ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์แ การแปล - ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์แ ไทย วิธีการพูด

ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บ

ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์แก่พนักงาน

23/03/2013 View: 7,047
ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์แก่พนักงาน

การนำรถยนต์ยนต์กรรมการบริษัท หุ้นส่วนผู้จัดการ หรือพนักงานของบริษัทนำรถยนต์ส่วนตัวมาใช้ในกิจการ

ไม่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าเป็นการนำรถยนต์มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อกิจการ

มีหลักฐานการใช้รถยนต์ซึ่งสามารถพิสูจน์จนเป็นที่เชื่อถือแก่เจ้าพนักงาน (ตามข้อ 1-5)

บริษัท ฯ จะสามารถบันทึกเป็นรายจ่ายทางภาษีอากร ไม่ต้องห้ามนำมาคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร จะต้องปฏิบัติดังนี้

มีหลักฐานการใช้รถยนต์ว่าได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตนและได้จ่ายไปทั้งหมดเพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่นั้นด้วยประกอบกับบริษัท
มีระเบียบอนุญาตให้มีการเบิกจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์ได้
มีหนังสืออนุญาตพร้อมทั้งการบันทึกอนุญาตให้เดินทางไปติดต่องานจากที่ใดถึงที่ใด ระยะเวลาทางเท่าใด
ชื่อเจ้าของรถยนต์หมายเลขทะเบียนรถยนต์
ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันรถยนต์ที่มีการระบุชื่อเจ้าของรถยนต์ หมายเลขทะเบียนรถยนต์ให้ชัดเจน
ตัวอย่าง ระเบียบของบริษัทฯ (บางส่วน) ซึ่งการกำหนดระเบียบการเบิกจ่ายให้กับพนังงานทั่วไป ไม่เลือกปฏิบัติเจาะจงให้คนใดคนหนึ่ง

ข้อ 1 ค่าน้ำมัรถยนต์ (ส่วนตัวพนักงาน)

พนักงานใช้รถยนต์ส่วนตัวในงานบริษัทฯ สามารถเบิกค่าน้ำมันได้ เฉลี่ยกิโลเมตรละ 5 บาท

พนักงานนำรถยนต์ส่วนตัวในงานบริษัท ฯ จ่ายให้เดือนละ 6,000 บาท (ผู้รับเงินต้องนำมารวมคำนวณเป็นรายได้)

หรือบริษัท ฯ นำรถยนต์ส่วนตัวของกรรมการมาใช้ในกิจการ ต้องจัดทำรายงานการประชุม และที่ประชุมมีมติให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง เบิกจ่ายอย่างไรให้ชัดเจน



ประเด็นภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

การจ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าเบี้ยเลี้ยงเกินกว่าอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด

ประเด็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา : กระทรวงการคลังกำหนดให้จ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์กิโลเมตรละ 4 บาท รถจักรยานยนต์กิโลเมตรละ 2 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยง 240 บาท ต่อวัน ส่วนที่บริษัทจ่ายให้พนักงานเกินกว่าจากระเบียบกระทรวงการคลังกำหนด กรมสรรพากรถือเป็นรายได้ของพนักงานต้องนำมารวมเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ประเด็นภาษีเงินได้นิติบุคคล : เป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ทวิ ตรี (3) บริษัทไม่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ

จากตัวอย่าง บริษัทฯกำหนดในระเบียบเบิกค่าน้ำมันได้กิโลเมตรละ 5 บาท แต่ระเบียบกระทรวงการคลังให้เบิกจ่ายได้กิโลเมตรละ 4 บาท บริษัทไม่สามารถนำรายจ่ายส่วนที่เกินกิโลเมตรละ 4 บาท มาบันทึกเป็นรายจ่ายของบริษัทเพื่อคำนวณกำไรสุทธิ



ตัวอย่าง การคำนวณการเบิกจ่ายชดเชยค่านำ้มันรถยนต์ส่วนตัว

http://gisweb.doh.go.th/doh/download/index.php

ให้ใช้ระยะทางของกรมทางหลวง เช่น ขออนมัติเดินทางไปทำงานจากบริษัท ABC เลขที่ 123 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ถึง บริษัท XYZ เลขที่ 99 ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

เมื่อคำนวณระยะทางตามกรมทางหลวง 669 กิโลเมตร X 2 เที่ยวไปกลับ = 1338 กิโลเมตร พนักงานจะสามารถเบิกชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนได้ได้ในการเดินทางครั้งนี้ (1,338 กิโลเมตร X 4 บาท )

จำนวน 5,352 บาท ตามระเบียบกระทรวงการคลังกำหนด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์แก่พนักงาน23/03/2013 มอง: 7,047ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์แก่พนักงานการนำรถยนต์ยนต์กรรมการบริษัทหุ้นส่วนผู้จัดการหรือพนักงานของบริษัทนำรถยนต์ส่วนตัวมาใช้ในกิจการไม่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าเป็นการนำรถยนต์มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อกิจการมีหลักฐานการใช้รถยนต์ซึ่งสามารถพิสูจน์จนเป็นที่เชื่อถือแก่เจ้าพนักงาน (ตามข้อ 1-5)บริษัทฯ จะสามารถบันทึกเป็นรายจ่ายทางภาษีอากรไม่ต้องห้ามนำมาคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากรจะต้องปฏิบัติดังนี้ มีหลักฐานการใช้รถยนต์ว่าได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตนและได้จ่ายไปทั้งหมดเพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่นั้นด้วยประกอบกับบริษัท มีระเบียบอนุญาตให้มีการเบิกจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์ได้ มีหนังสืออนุญาตพร้อมทั้งการบันทึกอนุญาตให้เดินทางไปติดต่องานจากที่ใดถึงที่ใดระยะเวลาทางเท่าใดชื่อเจ้าของรถยนต์หมายเลขทะเบียนรถยนต์ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันรถยนต์ที่มีการระบุชื่อเจ้าของรถยนต์หมายเลขทะเบียนรถยนต์ให้ชัดเจนตัวอย่างระเบียบของบริษัทฯ (บางส่วน) ซึ่งการกำหนดระเบียบการเบิกจ่ายให้กับพนังงานทั่วไปไม่เลือกปฏิบัติเจาะจงให้คนใดคนหนึ่ง ข้อ 1 ค่าน้ำมัรถยนต์ (ส่วนตัวพนักงาน) พนักงานใช้รถยนต์ส่วนตัวในงานบริษัทฯ สามารถเบิกค่าน้ำมันได้เฉลี่ยกิโลเมตรละ 5 บาท พนักงานนำรถยนต์ส่วนตัวในงานบริษัทฯ จ่ายให้เดือนละ 6000 บาท (ผู้รับเงินต้องนำมารวมคำนวณเป็นรายได้)หรือบริษัทฯ นำรถยนต์ส่วนตัวของกรรมการมาใช้ในกิจการต้องจัดทำรายงานการประชุมและที่ประชุมมีมติให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายอะไรบ้างเบิกจ่ายอย่างไรให้ชัดเจนประเด็นภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การจ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิงค่าเบี้ยเลี้ยงเกินกว่าอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนดประเด็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา: กระทรวงการคลังกำหนดให้จ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์กิโลเมตรละ 4 วรรครถจักรยานยนต์กิโลเมตรละ 2 วรรคค่าเบี้ยเลี้ยง 240 บาทต่อวันส่วนที่บริษัทจ่ายให้พนักงานเกินกว่าจากระเบียบกระทรวงการคลังกำหนดกรมสรรพากรถือเป็นรายได้ของพนักงานต้องนำมารวมเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประเด็นภาษีเงินได้นิติบุคคล: บริษัทไม่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ทวิตรี (3) จากตัวอย่างบริษัทฯกำหนดในระเบียบเบิกค่าน้ำมันได้กิโลเมตรละ 5 บาทแต่ระเบียบกระทรวงการคลังให้เบิกจ่ายได้กิโลเมตรละ 4 วรรคบริษัทไม่สามารถนำรายจ่ายส่วนที่เกินกิโลเมตรละ 4 บาทมาบันทึกเป็นรายจ่ายของบริษัทเพื่อคำนวณกำไรสุทธิ ตัวอย่างการคำนวณการเบิกจ่ายชดเชยค่านำ้มันรถยนต์ส่วนตัว http://gisweb.doh.go.th/doh/download/index.phpให้ใช้ระยะทางของกรมทางหลวงเช่นขออนมัติเดินทางไปทำงานจากบริษัท ABC เลขที่ 123 แขวงทุ่งสองห้องเขตหลักสี่กรุงเทพฯ ถึงบริษัท XYZ ลดต่ำเลขที่ 99 ต.ช้างเผือกอ.เมืองจ.เชียงใหม่เที่ยวไปกลับเมื่อคำนวณระยะทางตามกรมทางหลวง 669 กิโลเมตร X 2 = 1338 พนักงานจะสามารถเบิกชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนได้ได้ในการเดินทางครั้งนี้กิโลเมตร (1,338 กิโลเมตร X 4 บาท )จำนวน 5,352 บาทตามระเบียบกระทรวงการคลังกำหนด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์แก่พนักงาน

23/03/2013 View: 7,047
ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์แก่พนักงาน

การนำรถยนต์ยนต์กรรมการบริษัท หุ้นส่วนผู้จัดการ หรือพนักงานของบริษัทนำรถยนต์ส่วนตัวมาใช้ในกิจการ

ไม่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าเป็นการนำรถยนต์มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อกิจการ

มีหลักฐานการใช้รถยนต์ซึ่งสามารถพิสูจน์จนเป็นที่เชื่อถือแก่เจ้าพนักงาน (ตามข้อ 1-5)

บริษัท ฯ จะสามารถบันทึกเป็นรายจ่ายทางภาษีอากร ไม่ต้องห้ามนำมาคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร จะต้องปฏิบัติดังนี้

มีหลักฐานการใช้รถยนต์ว่าได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตนและได้จ่ายไปทั้งหมดเพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่นั้นด้วยประกอบกับบริษัท
มีระเบียบอนุญาตให้มีการเบิกจ่ายค่าน้ำมันรถยนต์ได้
มีหนังสืออนุญาตพร้อมทั้งการบันทึกอนุญาตให้เดินทางไปติดต่องานจากที่ใดถึงที่ใด ระยะเวลาทางเท่าใด
ชื่อเจ้าของรถยนต์หมายเลขทะเบียนรถยนต์
ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันรถยนต์ที่มีการระบุชื่อเจ้าของรถยนต์ หมายเลขทะเบียนรถยนต์ให้ชัดเจน
ตัวอย่าง ระเบียบของบริษัทฯ (บางส่วน) ซึ่งการกำหนดระเบียบการเบิกจ่ายให้กับพนังงานทั่วไป ไม่เลือกปฏิบัติเจาะจงให้คนใดคนหนึ่ง

ข้อ 1 ค่าน้ำมัรถยนต์ (ส่วนตัวพนักงาน)

พนักงานใช้รถยนต์ส่วนตัวในงานบริษัทฯ สามารถเบิกค่าน้ำมันได้ เฉลี่ยกิโลเมตรละ 5 บาท

พนักงานนำรถยนต์ส่วนตัวในงานบริษัท ฯ จ่ายให้เดือนละ 6,000 บาท (ผู้รับเงินต้องนำมารวมคำนวณเป็นรายได้)

หรือบริษัท ฯ นำรถยนต์ส่วนตัวของกรรมการมาใช้ในกิจการ ต้องจัดทำรายงานการประชุม และที่ประชุมมีมติให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง เบิกจ่ายอย่างไรให้ชัดเจน



ประเด็นภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

การจ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าเบี้ยเลี้ยงเกินกว่าอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด

ประเด็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา : กระทรวงการคลังกำหนดให้จ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์กิโลเมตรละ 4 บาท รถจักรยานยนต์กิโลเมตรละ 2 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยง 240 บาท ต่อวัน ส่วนที่บริษัทจ่ายให้พนักงานเกินกว่าจากระเบียบกระทรวงการคลังกำหนด กรมสรรพากรถือเป็นรายได้ของพนักงานต้องนำมารวมเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ประเด็นภาษีเงินได้นิติบุคคล : เป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ทวิ ตรี (3) บริษัทไม่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ

จากตัวอย่าง บริษัทฯกำหนดในระเบียบเบิกค่าน้ำมันได้กิโลเมตรละ 5 บาท แต่ระเบียบกระทรวงการคลังให้เบิกจ่ายได้กิโลเมตรละ 4 บาท บริษัทไม่สามารถนำรายจ่ายส่วนที่เกินกิโลเมตรละ 4 บาท มาบันทึกเป็นรายจ่ายของบริษัทเพื่อคำนวณกำไรสุทธิ



ตัวอย่าง การคำนวณการเบิกจ่ายชดเชยค่านำ้มันรถยนต์ส่วนตัว

http://gisweb.doh.go.th/doh/download/index.php

ให้ใช้ระยะทางของกรมทางหลวง เช่น ขออนมัติเดินทางไปทำงานจากบริษัท ABC เลขที่ 123 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ถึง บริษัท XYZ เลขที่ 99 ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

เมื่อคำนวณระยะทางตามกรมทางหลวง 669 กิโลเมตร X 2 เที่ยวไปกลับ = 1338 กิโลเมตร พนักงานจะสามารถเบิกชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนได้ได้ในการเดินทางครั้งนี้ (1,338 กิโลเมตร X 4 บาท )

จำนวน 5,352 บาท ตามระเบียบกระทรวงการคลังกำหนด
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: