บทบาทของประเทศมาเลเซียนับตั้งแต่มาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 2500 การแปล - บทบาทของประเทศมาเลเซียนับตั้งแต่มาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 2500 ไทย วิธีการพูด

บทบาทของประเทศมาเลเซียนับตั้งแต่มาเ

บทบาทของประเทศมาเลเซีย
นับตั้งแต่มาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 2500 เป็นต้นมา ผู้นำและรัฐบาลมาเลเซียต่างให้ความสนใจต่อการร่วมมือในระดับภูมิภาคเป็นอย่างมาก จนอาจกล่าวได้ว่า มาเลเซียเป็นประเทศแรกที่ริเริ่มและสนับสนุนแนวความคิดเกี่ยวกับภูมิภาคนิยม (Regionalism) อย่างแข็งขัน เริ่มจากการก่อตั้งสมาคมอาสา สมาคมมาฟิลินโด กระทั่งมาถึงการรวมตัวก่อตั้งอาเซียน ถึงแม้ว่ามาเลเซียจะไม่ได้เป็นประเทศผู้นำในการก่อตั้งอาเซียน แต่ก็ได้ให้ความร่วมมือตลอดมา
โดยในปี 2522 มูลค่าการค้ามาเลเซีย-อาเซียนได้เพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่า แสดงถึงนโยบายทางเศรษฐกิจใหม่ของมาเลเซียที่ได้ให้ความสำคัญกับประเทศในอาเซียนเป็นกรณีพิเศษ เนื่องจากความต้องการเป็นอิสระจากการพึ่งพาต่างประเทศเพิ่มขึ้น ในปี 2534 มาเลเซียได้มีการปรับตัวเองขนานใหญ่ภายใต้แผนพัฒนาที่เรียกว่า “วิสัยทัศน์ 2020” หรือ “Vision 2020” (ภาษามาเลย์ใช้คำว่า “Wawasan 2020”) เน้นปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยกลายเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในแบบของมาเลเซียให้ได้ในปี 2020 โดยการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม และจากการทำงานตามวิสัยทัศน์ที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มาเลเซียกำลังใกล้จะบรรลุผลและจะนับเป็นประเทศที่สองในอาเซียน ต่อจากสิงคโปร์ที่จะได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและไปได้เร็วกว่าประเทศไทย
ในด้านบทบาทการเป็นประธานอาเซียน มาเลเซียได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 2 วันที่ 4-5 สิงหาคม พ.ศ.2520 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีการลงนามปฏิญญาของอาเซียน เพื่อกระชับความสัมพันธ์ให้ มั่นคง แข็งแรงและแข็งแกร่ง สามารถทำงานได้และมีความเป็นหนึ่งเดียว
และการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 11 วันที่ 12-14 ธันวาคม พ.ศ.2548 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ จนนำมาสู่ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ในเอเชียตะวันออก ปฏิญญาสถานการณ์ไข้หวัดนกในการป้องกัน ควบคุมและแก้ปัญหา รวมถึงการดำเนินการของโครงการเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนและสหพันธรัฐรัสเซีย 2005-2015 การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน กับประเทศจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ตลอดจนร่วมวางข้อกำหนดของกฎบัตรอาเซียน เป็นต้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทบาทของประเทศมาเลเซียนับตั้งแต่มาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 2500 เป็นต้นมาผู้นำและรัฐบาลมาเลเซียต่างให้ความสนใจต่อการร่วมมือในระดับภูมิภาคเป็นอย่างมากจนอาจกล่าวได้ว่ามาเลเซียเป็นประเทศแรกที่ริเริ่มและสนับสนุนแนวความคิดเกี่ยวกับภูมิภาคนิยม (Regionalism) อย่างแข็งขันเริ่มจากการก่อตั้งสมาคมอาสาสมาคมมาฟิลินโดกระทั่งมาถึงการรวมตัวก่อตั้งอาเซียนถึงแม้ว่ามาเลเซียจะไม่ได้เป็นประเทศผู้นำในการก่อตั้งอาเซียนแต่ก็ได้ให้ความร่วมมือตลอดมาโดยในปี 2522 มูลค่าการค้ามาเลเซียอาเซียนได้เพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าแสดงถึงนโยบายทางเศรษฐกิจใหม่ของมาเลเซียที่ได้ให้ความสำคัญกับประเทศในอาเซียนเป็นกรณีพิเศษเนื่องจากความต้องการเป็นอิสระจากการพึ่งพาต่างประเทศเพิ่มขึ้นในปี 2534 มาเลเซียได้มีการปรับตัวเองขนานใหญ่ภายใต้แผนพัฒนาที่เรียกว่า "วิสัยทัศน์ 2020" หรือ "วิสัยทัศน์ 2020" (ภาษามาเลย์ใช้คำว่า "แควร์ 2020") เน้นปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยกลายเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในแบบของมาเลเซียให้ได้ในปี 2020 โดยการพัฒนาทางเศรษฐกิจการเมืองสังคมและวัฒนธรรมและจากการทำงานตามวิสัยทัศน์ที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องส่งผลให้มาเลเซียกำลังใกล้จะบรรลุผลและจะนับเป็นประเทศที่สองในอาเซียนต่อจากสิงคโปร์ที่จะได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและไปได้เร็วกว่าประเทศไทย ในด้านบทบาทการเป็นประธานอาเซียนมาเลเซียได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 2 วันที่ 4-5 สิงหาคม พ.ศ.2520 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์โดยมีการลงนามปฏิญญาของอาเซียนเพื่อกระชับความสัมพันธ์ให้มั่นคงแข็งแรงและแข็งแกร่งสามารถทำงานได้และมีความเป็นหนึ่งเดียวและการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 11 วันที่ 12-14 ธันวาคม พ.ศ.2548 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์จนนำมาสู่ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ในเอเชียตะวันออกปฏิญญาสถานการณ์ไข้หวัดนกในการป้องกันควบคุมและแก้ปัญหารวมถึงการดำเนินการของโครงการเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนและสหพันธรัฐรัสเซีย 2005-2015 การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศจีนญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ตลอดจนร่วมวางข้อกำหนดของกฎบัตรอาเซียนเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

2500 เป็นต้นมา จนอาจกล่าวได้ว่า (ภูมิภาค) อย่างแข็งขันเริ่มจากการก่อตั้งสมาคมอาสา สมาคมมาฟิลินโด
2522 3 เท่า ในปี 2534 "วิสัยทัศน์ 2020" หรือ "วิสัยทัศน์ 2020" (ภาษามาเลย์ใช้คำว่า "Wawasan 2020") 2020 โดยการพัฒนาทางเศรษฐกิจการเมืองสังคมและ วัฒนธรรม
ครั้งที่ 2 วันที่ 4-5 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์โดยมีการลงนาม ปฏิญญาของอาเซียนเพื่อกระชับความสัมพันธ์ให้มั่นคงแข็งแรงและแข็งแกร่ง
ครั้งที่ 11 วันที่ 12-14 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ควบคุมและแก้ปัญหา 2005-2015 กับประเทศจีนญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ เป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทบาทของประเทศมาเลเซียนับตั้งแต่มาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 2500 เป็นต้นมาผู้นำและรัฐบาลมาเลเซียต่างให้ความสนใจต่อการร่วมมือในระดับภูมิภาคเป็นอย่างมากจนอาจกล่าวได้ว่ามาเลเซียเป็นประเทศแรกที่ริเริ่มและสนับสนุนแนวความคิดเกี่ยวกับภูมิภาคนิยม ( ภูมิภาค ) อย่างแข็งขันเริ่มจากการก่ อตั้งสมาคมอาสาสมาคมมาฟิลินโดกระทั่งมาถึงการรวมตัวก่อตั้งอาเซียนถึงแม้ว่ามาเลเซียจะไม่ได้เป็นประเทศผู้นำในการก่อตั้งอาเซียนแต่ก็ได้ให้ความร่วมมือตลอดมาโดยในปี 2522 มูลค่าการค้ามาเลเซีย - อาเซียนได้เพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าแสดงถึงนโยบายทางเศรษฐกิจใหม่ของมาเลเซียที่ได้ให้ความสำคัญกับประเทศในอาเซียนเป็นกรณีพิเศษเนื่องจากความต้องการเป็นอิสระจากการพึ่งพาต่างประเทศเพิ่มขึ้นสามารถมาเลเซียได้มีการปรับตัวเองขนานใหญ่ภาย 2534 ใต้แผนพัฒนาที่เรียกว่า " วิสัยทัศน์ 2020 " ค็อค " วิสัยทัศน์ 2020 " ( ภาษามาเลย์ใช้คำว่า " wawasan 2020 " ) เน้นปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยกลายเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในแบบของมาเลเซียให้ได้ในปี 2020 โดยการพัฒนาทางเศรษฐกิจการเมืองสังคมและวัฒนธรรมและจากการทำงานตามวิสัยทัศน์ที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่ องส่งผลให้มาเลเซียกำลังใกล้จะบรรลุผลและจะนับเป็นประเทศที่สองในอาเซียนต่อจากสิงคโปร์ที่จะได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและไปได้เร็วกว่าประเทศไทยในด้านบทบาทการเป็นประธานอาเซียนมาเลเซียได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 2 วันที่ 4-5 สิงหาคมพ . ศ . 2520 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์โดยมีการลงนามปฏิญญาของอาเซียนเพื่อกระชับความสัมพันธ์ให้มั่นคงแข็งแรงและแข็งแกร่งสามารถทำงานได้และมีความเป็นหนึ่งเดีย วและการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 11 วันที่ 12-14 ธันวาคมพ . ศ . 2548 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์จนนำมาสู่ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ในเอเชียตะวันออกปฏิญญาสถานการณ์ไข้หวัดนกในการป้องกันควบคุมและแก้ปัญหารวมถึงการดำเนินการของโครงการเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนและสห พันธรัฐรัสเซีย 2005-2015 การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศจีนญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ตลอดจนร่วมวา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: