วัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำวัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำไม่ว่าจะเป็น การแปล - วัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำวัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำไม่ว่าจะเป็น ไทย วิธีการพูด

วัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำวัฒนธร

วัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำ
วัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำ
ไม่ว่าจะเป็นประเทศไหนก็จะต้องมีวัฒนธรรมหรือสิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาอยู่แล้ว แล้วสงสัยกันไหมว่า ถ้าอย่างนั้นชาวเกาหลีเขามีวัฒนธรรมอะไรที่ทำและไม่ทำกันบ้าง ลองมาดูกันดีกว่า
1. การทักทาย
คนเกาหลีทำ : การกล่าวคำทักทายและคำขอบคุณนั้น คนเกาหลีจะต้องก้มศีรษะคำนับเสมอ ส่วนการโค้งต่ำระดับไหนนั้น จะขึ้นอยู่กับความอาวุโสของอีกฝ่ายนั่นเองคนเกาหลีไม่ทำ : การกล่าวทักทายด้วยการโอบกอดในที่สาธารณะ ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำกับคนที่เพิ่งเจอกันเป็นครั้งแรกหรือไม่ได้สนิทสนมกันพอสมควร นอกเสียจากเป็นการกอดเพื่อการล่ำลาสำหรับในเรื่องของการทักทายของคนเกาหลีก็จะมีวัฒนธรรมที่มีความคล้ายคลึงกันกับคนไทยอยู่มาก จะแตกต่างกันตรงที่คนเกาหลีจะก้มศีรษะ แต่บ้านเราจะเป็นการไหว้ แต่ปัจจุบันวัฒนธรรมของประเทศตะวันตกก็เข้ามามีบทบาทมากขึ้น การทักทายด้วยการกอดหรือการจับมือ จึงได้รับความนิยมมากขึ้น ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับความสนิทสนมระหว่างบุคคล แต่ถ้าพบกับผู้ใหญ่ก็ยังคงวัฒนธรรมการทำความเคารพไว้เสมอ
2. การเรียกผู้อื่น
คนเกาหลีทำ : การเรียกคนที่ไม่รู้จักกัน หรือไม่รู้จักชื่อ จะใช้คำพูดที่เป็นการเกริ่นนำขึ้นมาก่อนไม่ได้มีคำเรียกบุคคลนั้นตายตัว เช่น ขอโทษนะคะ,ไม่ทราบว่า แต่บอาจจะใช้คำสรรพนามที่สามารถ ใช้เรียกได้เลย เช่น 아저씨 (อาจอชี) ซึ่งแปลว่า คุณลุง หรือ 아줌마 (อาจุมม่า) ซึ่งแปลว่า คุณป้า การเรียกคนที่มีอายุมากกว่า จะไม่เรียกชื่อเขา แต่จะใช้สรรพนามให้เหมาะสมกับเขาคนนั้น แต่ถ้าเรียกคนที่มีอายุน้อยกว่า หรือเป็นเพื่อนรุ่นเดียวกัน สามารถเรียกชื่อได้ หรืออาจใช้สรรพนามแทนก็ได้เช่นกัน
การเรียกผู้อาวุโสอาจเติมคำว่า 님 (นิม : เป็นคำต่อท้ายที่แสดงถึงความเคารพหรือหมายถึงการให้เกียรติ หรือผู้ที่น่ายกย่อง) ต่อท้ายตำแหน่งหน้าที่การงานของบุคคลนั้น เช่น ครู,อาจารย์ (선생님 อ่านว่า ซอนแซงนิม) หรือเติมคำว่า “คุณ” (씨 อ่านว่า ชี) ต่อท้ายชื่อเต็มของเพื่อนร่วมงาน เพื่อความสุภาพมากขึ้น เช่น คุณฮานึล (하늘씨 อ่านว่า ฮานึลชี)
*เรามักจะได้ยินศิลปินจากค่าย SM Entertainment กล่าวขอบคุณประธานของค่ายอย่างคุณอีซูมานอยู่บ่อยๆและพวกเขาจะเรียกว่า “อีซูมานซอนแซงนิม” ซึ่งเป็นการเรียกที่ให้เกียรติและแสดงความเคารพ
*สิ่งที่คนเกาหลีไม่ทำ : จะไม่เรียกคนที่ไม่รู้จักกันหรือไม่รู้จักชื่อว่า 너 (นอ) ซึ่งแปลว่า คุณหรือเธอเพราะเป็นคำที่ใช้เรียกกันเฉพาะเพื่อนหรือคนสนิทเท่านั้น
ข้อแตกต่างระหว่างคนไทยกับคน
เกาหลีอีกอย่างคือการเรียกชื่อ บ้านเราไม่ว่าจะสนิทกันมากหรือไม่ก็ตาม ก็สามารถเรียกชื่อเล่นได้ ในขณะที่คนเกาหลีจะต้องเป็นคนที่สนิทสนมกันหรือได้รับ การอนุญาตจากอีกฝ่ายหนึ่งก่อนจึงจะสามารถเรียกชื่อเล่นกันได้
3. การรับประทานอาหาร
คนเกาหลีทำ : ใช้ตะเกียบโลหะกับช้อนยาวโดยใช้ช้อนรับประทานข้าวซุป และสตูว์ และใช้ตะเกียบกับเครื่องเคียงแบบอาหารแห้ง เคี้ยวอาหารหรือซดน้ำซุปเสียงดัง เพื่อแสดงความอร่อย (คล้ายวัฒนธรรมจีนและญี่ปุ่น) วางช้อนและตะเกียบลงบนโต๊ะเมื่อทานเสร็จ แล้วน้อมรับคำชมเกี่ยวกับรสชาติอาหารและบริการผู้น้อย ก่อนจะรับประทานอาหาร ต้องรอให้ผู้อาวุโสที่สุดเป็นฝ่ายบอกเริ่มการรับประทานอาหารเสมอ เมื่อมีคนรินเครื่องดื่มให้ก็ควรรินกลับเพื่อเป็นการแสดงความขอบคุณ ผู้ที่มีอายุน้อยที่สุดต้องเป็นคนรินเครื่องดื่มให้ผู้อาวุโส กว่าเสมอและต้องรินด้วยสองมือ
คนเกาหลีไม่ทำ : ใช้ช้อนและตะเกียบพร้อมกัน ปักตะเกียบไว้ในชามข้าว เพราะถือว่าเป็นการเซ่นไหว้คนตาย ยกจานหรือชามขึ้นมาขณะรับประทานอาหาร การพูดคุยระหว่างมื้ออาหารที่มากเกินไป การสั่งน้ำมูกในโต๊ะอาหาร ลุกจากโต๊ะอาหารก่อนที่ผู้อาวุโสที่สุดจะรับประทานเสร็จ รินเครื่องดื่มให้ผู้อื่นขณะที่เครื่องดื่มในแก้วยังไม่หมดในข้อนี้ก็เป็นมารยาทขั้นพื้นฐานที่คนส่วนใหญ่มักจะทำกันอยู่แล้ว คนเกาหลีนั้นจะให้ความสำคัญกับผู้อาวุโสและมารยาทที่คน อายุน้อยกว่าจะต้องเคารพผู้ที่อาสุโสกว่าไม่ว่าจะเป็นด้านอายุหรืออาชีพการงาน
4. การแสดงออก
คนเกาหลีทำ : การจับมือทักทายกันอย่างสุภาพโอบกอดในที่สาธารณะทำเฉพาะกรณีเพื่อการล่ำลา แสดงออกอย่างอ่อนน้อมถ่อมตน ชาวเกาหลีจะแสดงแสดงความคิดเห็นด้วยความระมัดระวังรอบ คอบเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นเกิดการเข้าใจหรือตีความหมายผิด
คนเกาหลีไม่ทำ : การแสดงความรักระหว่างเพศในที่สาธารณะ (เช่น กอด, จูบ) ถูกเนื้อต้องตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณศีรษะนอกจากจะแสดงความเอ็นดูต่อเด็กเล็กๆ เท่านั้น คุยโวโอ้อวดความสามารถของตนเอง แสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาทิ้งขยะบนท้องถนนเพราะค่าปรับแพง
5. การใช้มือ
คนเกาหลีเวลาที่จะมอบและรับสิ่งของหรือรับสิ่งของจากผู้ใหญ่จะทำโดยการใช้มือทั้งสองมือในการรับ ถ้ารับของจากผู้ใหญ่โดยใช้มือเดียวจะถือว่าเป็นการเสียมารยาท
ทั้งหมด 5 ข้อนั้นก็เป็นมารยาทพื้นฐานที่คนเกาหลีต้องทำกัน แต่ก็มีอีกเล็กๆน้อยๆที่ควรจะรู้ไว้บ้าง ถ้าหากมีโอกาสได้เดินทางไป จะได้ไม่ทำผิดกันนะ
- ในเกาหลี การให้ทิป ไม่ใช่สิ่งจำเป็น เพราะตามโรงแรม และร้านอาหารจะบวกค่าบริการ (Service Charge) ไว้แล้ว 5-10% ของค่าอาหาร หรือห้องพัก- ค่าเลี้ยงสุนัขที่เกาหลีใต้ค่อนข้างแพง ถ้าหากจูงสุนัขไปเดินเล่นตามถนน แล้วสุนัขอึเราต้องทำการเก็บทำความสะอาดให้เรียบร้อย ไม่อย่างนั้นอาจจะต้องเสียค่าปรับก็ได้นะ
- ประเทศเกาหลีใต้ มีระบบตรวจจับคนที่ขับรถผิดกฎจราจร ซึ่งทางตำรวจจะส่งหลักฐานมาถึงบ้านเพื่อแจ้งเรื่อง ความเร็ว, เวลา, ทะเบียนรถยนต์ และผู้ทำผิดกฎจราจรต้องไปเสียค่าปรับที่โรงพักเอง
- ผู้หญิงเมื่อแต่งงานแล้ว จะไม่เปลี่ยนไปใช้นามสกุลของสามี แต่จะยังคงใช้นามสกุลของตนตามเดิม ส่วนลูกที่เกิดมาจะใช้นามสกุลของพ่อ
และทั้งหมดนี้ก็คือวัฒนธรรม ซึ่งเป็นมารยาทพื้นฐานที่คนเกาหลีปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นประเทศไหนๆก็ล้วนแล้วแต่ต้องมีวัฒนธรรมของประเทศกันทั้งนั้น ดังนั้นเราคนไทยถ้าจะเดินทางไปที่ต่างประเทศ ไม่เพียงแค่ประเทศเกาหลีเท่านั้น ก็ควรจะปฏิบัติตัวให้ถูกต้องกับมารยาทของประเทศนั้นๆด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำวัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำไม่ว่าจะเป็นประเทศไหนก็จะต้องมีวัฒนธรรมหรือสิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาอยู่แล้วแล้วสงสัยกันไหมว่าถ้าอย่างนั้นชาวเกาหลีเขามีวัฒนธรรมอะไรที่ทำและไม่ทำกันบ้างลองมาดูกันดีกว่า1. การทักทายคนเกาหลีทำ: การกล่าวคำทักทายและคำขอบคุณนั้นคนเกาหลีจะต้องก้มศีรษะคำนับเสมอส่วนการโค้งต่ำระดับไหนนั้นจะขึ้นอยู่กับความอาวุโสของอีกฝ่ายนั่นเองคนเกาหลีไม่ทำ: การกล่าวทักทายด้วยการโอบกอดในที่สาธารณะซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำกับคนที่เพิ่งเจอกันเป็นครั้งแรกหรือไม่ได้สนิทสนมกันพอสมควรนอกเสียจากเป็นการกอดเพื่อการล่ำลาสำหรับในเรื่องของการทักทายของคนเกาหลีก็จะมีวัฒนธรรมที่มีความคล้ายคลึงกันกับคนไทยอยู่มากจะแตกต่างกันตรงที่คนเกาหลีจะก้มศีรษะแต่บ้านเราจะเป็นการไหว้แต่ปัจจุบันวัฒนธรรมของประเทศตะวันตกก็เข้ามามีบทบาทมากขึ้นการทักทายด้วยการกอดหรือการจับมือจึงได้รับความนิยมมากขึ้นซึ่งก็ขึ้นอยู่กับความสนิทสนมระหว่างบุคคลแต่ถ้าพบกับผู้ใหญ่ก็ยังคงวัฒนธรรมการทำความเคารพไว้เสมอ2. การเรียกผู้อื่น คนเกาหลีทำ: การเรียกคนที่ไม่รู้จักกันหรือไม่รู้จักชื่อจะใช้คำพูดที่เป็นการเกริ่นนำขึ้นมาก่อนไม่ได้มีคำเรียกบุคคลนั้นตายตัวเช่นขอโทษนะคะ ไม่ทราบว่าแต่บอาจจะใช้คำสรรพนามที่สามารถใช้เรียกได้เลยเช่น아저씨 (อาจอชี) ซึ่งแปลว่าคุณลุงหรือ아줌마 (อาจุมม่า) ซึ่งแปลว่าคุณป้าการเรียกคนที่มีอายุมากกว่าจะไม่เรียกชื่อเขาแต่จะใช้สรรพนามให้เหมาะสมกับเขาคนนั้นแต่ถ้าเรียกคนที่มีอายุน้อยกว่าหรือเป็นเพื่อนรุ่นเดียวกันสามารถเรียกชื่อได้หรืออาจใช้สรรพนามแทนก็ได้เช่นกันการเรียกผู้อาวุโสอาจเติมคำว่า님 (นิม: เป็นคำต่อท้ายที่แสดงถึงความเคารพหรือหมายถึงการให้เกียรติหรือผู้ที่น่ายกย่อง) ต่อท้ายตำแหน่งหน้าที่การงานของบุคคลนั้นเช่นครู อาจารย์ (선생님อ่านว่าซอนแซงนิม) หรือเติมคำว่า "คุณ" (씨อ่านว่าชี) ต่อท้ายชื่อเต็มของเพื่อนร่วมงานเพื่อความสุภาพมากขึ้นเช่นคุณฮานึล (하늘씨อ่านว่าฮานึลชี)* เรามักจะได้ยินศิลปินจากค่าย SM บันเทิงกล่าวขอบคุณประธานของค่ายอย่างคุณอีซูมานอยู่บ่อยๆและพวกเขาจะเรียกว่า "อีซูมานซอนแซงนิม" ซึ่งเป็นการเรียกที่ให้เกียรติและแสดงความเคารพ* สิ่งที่คนเกาหลีไม่ทำ: จะไม่เรียกคนที่ไม่รู้จักกันหรือไม่รู้จักชื่อว่า너 (นอ) ซึ่งแปลว่าคุณหรือเธอเพราะเป็นคำที่ใช้เรียกกันเฉพาะเพื่อนหรือคนสนิทเท่านั้นข้อแตกต่างระหว่างคนไทยกับคนเกาหลีอีกอย่างคือการเรียกชื่อบ้านเราไม่ว่าจะสนิทกันมากหรือไม่ก็ตามก็สามารถเรียกชื่อเล่นได้ในขณะที่คนเกาหลีจะต้องเป็นคนที่สนิทสนมกันหรือได้รับการอนุญาตจากอีกฝ่ายหนึ่งก่อนจึงจะสามารถเรียกชื่อเล่นกันได้3. การรับประทานอาหารคนเกาหลีทำ: ใช้ตะเกียบโลหะกับช้อนยาวโดยใช้ช้อนรับประทานข้าวซุปและสตูว์และใช้ตะเกียบกับเครื่องเคียงแบบอาหารแห้งเคี้ยวอาหารหรือซดน้ำซุปเสียงดังเพื่อแสดงความอร่อย (คล้ายวัฒนธรรมจีนและญี่ปุ่น) วางช้อนและตะเกียบลงบนโต๊ะเมื่อทานเสร็จแล้วน้อมรับคำชมเกี่ยวกับรสชาติอาหารและบริการผู้น้อยก่อนจะรับประทานอาหารต้องรอให้ผู้อาวุโสที่สุดเป็นฝ่ายบอกเริ่มการรับประทานอาหารเสมอเมื่อมีคนรินเครื่องดื่มให้ก็ควรรินกลับเพื่อเป็นการแสดงความขอบคุณผู้ที่มีอายุน้อยที่สุดต้องเป็นคนรินเครื่องดื่มให้ผู้อาวุโสกว่าเสมอและต้องรินด้วยสองมือคนเกาหลีไม่ทำ: ใช้ช้อนและตะเกียบพร้อมกันปักตะเกียบไว้ในชามข้าวเพราะถือว่าเป็นการเซ่นไหว้คนตายยกจานหรือชามขึ้นมาขณะรับประทานอาหารการพูดคุยระหว่างมื้ออาหารที่มากเกินไปการสั่งน้ำมูกในโต๊ะอาหารลุกจากโต๊ะอาหารก่อนที่ผู้อาวุโสที่สุดจะรับประทานเสร็จรินเครื่องดื่มให้ผู้อื่นขณะที่เครื่องดื่มในแก้วยังไม่หมดในข้อนี้ก็เป็นมารยาทขั้นพื้นฐานที่คนส่วนใหญ่มักจะทำกันอยู่แล้วคนเกาหลีนั้นจะให้ความสำคัญกับผู้อาวุโสและมารยาทที่คนอายุน้อยกว่าจะต้องเคารพผู้ที่อาสุโสกว่าไม่ว่าจะเป็นด้านอายุหรืออาชีพการงาน4. การแสดงออกคนเกาหลีทำ: การจับมือทักทายกันอย่างสุภาพโอบกอดในที่สาธารณะทำเฉพาะกรณีเพื่อการล่ำลาแสดงออกอย่างอ่อนน้อมถ่อมตนชาวเกาหลีจะแสดงแสดงความคิดเห็นด้วยความระมัดระวังรอบคอบเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นเกิดการเข้าใจหรือตีความหมายผิดคนเกาหลีไม่ทำ: การแสดงความรักระหว่างเพศในที่สาธารณะ (เช่นกอด จูบ) ถูกเนื้อต้องตัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณศีรษะนอกจากจะแสดงความเอ็นดูต่อเด็กเล็ก ๆ เท่านั้นคุยโวโอ้อวดความสามารถของตนเองแสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาทิ้งขยะบนท้องถนนเพราะค่าปรับแพง5. การใช้มือคนเกาหลีเวลาที่จะมอบและรับสิ่งของหรือรับสิ่งของจากผู้ใหญ่จะทำโดยการใช้มือทั้งสองมือในการรับถ้ารับของจากผู้ใหญ่โดยใช้มือเดียวจะถือว่าเป็นการเสียมารยาททั้งหมด 5 ข้อนั้นก็เป็นมารยาทพื้นฐานที่คนเกาหลีต้องทำกันแต่ก็มีอีกเล็กๆน้อยๆที่ควรจะรู้ไว้บ้างถ้าหากมีโอกาสได้เดินทางไปจะได้ไม่ทำผิดกันนะ-ในเกาหลีการให้ทิปไม่ใช่สิ่งจำเป็นเพราะตามโรงแรมและร้านอาหารจะบวกค่าบริการ (ค่าบริการ) ไว้แล้ว 5-10% ของค่าอาหารหรือห้องพักค่าเลี้ยงสุนัขที่เกาหลีใต้ค่อนข้างแพงถ้าหากจูงสุนัขไปเดินเล่นตามถนนแล้วสุนัขอึเราต้องทำการเก็บทำความสะอาดให้เรียบร้อยไม่อย่างนั้นอาจจะต้องเสียค่าปรับก็ได้นะ-ประเทศเกาหลีใต้มีระบบตรวจจับคนที่ขับรถผิดกฎจราจรซึ่งทางตำรวจจะส่งหลักฐานมาถึงบ้านเพื่อแจ้งเรื่องความเร็ว เวลา ทะเบียนรถยนต์และผู้ทำผิดกฎจราจรต้องไปเสียค่าปรับที่โรงพักเอง-ผู้หญิงเมื่อแต่งงานแล้วจะไม่เปลี่ยนไปใช้นามสกุลของสามีแต่จะยังคงใช้นามสกุลของตนตามเดิมส่วนลูกที่เกิดมาจะใช้นามสกุลของพ่อและทั้งหมดนี้ก็คือวัฒนธรรมซึ่งเป็นมารยาทพื้นฐานที่คนเกาหลีปฏิบัติกันมาไม่ว่าจะเป็นประเทศไหนๆก็ล้วนแล้วแต่ต้องมีวัฒนธรรมของประเทศกันทั้งนั้นดังนั้นเราคนไทยถ้าจะเดินทางไปที่ต่างประเทศไม่เพียงแค่ประเทศเกาหลีเท่านั้นก็ควรจะปฏิบัติตัวให้ถูกต้องกับมารยาทของประเทศนั้นๆด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
แล้วสงสัยกันไหมว่า ลองมาดูกันดีกว่า1 การทักทายคนเกาหลีทำ: การกล่าวคำทักทายและคำขอบคุณนั้นคนเกาหลีจะต้องก้มศีรษะคำนับเสมอส่วนการโค้งต่ำระดับไหนนั้น : แต่บ้านเราจะเป็นการไหว้ การทักทายด้วยการกอดหรือการจับมือจึงได้รับความนิยมมากขึ้น การเรียกผู้อื่นคนเกาหลีทำ: การเรียกคนที่ไม่รู้จักกันหรือไม่รู้จักชื่อ เช่นขอโทษนะคะ, ไม่ทราบว่า แต่บอาจจะใช้คำสรรพนามที่สามารถใช้เรียกได้เลยเช่น 아 저 씨 (อาจอชี) ซึ่งแปลว่าคุณลุงหรือ 아 줌 마 (อาจุมม่า) ซึ่งแปลว่าคุณป้าการเรียกคนที่ มีอายุมากกว่าจะไม่เรียกชื่อเขา แต่ถ้าเรียกคนที่มีอายุน้อยกว่าหรือเป็นเพื่อนรุ่นเดียวกันสามารถเรียกชื่อได้ 님 (นิม: หรือผู้ที่น่ายกย่อง) เช่นครู, อาจารย์ ( 선 생 님 อ่านว่าซอนแซงนิม) หรือเติมคำว่า "คุณ" ( 씨 อ่านว่าชี) ต่อท้ายชื่อเต็มของเพื่อนร่วมงานเพื่อความสุภาพมากขึ้นเช่นคุณฮานึล ( 하 늘 씨 อ่านว่า SM Entertainment "อีซูมานซอนแซงนิม" : 너 (นอ) ซึ่งแปลว่า ก็สามารถเรียกชื่อเล่นได้ การรับประทานอาหารคนเกาหลีทำ: และสตูว์ เคี้ยวอาหารหรือซดน้ำซุปเสียงดังเพื่อแสดงความอร่อย (คล้ายวัฒนธรรมจีนและญี่ปุ่น) ก่อนจะรับประทานอาหาร : ใช้ช้อนและตะเกียบพร้อมกันปักตะเกียบไว้ในชามข้าวเพราะถือว่าเป็นการเซ่นไหว้คนตาย การสั่งน้ำมูกในโต๊ะอาหาร การแสดงออกคนเกาหลีทำ: แสดงออกอย่างอ่อนน้อมถ่อมตน : (เช่นกอด, จูบ) ถูกเนื้อต้องตัว เท่านั้นคุยโวโอ้อวดความสามารถของตนเอง 5 ถ้าหากมีโอกาสได้เดินทางไปจะได้ไม่ทำผิดกันนะ- ในเกาหลีการให้ทิปไม่ใช่สิ่งจำเป็นเพราะตามโรงแรมและร้านอาหารจะบวกค่าบริการ (Service Charge) ไว้แล้ว 5-10% ของค่าอาหารหรือห้องพัก - ถ้าหากจูงสุนัขไปเดินเล่นตามถนน ประเทศเกาหลีใต้มีระบบตรวจจับคนที่ขับรถผิดกฎจราจร ความเร็ว, เวลา, ทะเบียนรถยนต์ ผู้หญิงเมื่อแต่งงานแล้วจะไม่เปลี่ยนไปใช้นามสกุลของสามี แต่จะยังคงใช้นามสกุลของตนตามเดิม ไม่เพียงแค่ประเทศเกาหลีเท่านั้น























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำ

วัฒนธรรมที่คนเกาหลีทำและไม่ทำไม่ว่าจะเป็นประเทศไหนก็จะต้องมีวัฒนธรรมหรือสิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาอยู่แล้วแล้วสงสัยกันไหมว่าถ้าอย่างนั้นชาวเกาหลีเขามีวัฒนธรรมอะไรที่ทำและไม่ทำกันบ้างลองมาดูกันดีกว่า
1 การทักทาย
คนเกาหลีทำ :การกล่าวคำทักทายและคำขอบคุณนั้นคนเกาหลีจะต้องก้มศีรษะคำนับเสมอส่วนการโค้งต่ำระดับไหนนั้นจะขึ้นอยู่กับความอาวุโสของอีกฝ่ายนั่นเองคนเกาหลีไม่ทำ :การกล่าวทักทายด้วยการโอบกอดในที่สาธารณะซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำกับคนที่เพิ่งเจอกันเป็นครั้งแรกหรือไม่ได้สนิทสนมกันพอสมควรจะแตกต่างกันตรงที่คนเกาหลีจะก้มศีรษะแต่บ้านเราจะเป็นการไหว้แต่ปัจจุบันวัฒนธรรมของประเทศตะวันตกก็เข้ามามีบทบาทมากขึ้นการทักทายด้วยการกอดหรือการจับมือจึงได้รับความนิยมมากขึ้นแต่ถ้าพบกับผู้ใหญ่ก็ยังคงวัฒนธรรมการทำความเคารพไว้เสมอ
2 . การเรียกผู้อื่น
คนเกาหลีทำ : การเรียกคนที่ไม่รู้จักกันหรือไม่รู้จักชื่อจะใช้คำพูดที่เป็นการเกริ่นนำขึ้นมาก่อนไม่ได้มีคำเรียกบุคคลนั้นตายตัวขอโทษนะคะเช่น ,ไม่ทราบว่าแต่บอาจจะใช้คำสรรพนามที่สามารถใช้เรียกได้เลยเช่น아저씨 ( อาจอชี ) ซึ่งแปลว่าคุณลุงค็อค아줌마 ( อาจุมม่า ) ซึ่งแปลว่าคุณป้าการเรียกคนที่มีอายุมากกว่าจะไม่เรียกชื่อเขาแต่ถ้าเรียกคนที่มีอายุน้อยกว่าหรือเป็นเพื่อนรุ่นเดียวกันสามารถเรียกชื่อได้หรืออาจใช้สรรพนามแทนก็ได้เช่นกัน
การเรียกผู้อาวุโสอาจเติมคำว่า님 ( นิม : เป็นคำต่อท้ายที่แสดงถึงความเคารพหรือหมายถึงการให้เกียรติหรือผู้ที่น่ายกย่อง ) ต่อท้ายตำแหน่งหน้าที่การงานของบุคคลนั้นครูเช่น ,อาจารย์ ( 선생님อ่านว่าซอนแซงนิม ) หรือเติมคำว่า " คุณ " ( 씨อ่านว่าชี ) ต่อท้ายชื่อเต็มของเพื่อนร่วมงานเพื่อความสุภาพมากขึ้นเช่นคุณฮานึล ( 하늘씨อ่านว่าฮานึลชี )
* เรามักจะได้ยินศิลปินจากค่าย SM Entertainment กล่าวขอบคุณประธานของค่ายอย่างคุณอีซูมานอยู่บ่อยๆและพวกเขาจะเรียกว่า " อีซูมานซอนแซงนิม " ซึ่งเป็นการเรียกที่ให้เกียรติและแสดงความเคารพ
* สิ่งที่คนเกาหลีไม่ทำ :
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: