำนักที่สืบทอดพิธีชงชาแบบวาบิชะนั้นชื่อว่าอุระเซงเคะ (Urasenke : 裏千家) ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น 茶の湯 (Chanoyu) และปัจจุบันคือ 茶道 (Chado)
ส่วนชาที่ชงในพิธีนั้นมีอยู่ 2 แบบ คือ
濃茶 (Koicha) ต้องชงในภาชนะใหญ่ดื่มกันได้หลายคน จึงต้องชงให้มีรสชาติเข้มข้น
薄茶 (Usucha) เป็นการชงในถ้วยเล็กๆเพื่อดื่มคนเดียว ใช้กันทั่วๆไปและสามารถพบเห็นได้ในปัจจุบัน เมื่อก่อนเสิร์ฟกับขนมแห้ง (Higashi) แต่ปัจจุบันเสิร์ฟกับขนมสด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ยากที่จะปฏิเสธว่าปัจจุบันนี้น้ำชาเขียวได้แพร่หลายไปทั่วทุกหย่อมหญ้าของประเทศไทยเสียแล้วและไม่มีใครที่ไม่เคยลิ้มลองมันไม่ว่าชาเขียวจากญี่ปุ่นแท้ๆหรือแค่ชาที่ดังเพราะการโปรโมทและน้อยคนลงไปอีกที่จะรู้จักประวัติความเป็นมาของมัน
วันนี้ทาง anngle จึงนำประวัติคร่าวๆของชาเขียวมาให้อ่านกัน
สมัยก่อนมีพระรูปหนึ่งชื่อเอไซ ( えいさい :ไซ ) ซึ่งเป็นคนนำชาเข้ามาจากประเทศจีนสมัยนั้นจะมีแต่พระเท่านั้นที่นิยมดื่มกันจนพระเอไซนำไปมอบให้โชกุนได้ลองชิมจึงทำให้ชามีชื่อเสียงโด่งดังและแพร่หลายไปถึงในวังจนมีการนำไปปลูกนอกเมืองเกียวโตสำหรับชนชั้นสูงสมัยนั้นจะนิยมดื่มชากันในงานเลี้ยงสังสรรค์โดยมีการดื่มชาก่อนอาหารหลักและเมื่อรับประทานอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะมีการเล่นเกมทายชา ( ให้ชิมน้ำชาและทายว่าเป็นชาอะไร )ซึ่งพิธีชงชาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือวาบิชะ ( วาบิชะ :わび茶 ) เป็นพิธีชงชาแบบเรียบง่ายทั้งพิธีและสถานที่ก่อตั้งโดยพระจากนิกายเซนชื่อว่าทาเกะโนโจโอ ( takeno jouou : 武野紹鴎 ) ต่อมาได้ถูกพระเซนโนะริคิว ( senno ริคุ :千利休 ) พัฒนาจนเป็นพิธีแบบในปัจจุบันทั้งวางรูปแบบและกำหนดวิธีการชงชาต่างๆยึดหลักที่ว่าต้องเรียบง่ายและจริงใจระหว่างทำพิธี
มีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าบ้านและแขกผู้มาเยือนว่า一期一会 ( いちごいちえ :อิจิโกะ ichie ) ถือเสมือนว่าทั้งสองเจอกันแค่ครั้งเดียวต้องให้เกียรติกันและทำให้ดีที่สุด
สำนักที่สืบทอดพิธีชงชาแบบวาบิชะนั้นชื่อว่าอุระเซงเคะ ( urasenke :裏千家 ) ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น茶の湯 ( ชาโนยุ ) และปัจจุบันคือ茶道 ( ชาโดะ )

ส่วนชาที่ชงในพิธีนั้นมีอยู่ 2 แบบความ濃茶 ( koicha ) ต้องชงในภาชนะใหญ่ดื่มกันได้หลายคนจึงต้องชงให้มีรสชาติเข้มข้น
薄茶 ( usucha ) เป็นการชงในถ้วยเล็กๆเพื่อดื่มคนเดียวใช้กันทั่วๆไปและสามารถพบเห็นได้ในปัจจุบันเมื่อก่อนเสิร์ฟกับขนมแห้ง ( ฮิงาชิ ) แต่ปัจจุบันเสิร์ฟกับขนมสด
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: