โครงงานเรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกดอกอัญชันและมะกรูด
ผู้ทำโครงงาน 1. นายนฤพันธ์ จันทร์ไทย
2. นายประสิทธิ์ โสภากุ
3. นายธนศร วังสำเภา
4. นายสิทธิชัย ศรีทองคำ
5. นายสมชาย ระเมิด
6. นายเจนณรงค์ ไชยแก้ว
โรงเรียน น้ำขุ่นวิทยา
ครูที่ปรึกษา 1. ครูเกียรติบัณฑิต สาระพัฒน์
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่องน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชัญและมะกรูด มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเรื่องเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ เพื่อที่จะสามารถนำมาใช้กับชีวิตประจำวัน โดยผู้จัดทำได้ออกศึกษาค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตและจากคนในชุมชน ผู้จัดทำได้ความรู้เรื่องการทำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชัญและมะกรูดแล้ว ก็มีแนวความคิดจัดทำขึ้นเป็นโครงงาน เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1มีความรู้และเมื่อได้ความรู้แล้วก็สามารถที่จะนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องนี้ประกอบด้วยการดำเนินงานหลายขั้นตอน นับตั้งแต่การศึกษาหาข้อมูล การทดลองการวิเคราะห์ผลการทดลอง การจัดทำโครงงานเป็นรูปเล่ม จนกระทั่งโครงงานนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีตลอดระยะเวลาดังกล่าวคณะผู้จัดทำโครงงานได้รับความช่วยเหลือและคำแนะนำในด้านต่าง ๆ ตลอดจนได้รับกำลังใจจากบุคลากรหลายท่าน คณะผู้จัดทำตระหนักและซาบซึ้งในความกรุณาจากทุก ๆ ท่านเป็นอย่างดี ณ โอกาสนี้ขอขอบคุณทุก ๆ ท่าน ดังนี้
ขอขอบคุณ ครูเกียรติบัณฑิต สาระพัฒน์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ผู้ให้ความรู้ คำแนะนำ เสียสละเวลามาช่วยฝึกฝนเทคนิคในการทำโครงงานครั้งนี้ และได้เมตตาให้ความช่วยเหลือในทุก ๆ ด้าน ตลอดจนเอื้อเฟื้อห้องปฏิบัติการและเครื่องมือต่าง ๆ ในการทำโครงงานนี้จนประสบความสำเร็จ
ขอขอบคุณทุกกลุ่มสาระรายวิชาของโรงเรียนน้ำขุ่นวิทยาที่ได้กรุณาให้ความรู้ คำแนะนำ ข้อติชม ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในการทดลอง
ขอขอบคุณผู้อำนวยการสุรพงษ์ ด้วงทอง ผู้อำนวยการโรงเรียนน้ำขุ่นวิทยา อำเภอน้ำขุ่น
จังหวัดอุบลราชธานี ที่ได้ให้การสนับสนุนในทุก ๆ ด้าน
ขอขอบคุณ เพื่อน ๆ ที่ได้ให้ความช่วยเหลือในการทำโครงงาน
ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อและคุณแม่ ผู้เป็นที่รัก ผู้ให้กำลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง
คณะผู้จัดทำ
บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันมีการ ใช้สารเคมีใบชีวิตประจำวันกันอย่างแพร่หลาย และมีสารเคมีที่มีพิษรวมอยู่ด้วยจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหามลพิษอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขสารพิษตกค้าง ทั้งในน้ำ ในอากาศ ในดิน รวมทั้งในอาหาร ล้วนมีสารตกค้างทั้งสิ้น
น้ำยาเช็ดกระจกที่ใช้กันทั่วไปมีส่วนผสมของ บิวทิล เซลโลโซล และ แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 ซึ่งสารเคมีนี้มีอันตรายต่อมนุษย์ และสิ่งมีชีวิตอื่น
ดอกอัญชันสีม่วง ที่ขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณใกล้บ้าน ในสวน ริมถนน คนในชุมชนของเราโดยเฉพาะผู้สูงอายุมักนำดอกอัญชันมาใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ทาผม ทาคิ้ว เพื่อให้ดกดำ ใช้แทนสีผสมอาหาร ชึ่งเป็นน้ำชาลดอาการเบาหวาน เป็นต้น
นอกจากนี้มะกรูดและดอกอัญชันยังช่วยลดคราบสกปรกและยังไม่มีสารเคมีเพราะน้ำยาเช็ดกระจกที่ชื้อมาอาจจะมีสารเคมีและยังอาจทำอันตรายร่างกายเราด้วย
สมมุติฐาน
น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดสามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทนน้ำยาเช็ดกระจกทั่วไปได้
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
1.เพื่อศึกษาผลการทำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจก
2.เพื่อนำพืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์
3.เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ตัวแปร
ตัวแปรต้น น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูด
ตัวแปรตาม การลดลงหรือหายไปของคราบสกปรกบนกระจก
ตัวแปรควบคุม อุณหภูมิของอากาศ
ขอบเขตของการศึกษา
1.น้ำหมักชีวภาพจากอัญชันและมะกรูด จะใช้อัญชันสีม่วงพันธ์กลีบชั้นเดียว และพันธ์กลีบซ้อน
2.กระจกที่ใช้ทำการทดลอง ใช้กระจกเงาและกระจกใส ที่ความสกปรกตามปกติ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูด สามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทนน้ำยาเช็ดกระจกทั่วไปได้ และช่วยลดสารพิษตกค้าง
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
อัญชัน
อัญชัน จัดเป็นพืชมีดอกชนิดใบเลี้ยงคู่ เป็นพืชเถาเลื้อย ตระกูลเดียวกับถั่ว มีอายุประมาณ 1 ปี จึงจัดเป็นพืชอายุสั้น ลำต้นเลื้อย และพันรอบหลัก อาจยาวได้ถึง 6-7 เมตร มีดอกที่สวยงาม โดยปกติมีสีน้ำเงิน มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกา
ชื่อพื้นเมือง : อัญชัน(กรุงเทพฯ ภาคกลาง) แดงชัน (เชียงใหม่) เอื้องชัน (ภาคเหนือ)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clitoria ternatea L.
ชื่อวงศ์ : Leguminosae
ชื่อสามัญ : Butterfly-pea (Australia ):Blue-pea, cordofan-pea, honte ( French); blue Klitorie ( Portuguese ); azulejo, conchitis,Papito, zapatico de la reina,Zapotillo, conchita ( Spanish); cunha
ลักษณะทางพฤกษาศาสตร์
อัญชัน เป็นพืชอายุหลายปี ต้นเป็นกอพุ่มขนาดเล็ก ปลายยอดเป็นเถาเลื้อยพัน (Twining) อัญชันที่เก็บรวบรวมสายพันธุ์จำแนกได้ 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์กลีบดอกชั้นเดียว หรือดอกรา ดอกเป็นรูปดอกถั่วมี 3 ชนิดคือ ชนิดสีน้ำเงิน ม่วง และสีขาว และสายกลีบดอกซ้อน มี 5 กลีบดอก (standard ) ขนาดใหญ่ ซึ่งมีสีเช่นเดียวกัน ทั้ง 2 สายพันธุ์ มีอับเรณุสีเหลืองอ่อน ใบประกอบเรียงตัวแบบขนขนปลายคี่ ใบย่อยรูปไข่ สีใบเขียวเข็ม ผิวอ่อนคอนข้างหยาบเล็กน้อยออกดอกตลอดปี ชนิดดอกเดียว ฝักรูปดาบแบบโค้งเล็กน้อย เมล็ดแบนรูปไต
สรรพคุณทางยา
ราก ใช่บำรุงรักษาดวงตา ทำให้ตาสว่าง แก้ตาฟาง ตาแฉะ ฝนกับรากสะอึกและซาวข้าวกินหรือทา แก้งูสวัด เป็นยาขับปัสสาวะ ใช้ถูแก้ปวดฟัน ทำให้ฟันทน รสเบื่อเมาปรุงเป็นยา ดอก ใช้รักษาอาการผมร่วง ใช้ขยี้ทาศีรษะช่วยปลูกผม ใช้ทาคิ้ว ทำให้ผมและคิ้วดกดำเนื่องจากดอกอัญชันมีสารแอนโธ่ไซยานิน มีคุณสมบัติเพิ่มการไหลเวียนของเลือดในหลอดเล็กๆ ทำให้เลือดไปเลี้ยงรากผมมากขึ้น แก้ฟกช้ำบวม เมล็ด เป็นยาระบาย
การนำมาใช้ประโยชน์
ภูมิปัญญาชาวบ้านของไทย ได้นำเอาสีจากดอกอัญชันมาใช้ แต่งสีขนมไทย เช่น ขนมช่อม่วง ขนมเรไร
โครงงานเรื่องน้ำยาเช็ดกระจกดอกอัญชันและมะกรูดผู้ทำโครงงาน 1 นายนฤพันธ์จันทร์ไทย 2. นายประสิทธิ์โสภากุ 3. นายธนศรวังสำเภา 4. นายสิทธิชัยศรีทองคำ5. นายสมชายระเมิด 6. นายเจนณรงค์ไชยแก้วโรงเรียนน้ำขุ่นวิทยาครูที่ปรึกษา 1 ครูเกียรติบัณฑิตสาระพัฒน์ บทคัดย่อ โครงงานเรื่องน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชัญและมะกรูดมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเรื่องเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์เพื่อที่จะสามารถนำมาใช้กับชีวิตประจำวันโดยผู้จัดทำได้ออกศึกษาค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตและจากคนในชุมชนผู้จัดทำได้ความรู้เรื่องการทำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชัญและมะกรูดแล้วก็มีแนวความคิดจัดทำขึ้นเป็นโครงงาน เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1มีความรู้และเมื่อได้ความรู้แล้วก็สามารถที่จะนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้ กิตติกรรมประกาศโครงงานเรื่องนี้ประกอบด้วยการดำเนินงานหลายขั้นตอนนับตั้งแต่การศึกษาหาข้อมูลการทดลองการวิเคราะห์ผลการทดลองการจัดทำโครงงานเป็นรูปเล่มจนกระทั่งโครงงานนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีตลอดระยะเวลาดังกล่าวคณะผู้จัดทำโครงงานได้รับความช่วยเหลือและคำแนะนำในด้านต่างๆ ตลอดจนได้รับกำลังใจจากบุคลากรหลายท่านคณะผู้จัดทำตระหนักและซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆ ท่านเป็นอย่างดีณโอกาสนี้ขอขอบคุณทุกๆ ท่านดังนี้ขอขอบคุณครูเกียรติบัณฑิตสาระพัฒน์อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานผู้ให้ความรู้คำแนะนำเสียสละเวลามาช่วยฝึกฝนเทคนิคในการทำโครงงานครั้งนี้และได้เมตตาให้ความช่วยเหลือในทุกๆ ด้านตลอดจนเอื้อเฟื้อห้องปฏิบัติการและเครื่องมือต่างๆ ในการทำโครงงานนี้จนประสบความสำเร็จขอขอบคุณทุกกลุ่มสาระรายวิชาของโรงเรียนน้ำขุ่นวิทยาที่ได้กรุณาให้ความรู้คำแนะนำข้อติชมห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์อุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในการทดลองขอขอบคุณผู้อำนวยการสุรพงษ์ด้วงทองผู้อำนวยการโรงเรียนน้ำขุ่นวิทยาอำเภอน้ำขุ่นจังหวัดอุบลราชธานี ที่ได้ให้การสนับสนุนในทุก ๆ ด้านขอขอบคุณ เพื่อน ๆ ที่ได้ให้ความช่วยเหลือในการทำโครงงานท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อและคุณแม่ ผู้เป็นที่รัก ผู้ให้กำลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง คณะผู้จัดทำบทที่ 1บทนำที่มาและความสำคัญของโครงงาน ในปัจจุบันมีการ ใช้สารเคมีใบชีวิตประจำวันกันอย่างแพร่หลาย และมีสารเคมีที่มีพิษรวมอยู่ด้วยจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหามลพิษอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขสารพิษตกค้าง ทั้งในน้ำ ในอากาศ ในดิน รวมทั้งในอาหาร ล้วนมีสารตกค้างทั้งสิ้น น้ำยาเช็ดกระจกที่ใช้กันทั่วไปมีส่วนผสมของ บิวทิล เซลโลโซล และ แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 ซึ่งสารเคมีนี้มีอันตรายต่อมนุษย์ และสิ่งมีชีวิตอื่น ดอกอัญชันสีม่วง ที่ขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณใกล้บ้าน ในสวน ริมถนน คนในชุมชนของเราโดยเฉพาะผู้สูงอายุมักนำดอกอัญชันมาใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ทาผม ทาคิ้ว เพื่อให้ดกดำ ใช้แทนสีผสมอาหาร ชึ่งเป็นน้ำชาลดอาการเบาหวาน เป็นต้น นอกจากนี้มะกรูดและดอกอัญชันยังช่วยลดคราบสกปรกและยังไม่มีสารเคมีเพราะน้ำยาเช็ดกระจกที่ชื้อมาอาจจะมีสารเคมีและยังอาจทำอันตรายร่างกายเราด้วยสมมุติฐาน น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดสามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทนน้ำยาเช็ดกระจกทั่วไปได้จุดมุ่งหมายของการศึกษา 1.เพื่อศึกษาผลการทำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจก 2.เพื่อนำพืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์3.เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมตัวแปร ตัวแปรต้น น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูด ตัวแปรตาม การลดลงหรือหายไปของคราบสกปรกบนกระจก ตัวแปรควบคุม อุณหภูมิของอากาศขอบเขตของการศึกษา 1.น้ำหมักชีวภาพจากอัญชันและมะกรูด จะใช้อัญชันสีม่วงพันธ์กลีบชั้นเดียว และพันธ์กลีบซ้อน 2.กระจกที่ใช้ทำการทดลอง ใช้กระจกเงาและกระจกใส ที่ความสกปรกตามปกติประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูด สามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทนน้ำยาเช็ดกระจกทั่วไปได้ และช่วยลดสารพิษตกค้างบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องอัญชันอัญชัน จัดเป็นพืชมีดอกชนิดใบเลี้ยงคู่ เป็นพืชเถาเลื้อย ตระกูลเดียวกับถั่ว มีอายุประมาณ 1 ปี จึงจัดเป็นพืชอายุสั้น ลำต้นเลื้อย และพันรอบหลัก อาจยาวได้ถึง 6-7 เมตร มีดอกที่สวยงาม โดยปกติมีสีน้ำเงิน มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาชื่อพื้นเมือง : อัญชัน(กรุงเทพฯ ภาคกลาง) แดงชัน (เชียงใหม่) เอื้องชัน (ภาคเหนือ)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clitoria ternatea L.
ชื่อวงศ์ : Leguminosae
ชื่อสามัญ : Butterfly-pea (Australia ):Blue-pea, cordofan-pea, honte ( French); blue Klitorie ( Portuguese ); azulejo, conchitis,Papito, zapatico de la reina,Zapotillo, conchita ( Spanish); cunha
ลักษณะทางพฤกษาศาสตร์
อัญชัน เป็นพืชอายุหลายปี ต้นเป็นกอพุ่มขนาดเล็ก ปลายยอดเป็นเถาเลื้อยพัน (Twining) อัญชันที่เก็บรวบรวมสายพันธุ์จำแนกได้ 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์กลีบดอกชั้นเดียว หรือดอกรา ดอกเป็นรูปดอกถั่วมี 3 ชนิดคือ ชนิดสีน้ำเงิน ม่วง และสีขาว และสายกลีบดอกซ้อน มี 5 กลีบดอก (standard ) ขนาดใหญ่ ซึ่งมีสีเช่นเดียวกัน ทั้ง 2 สายพันธุ์ มีอับเรณุสีเหลืองอ่อน ใบประกอบเรียงตัวแบบขนขนปลายคี่ ใบย่อยรูปไข่ สีใบเขียวเข็ม ผิวอ่อนคอนข้างหยาบเล็กน้อยออกดอกตลอดปี ชนิดดอกเดียว ฝักรูปดาบแบบโค้งเล็กน้อย เมล็ดแบนรูปไต
สรรพคุณทางยา
ราก ใช่บำรุงรักษาดวงตา ทำให้ตาสว่าง แก้ตาฟาง ตาแฉะ ฝนกับรากสะอึกและซาวข้าวกินหรือทา แก้งูสวัด เป็นยาขับปัสสาวะ ใช้ถูแก้ปวดฟัน ทำให้ฟันทน รสเบื่อเมาปรุงเป็นยา ดอก ใช้รักษาอาการผมร่วง ใช้ขยี้ทาศีรษะช่วยปลูกผม ใช้ทาคิ้ว ทำให้ผมและคิ้วดกดำเนื่องจากดอกอัญชันมีสารแอนโธ่ไซยานิน มีคุณสมบัติเพิ่มการไหลเวียนของเลือดในหลอดเล็กๆ ทำให้เลือดไปเลี้ยงรากผมมากขึ้น แก้ฟกช้ำบวม เมล็ด เป็นยาระบาย
การนำมาใช้ประโยชน์
ภูมิปัญญาชาวบ้านของไทย ได้นำเอาสีจากดอกอัญชันมาใช้ แต่งสีขนมไทย เช่น ขนมช่อม่วง ขนมเรไร
การแปล กรุณารอสักครู่..