ประวัติสุนทรภู่ วัยเด็ก (พ.ศ.๒๓๒๙ - ๒๓๔๙) แรกเกิด - อายุ ๒๐ ปี พระสุนท การแปล - ประวัติสุนทรภู่ วัยเด็ก (พ.ศ.๒๓๒๙ - ๒๓๔๙) แรกเกิด - อายุ ๒๐ ปี พระสุนท ไทย วิธีการพูด

ประวัติสุนทรภู่ วัยเด็ก (พ.ศ.๒๓๒๙ -








ประวัติสุนทรภู่
วัยเด็ก (พ.ศ.๒๓๒๙ - ๒๓๔๙) แรกเกิด - อายุ ๒๐ ปี

พระสุนทรโวหาร (ภู่) มีนามเดิมว่า ภู่ เป็นบุตรขุนศรีสังหาร (พลับ) และแม่ช้อย เกิดในรัชกาลที่ ๑ กรุงรัตนโกสินทร ์ เมื่อวันจันทร์ เดือนแปด ขึ้นหนึ่งค่ำ ปีมะเมีย จุลศักราช ๑๑๔๘ เวลาสองโมงเช้า ตรงกับวันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๒๙ ที่บ้านใกล้กำแพงวังหลัง คลองบางกอกน้อย
สุนทรภู่เกิดได้ไม่นาน บิดามารดาก็หย่าจากกัน ฝ่ายบิดากลับไปบวชที่บ้านกร่ำ เมืองแกลง ส่วนมารดา คงเป็นนางนมพระธิดา ในกรมพระราชวังหลัง (กล่าวกันว่าพระองค์เจ้าจงกล หรือเจ้าครอกทองอยู่) ได้แต่งงานมีสามีใหม่ และมีบุตรกับสามีใหม่ ๒ คน เป็นหญิง ชื่อฉิมและนิ่ม ตัวสุนทรภู่เองได้ถวายตัว เป็นข้าในกรมพระราชวังหลังตั้งแต่ยังเด็ก

สุนทรภู่เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน สันทัดทั้งสักวาและเพลงยาว เมื่อรุ่นหนุ่ม เกิดรักใคร่ชอบพอ กับนางข้าหลวง ในวังหลัง ชื่อแม่จัน ครั้นความทราบถึง กรมพระราชวังหลัง พระองค์ก็กริ้ว รับสั่งให้นำสุนทรภู่ และจันไปจองจำทันที แต่ทั้งสองถูกจองจำได้ไม่นาน

เมื่อกรมพระราชวังหลังเสด็จทิวงคตในปี พ.ศ. ๒๓๔๙ ทั้งสองก็พ้นโทษออกมา เพราะเป็นประเพณีแต่โบราณ ที่จะมีการ ปล่อยนักโทษ เพื่ออุทิศส่วนพระราชกุศลแด่ พระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์ ชั้นสูงเมื่อเสด็จสวรรคต หรือทิวงคตแล้ว แม้จะพ้นโทษ สุนทรภู่และจันก็ยังมิอาจสมหวังในรัก สุนทรภู่ถูกใช้ไปชลบุรี ดังความตอนหนึ่งในนิราศเมืองแกลงว่า

"จะกรวดน้ำคว่ำขันจนวันตาย แม้เจ้านายท่านไม่ใช้แล้วไม่มา"

แต่เจ้านายท่านใดใช้ไป และไปธุระเรื่องใดไม่ปรากฎ อย่างไรก็ดี สุนทรภู่ได้เดินทางเลยไปถึงบ้านกร่ำ เมืองแกลง จังหวัดระยอง เพื่อไปพบบิดาที่จากกันกว่า ๒๐ ปี สุนทรภู่เกิดล้มเจ็บหนักเกือบถึงชีวิต กว่าจะกลับมากรุงเทพฯ ก็ล่วงถึงเดือน ๙ ปี พ.ศ.๒๓๔๙


วัยฉกรรจ์ (พ.ศ.๒๓๕๐ - ๒๓๕๙) อายุ ๒๑ - ๓๐ ปี

หลังจากกลับจากเมืองแกลง สุนทรภู่ได้เป็นมหาดเล็กของพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ พระโอรสองค์เล็ก ของกรมพระราชวังหลัง ซึ่งทรงผนวชอยู่ที่วัดระฆัง ในช่วงนี้ สุนทรภู่ก็สมหวังในรัก ได้แม่จันเป็นภรรยา

สุนทรภู่คงเป็นคนเจ้าชู้ แต่งงานได้ไม่นาน ก็เกิดระหองระแหงกับแม่จัน ยังไม่ทันคืนดี สุนทรภู่ก็ต้อง ตามเสด็จพระองค์เจ้า ปฐมวงศ์ไปนมัสการพระพุทธบาท จ.สระบุรี ในวันมาฆบูชา สุนทรภู่ได้แต่งนิราศ เรื่องที่สองขึ้น คือ นิราศพระบาท สุนทรภู่ตามเสด็จกลับถึงกรุงเทพฯ ในเดือน ๓ ปี พ.ศ.๒๓๕๐

สุนทรภู่มีบุตรกับแม่จัน ๑ คน ชื่อหนูพัด แต่ชีวิตครอบครัวก็ยังไม่ราบรื่นนัก ในที่สุดแม่จันก็ร้างลาไป พระองค์เจ้าจงกล (เจ้าครอก ทองอยู่) ได้รับอุปการะหนูพัดไว้ ชีวิตของท่านสุนทรภู่ช่วงนี้คงโศกเศร้ามิใช่น้อย

ประวัติชีวิตของสุนทรภู่ในช่วงปี พ.ศ.๒๓๕๐ - ๒๓๕๙ ก่อนเข้ารับราชการ ไม่ชัดแจ้ง แต่เชื่อว่าท่าน หนีความเศร้าออกไป เพชรบุรี ทำไร่ทำนาอยู่กับหม่อมบุญนาคในพระราชวังหลัง ดังความตอนหนึ่งในนิราศ เมืองเพชร ที่ท่านย้อนรำลึกความหลัง สมัยหนุ่ม ว่า

"ถึงต้นตาลบ้านคุณหม่อมบุญนาค เมื่อยามยากจนมาได้อาศัย
มารดาเจ้าคราวพระวังหลังครรไล มาทำไร่ทำนา ท่านการุญ"



รับราชการครั้งที่ ๑ (พ.ศ.๒๓๕๙ - ๒๓๖๗) อายุ ๓๐ - ๓๘ ปี

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นมหากวีและทรงสนพระทัยเรื่องการละครเป็นอย่างยิ่ง ในรัชสมัยของ พระองค์ ได้กวดขันการฝึกหัดวิธีรำจนได้ที่ เป็นแบบอย่างของละครรำมาตราบทุกวันนี้ พระองค์ยังทรงพระราชนิพนธ์บทละคร ขึ้นใหม่อีกถึง ๗ เรื่อง มีเรื่องอิเหนาและเรื่องรามเกียรติ์ เป็นต้น

มูลเหตุที่สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการ น่าจะเนื่องมาจากเรื่องละครนี้เอง ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับกรณีทอดบัตรสนเท่ห์ เพราะจากกรณี บัตรสนเท่ห์นั้น คนที่มีส่วนเกี่ยวข้องถูกประหารชีวิตถึง ๑๐ คน แม้แต่ นายแหโขลน คนซื้อกระดาษดินสอ ก็ยังถูกประหารชีวิต ด้วย มีหรือสุนทรภู่จะรอดชีวิตมาได้ นอกจากนี้ สุนทรภู่เป็นแต่เพียงไพร่ มีชีวิตอยู่นอกวังหลวง ช่วงอายุก่อนหน้านี้ก็วนเวียน และเวียนใจอยู่กับเรื่องความรัก ที่ไหนจะมี เวลามายุ่งเกี่ยวกับเรื่องการเมือง

(กรณีวิเคราะห์นี้ มิได้รับรองโดยนักประวัติศาสตร์ เป็นความเห็นของคุณปราโมทย์ ทัศนาสุวรรณ เขียนไว้ในหนังสือ "เที่ยวไปกับสุนทรภู่" ซึ่งเห็นว่ามูลเหตุที่สุนทรภู่ได้เข้า รับราชการ น่าจะมาจากเรื่องละครมากกว่าเรื่องอื่น ซึ่งข้าพเจ้า พิเคราะห์ดูก็เห็นน่าจะจริง ผิดถูกเช่นไรโปรดใช้วิจารณญาณ)

อีกคราวหนึ่งเมื่อทรงพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ตอนศึกสิบขุนสิบรถ ทรงพระราชนิพนธ์บทชมรถทศกัณฐ์ว่า

"๏ รถที่นั่ง บุษบกบัลลังก์ตั้งตระหง่าน
กว้างยาวใหญ่เท่าเขาจักรวาล ยอดเยี่ยมเทียมวิมานเมืองแมน
ดุมวงกงหันเป็นควันคว้าง เทียมสิงห์วิ่งวางข้างละแสน
สารถีขี่ขับเข้าดงแดน พื้นแผ่นดินกระเด็นไปเป็นจุณ"

ทรงพระราชนิพนธ์มาได้เพียงนี้ ทรงนึกความที่จะต่อไปอย่างไรให้สมกับที่รถใหญ่โตปานนั้นก็นึกไม่ออก
จึงมีรับสั่งให้สุนทรภู่แต่งต่อ สุนทรภู่แต่งต่อว่า


"นทีตีฟองนองระลอก กระฉอกกระฉ่อนชลข้นขุ่น
เขาพระเมรุเอนเอียงอ่อนละมุน อนนต์หนุนดินดานสะท้านสะเทือน
ทวยหาญโห่ร้องก้องกัมปนาท สุธาวาสไหวหวั่นลั่นเลื่อน
บดบังสุริยันตะวันเดือน คลาดเคลื่อนจัตุรงค์ตรงมา"


กลอนบทนี้เป็นที่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยยิ่งนัก นับแต่นั้นก็นับสุนทรภู่เป็นกวีที่ปรึกษาด้วย
อีกคนหนึ่ง ทรงตั้งเป็นที่ขุนสุนทรโวหาร พระราชทานที่ให้ปลูกเรือนที่ท่าช้าง และให้มีตำแหน่งเฝ้าฯ เป็นนิจ
แม้เวลาเสด็จประพาสก็โปรดฯ ให้สุนทรภู่ลงเรือพระที่นั่งไปด้วย เป็นพนักงานอ่านเขียนในเวลาทรงพระราชนิพนธ์บทกลอน





ออกบวช (พ.ศ.๒๓๖๗ - ๒๓๘๕) อายุ ๓๘ - ๕๖ ปี

วันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๓๖๗ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต นอกจากแผ่นดินและผืนฟ้าจะร่ำไห้ ไพร่ธรรมดาคนหนึ่งที่มีโอกาสสูงสุดในชีวิต ได้เป็นถึงกวีที่ปรึกษา ในราชสำนักก็หมดวาสนาไปด้วย

"ทรงขัดเคืองสุนทรภู่ว่าแกล้งประมาทอีกครั้งหนึ่ง แต่นั้นก็ว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมึนตึงต่อสุนทรภู่มา จนตลอดรัชกาลที่ ๒ ... "

จะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ เพียงคิดได้ด้วยเฉพาะหน้าตรงนั้นก็ตาม สุนทรภู่ก็ได้ทำการไม่เป็นที่พอพระราชหฤทัย ประกอบกับ ความอาลัยเสียใจหนักหนาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สุนทรภู่ จึงลาออกจากราชการ และตั้งใจบวชเพื่อส
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติสุนทรภู่ วัยเด็ก (พ.ศ.๒๓๒๙ - ๒๓๔๙) แรกเกิด - อายุ ๒๐ ปี พระสุนทรโวหาร (ภู่) มีนามเดิมว่าภู่เป็นบุตรขุนศรีสังหาร (พลับ) และแม่ช้อยเกิดในรัชกาลที่ ๑ กรุงรัตนโกสินทรโทรศัพท์เมื่อวันจันทร์เดือนแปดขึ้นหนึ่งค่ำปีมะเมียจุลศักราช ๑๑๔๘ เวลาสองโมงเช้าตรงกับวันที่ ๒๖ มิถุนายนพ.ศ.๒๓๒๙ที่บ้านใกล้กำแพงวังหลังคลองบางกอกน้อย สุนทรภู่เกิดได้ไม่นานบิดามารดาก็หย่าจากกันฝ่ายบิดากลับไปบวชที่บ้านกร่ำเมืองแกลงส่วนมารดาคงเป็นนางนมพระธิดาในกรมพระราชวังหลัง (กล่าวกันว่าพระองค์เจ้าจงกลหรือเจ้าครอกทองอยู่) ได้แต่งงานมีสามีใหม่และมีบุตรกับสามีใหม่ ๒ คนเป็นหญิงชื่อฉิมและนิ่มตัวสุนทรภู่เองได้ถวายตัวเป็นข้าในกรมพระราชวังหลังตั้งแต่ยังเด็กสุนทรภู่เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนสันทัดทั้งสักวาและเพลงยาวเมื่อรุ่นหนุ่มเกิดรักใคร่ชอบพอกับนางข้าหลวงในวังหลังชื่อแม่จันครั้นความทราบถึงกรมพระราชวังหลังพระองค์ก็กริ้วรับสั่งให้นำสุนทรภู่และจันไปจองจำทันทีแต่ทั้งสองถูกจองจำได้ไม่นานเมื่อกรมพระราชวังหลังเสด็จทิวงคตในปีพ.ศ. ๒๓๔๙ ทั้งสองก็พ้นโทษออกมาเพราะเป็นประเพณีแต่โบราณที่จะมีการปล่อยนักโทษเพื่ออุทิศส่วนพระราชกุศลแด่พระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์ชั้นสูงเมื่อเสด็จสวรรคตหรือทิวงคตแล้วแม้จะพ้นโทษสุนทรภู่และจันก็ยังมิอาจสมหวังในรักสุนทรภู่ถูกใช้ไปชลบุรีดังความตอนหนึ่งในนิราศเมืองแกลงว่า"จะกรวดน้ำคว่ำขันจนวันตายแม้เจ้านายท่านไม่ใช้แล้วไม่มา"แต่เจ้านายท่านใดใช้ไปและไปธุระเรื่องใดไม่ปรากฎอย่างไรก็ดีสุนทรภู่ได้เดินทางเลยไปถึงบ้านกร่ำเมืองแกลงจังหวัดระยองเพื่อไปพบบิดาที่จากกันกว่า ๒๐ ปีสุนทรภู่เกิดล้มเจ็บหนักเกือบถึงชีวิตกว่าจะกลับมากรุงเทพฯ ก็ล่วงถึงเดือน ๙ ปีพ.ศ.๒๓๔๙วัยฉกรรจ์ (พ.ศ.๒๓๕๐ - ๒๓๕๙) อายุ ๒๑ - ๓๐ ปี หลังจากกลับจากเมืองแกลงสุนทรภู่ได้เป็นมหาดเล็กของพระองค์เจ้าปฐมวงศ์พระโอรสองค์เล็กของกรมพระราชวังหลังซึ่งทรงผนวชอยู่ที่วัดระฆังในช่วงนี้สุนทรภู่ก็สมหวังในรักได้แม่จันเป็นภรรยาสุนทรภู่คงเป็นคนเจ้าชู้แต่งงานได้ไม่นานก็เกิดระหองระแหงกับแม่จันยังไม่ทันคืนดีสุนทรภู่ก็ต้องตามเสด็จพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ไปนมัสการพระพุทธบาทจ.สระบุรีในวันมาฆบูชาสุนทรภู่ได้แต่งนิราศเรื่องที่สองขึ้นคือนิราศพระบาทสุนทรภู่ตามเสด็จกลับถึงกรุงเทพฯ ในเดือน ๓ ปีพ.ศ.๒๓๕๐ สุนทรภู่มีบุตรกับแม่จัน ๑ คนชื่อหนูพัดแต่ชีวิตครอบครัวก็ยังไม่ราบรื่นนักในที่สุดแม่จันก็ร้างลาไปพระองค์เจ้าจงกล (เจ้าครอกทองอยู่) ได้รับอุปการะหนูพัดไว้ชีวิตของท่านสุนทรภู่ช่วงนี้คงโศกเศร้ามิใช่น้อยประวัติชีวิตของสุนทรภู่ในช่วงปีพ.ศ.๒๓๕๐ - ๒๓๕๙ ก่อนเข้ารับราชการไม่ชัดแจ้งแต่เชื่อว่าท่านหนีความเศร้าออกไปเพชรบุรีทำไร่ทำนาอยู่กับหม่อมบุญนาคในพระราชวังหลังดังความตอนหนึ่งในนิราศเมืองเพชรที่ท่านย้อนรำลึกความหลังสมัยหนุ่มว่า "ถึงต้นตาลบ้านคุณหม่อมบุญนาคเมื่อยามยากจนมาได้อาศัยมารดาเจ้าคราวพระวังหลังครรไลมาทำไร่ทำนาท่านการุญ" รับราชการครั้งที่ ๑ (พ.ศ.๒๓๕๙ - ๒๓๖๗) อายุ ๓๐ - ๓๘ ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเป็นมหากวีและทรงสนพระทัยเรื่องการละครเป็นอย่างยิ่งในรัชสมัยของพระองค์ได้กวดขันการฝึกหัดวิธีรำจนได้ที่เป็นแบบอย่างของละครรำมาตราบทุกวันนี้พระองค์ยังทรงพระราชนิพนธ์บทละครขึ้นใหม่อีกถึง ๗ เรื่องมีเรื่องอิเหนาและเรื่องรามเกียรติ์เป็นต้น มูลเหตุที่สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการน่าจะเนื่องมาจากเรื่องละครนี้เองไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับกรณีทอดบัตรสนเท่ห์เพราะจากกรณีบัตรสนเท่ห์นั้นคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องถูกประหารชีวิตถึง ๑๐ คนแม้แต่นายแหโขลนคนซื้อกระดาษดินสอก็ยังถูกประหารชีวิตด้วยมีหรือสุนทรภู่จะรอดชีวิตมาได้นอกจากนี้สุนทรภู่เป็นแต่เพียงไพร่มีชีวิตอยู่นอกวังหลวงช่วงอายุก่อนหน้านี้ก็วนเวียนและเวียนใจอยู่กับเรื่องความรักที่ไหนจะมีเวลามายุ่งเกี่ยวกับเรื่องการเมือง(กรณีวิเคราะห์นี้มิได้รับรองโดยนักประวัติศาสตร์เป็นความเห็นของคุณปราโมทย์ทัศนาสุวรรณเขียนไว้ในหนังสือ "เที่ยวไปกับสุนทรภู่" ซึ่งเห็นว่ามูลเหตุที่สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการน่าจะมาจากเรื่องละครมากกว่าเรื่องอื่นซึ่งข้าพเจ้าพิเคราะห์ดูก็เห็นน่าจะจริงผิดถูกเช่นไรโปรดใช้วิจารณญาณ)อีกคราวหนึ่งเมื่อทรงพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ตอนศึกสิบขุนสิบรถทรงพระราชนิพนธ์บทชมรถทศกัณฐ์ว่า"๏รถที่นั่งบุษบกบัลลังก์ตั้งตระหง่าน กว้างยาวใหญ่เท่าเขาจักรวาลยอดเยี่ยมเทียมวิมานเมืองแมน ดุมวงกงหันเป็นควันคว้างเทียมสิงห์วิ่งวางข้างละแสน สารถีขี่ขับเข้าดงแดนพื้นแผ่นดินกระเด็นไปเป็นจุณ" ทรงพระราชนิพนธ์มาได้เพียงนี้ทรงนึกความที่จะต่อไปอย่างไรให้สมกับที่รถใหญ่โตปานนั้นก็นึกไม่ออก จึงมีรับสั่งให้สุนทรภู่แต่งต่อสุนทรภู่แต่งต่อว่า"นทีตีฟองนองระลอกกระฉอกกระฉ่อนชลข้นขุ่น เขาพระเมรุเอนเอียงอ่อนละมุนอนนต์หนุนดินดานสะท้านสะเทือนทวยหาญโห่ร้องก้องกัมปนาทสุธาวาสไหวหวั่นลั่นเลื่อน บดบังสุริยันตะวันเดือนคลาดเคลื่อนจัตุรงค์ตรงมา" กลอนบทนี้เป็นที่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยยิ่งนักนับแต่นั้นก็นับสุนทรภู่เป็นกวีที่ปรึกษาด้วยอีกคนหนึ่งทรงตั้งเป็นที่ขุนสุนทรโวหารพระราชทานที่ให้ปลูกเรือนที่ท่าช้างและให้มีตำแหน่งเฝ้าฯ เป็นนิจ แม้เวลาเสด็จประพาสก็โปรดฯ ให้สุนทรภู่ลงเรือพระที่นั่งไปด้วยเป็นพนักงานอ่านเขียนในเวลาทรงพระราชนิพนธ์บทกลอนออกบวช (พ.ศ.๒๓๖๗ - ๒๓๘๕) อายุ ๓๘ - ๕๖ ปี วันที่ ๒๑ กรกฎาคมพ.ศ.๒๓๖๗พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคตนอกจากแผ่นดินและผืนฟ้าจะร่ำไห้ไพร่ธรรมดาคนหนึ่งที่มีโอกาสสูงสุดในชีวิตได้เป็นถึงกวีที่ปรึกษาในราชสำนักก็หมดวาสนาไปด้วย"ทรงขัดเคืองสุนทรภู่ว่าแกล้งประมาทอีกครั้งหนึ่งแต่นั้นก็ว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมึนตึงต่อสุนทรภู่มาจนตลอดรัชกาลที่ ๒... "จะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจเพียงคิดได้ด้วยเฉพาะหน้าตรงนั้นก็ตามสุนทรภู่ก็ได้ทำการไม่เป็นที่พอพระราชหฤทัยประกอบกับความอาลัยเสียใจหนักหนาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยสุนทรภู่จึงลาออกจากราชการและตั้งใจบวชเพื่อส
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!







สุนทรภู่ประวัติวัยที่คุณเด็ก (พ.ศ. 2329-2349) แรกเกิด - อายุ 20 ปีพระสุนทรโวหาร(ภู่) มีนามเดิมว่าภู่เป็นบุตรขุนศรีสังหาร (พลับ) และแม่ช้อยเกิดในรัชกาลที่ 1 กรุงรัตนโก สินทร์เมื่อวันจันทร์เดือนแปดขึ้นหนึ่งค่ำปีมะเมียจุลศักราช 1148 เวลาสองโมงเช้าตรงกับวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 ที่บ้านใกล้กำแพงวังหลัง บิดามารดาก็หย่าจากกันฝ่ายบิดากลับไปบวชที่บ้านกร่ำเมืองแกลงส่วนมารดาคงเป็นนางนมพระธิดาในกรมพระราชวังหลัง (กล่าวกันว่าพระองค์เจ้าจงกลหรือเจ้าครอกทองอยู่) ได้แต่งงานมีสามีใหม่และมีบุตรกับสามีใหม่ 2 คนเป็นหญิงชื่อฉิมและนิ่มตัวสุนทรภู่เองได้ถวายตัว สันทัดทั้งสักวาและเพลงยาวเมื่อรุ่นหนุ่มเกิดรักใคร่ชอบพอกับนางข้าหลวงในวังหลังชื่อแม่จันครั้นความทราบถึงกรมพระราชวังหลังพระองค์ก็กริ้วรับสั่งให้นำสุนทรภู่และจันไปจองจำทันที พ.ศ. 2349 ทั้งสองก็พ้นโทษออกมาเพราะเป็นประเพณี แต่โบราณที่จะมีการปล่อยนักโทษเพื่ออุทิศส่วนพระราชกุศลแด่พระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์ชั้นสูงเมื่อเสด็จสวรรคตหรือทิวงคตแล้วแม้จะพ้นโทษ สุนทรภู่ถูกใช้ไปชลบุรี และไปธุระเรื่องใดไม่ปรากฎอย่างไรก็ดี เมืองแกลงจังหวัดระยองเพื่อไปพบบิดาที่จากกันกว่า 20 ปี กว่าจะกลับมากรุงเทพฯก็ล่วงถึงเดือน 9 ปี พ.ศ. 2349 วัยฉกรรจ์ (พ.ศ. 2350-2359) อายุ 21-30 ปีหลังจากกลับจากเนชั่เมืองแกลง พระโอรสองค์เล็กของกรมพระราชวังหลังซึ่งทรงผนวชอยู่ที่วัดระฆังในช่วงนี้สุนทรภู่ก็สมหวังในรัก แต่งงานได้ไม่นานก็เกิดระหองระแหงกับแม่จันยังไม่ทันคืนดีสุนทรภู่ก็ต้องตามเสด็จพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ไปนมัสการพระพุทธบาทจ. สระบุรีในวันมาฆบูชาสุนทรภู่ได้แต่งนิราศเรื่องที่สองขึ้นคือนิราศพระบาทสุนทรภู่ตามเสด็จกลับถึงกรุงเทพฯใน เดือนที่ 3 ปี พ.ศ. 2350 สุนทรภู่มีบุตรกับแม่จัน 1 คนชื่อหนูพัด ในที่สุดแม่จันก็ร้างลาไปพระองค์เจ้าจงกล (เจ้าครอกทองอยู่) ได้รับอุปการะหนูพัดไว้ พ.ศ. 2350 - 2359 ก่อนเข้ารับราชการไม่ชัดแจ้ง แต่เชื่อว่าท่านหนีความเศร้าออกไปเพชรบุรี ดังความตอนหนึ่งในนิราศเมืองเพชรที่ท่านย้อนรำลึกความหลังสมัยหนุ่มว่า"ถึงต้นตาลบ้านคุณหม่อมบุญนาค มาทำไร่ทำนาท่านการุญ "รับราชการครั้งที่1 (พ.ศ. 2359-2367) อายุ 30-38 ในรัชสมัยของพระองค์ได้กวดขันการฝึกหัดวิธีรำจนได้ที่ พระองค์ยังทรงพระราชนิพนธ์บทละครขึ้นใหม่อีกถึง 7 เรื่อง น่าจะเนื่องมาจากเรื่องละครนี้เอง เพราะจากกรณีบัตรสนเท่ห์นั้น 10 คนแม้แต่นายแหโขลนคนซื้อกระดาษดินสอก็ยังถูกประหารชีวิตด้วยมีหรือสุนทรภู่จะรอดชีวิตมาได้นอกจากนี้สุนทรภู่เป็น แต่เพียงไพร่มีชีวิตอยู่นอกวังหลวงช่วงอายุก่อนหน้านี้ก็วนเวียนและเวียนใจอยู่กับเรื่องความ รักที่ไหนจะมี มิได้รับรองโดยนักประวัติศาสตร์เป็นความเห็นของคุณปราโมทย์ทัศนาสุวรรณเขียนไว้ในหนังสือ "เที่ยวไปกับสุนทรภู่" รับราชการ ซึ่งข้าพเจ้าพิเคราะห์ดูก็เห็นน่าจะจริง ทรงพระราชนิพนธ์บทชมรถทศกัณฐ์ว่า"๏รถที่นั่ง ทรงตั้งเป็นที่ขุนสุนทรโวหาร ให้มีและตำแหน่งสมัครเฝ้าฯ เป็นนิจแม้เวลาเสด็จประพาสก็โปรดฯให้สุนทรภู่ลงเรือพระที่นั่งไปด้วย (พ.ศ. 2367-2385) อายุ 38-56 ปีการธนาคารวันที่21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 นอกจากแผ่นดินและผืนฟ้าจะร่ำไห้ ได้เป็นถึงกวีที่ปรึกษา ทรงมึนตึงต่อสุนทรภู่มาจนตลอดรัชกาลที่ 2 ... "จะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ ประกอบกับ สุนทรภู่จึงลาออกจากราชการและตั้งใจบวชเพื่อส




































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Which I could see, see it's true. Wrong is like PLS)
.
another time when he wrote about the study of ten Khun ten cars. He wrote the hit that car Ravana

"sacks and car seat. The towering boundary.
aspect as big as he universe. Artificial paradise wonderful insightec
.






ประวัติสุนทรภู่
วัยเด็ก ( พ . ศ . ๒๓๒๙ - ๒๓๔๙ ) แรกเกิด - Place of Birth ๒๐

.พระสุนทรโวหาร ( ภู่ ) มีนามเดิมว่าภู่เป็นบุตรขุนศรีสังหาร ( พลับ ) และแม่ช้อยเกิดในรัชกาลที่๑กรุงรัตนโกสินทร์เมื่อวันจันทร์เดือนแปดขึ้นหนึ่งค่ำปีมะเมียจุลศักราช๑๑๔๘เวลาสองโมงเช้าตรงกับวันที่๒๖ศ๒๓๒๙ที่บ้านใกล้กำแพงวังหลังคลองบางกอกน้อย
.พ .สุนทรภู่เกิดได้ไม่นานบิดามารดาก็หย่าจากกันฝ่ายบิดากลับไปบวชที่บ้านกร่ำเมืองแกลงส่วนมารดาคงเป็นนางนมพระธิดาในกรมพระราชวังหลัง ( กล่าวกันว่าพระองค์เจ้าจงกลหรือเจ้าครอกทองอยู่ ) ได้แต่งงานมีสามีใหม่๒คนเป็นหญิงชื่อฉิมและนิ่มตัวสุนทรภู่เองได้ถวายตัวเป็นข้าในกรมพระราชวังหลังตั้งแต่ยังเด็ก

สุนทรภู่เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนสันทัดทั้งสักวาและเพลงยาวเมื่อรุ่นหนุ่มเกิดรักใคร่ชอบพอกับนางข้าหลวงในวังหลังชื่อแม่จันครั้นความทราบถึงกรมพระราชวังหลังพระองค์ก็กริ้วรับสั่งให้นำสุนทรภู่แต่ทั้งสองถูกจองจำได้ไม่นาน

เมื่อกรมพระราชวังหลังเสด็จทิวงคตในปีพ . ศ .๒๓๔๙ทั้งสองก็พ้นโทษออกมาเพราะเป็นประเพณีแต่โบราณที่จะมีการปล่อยนักโทษเพื่ออุทิศส่วนพระราชกุศลแด่พระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์ชั้นสูงเมื่อเสด็จสวรรคตหรือทิวงคตแล้วแม้จะพ้นโทษสุนทรภู่ถูกใช้ไปชลบุรีดังความตอนหนึ่งในนิราศเมืองแกลงว่า


" จะกรวดน้ำคว่ำขันจนวันตายแม้เจ้านายท่านไม่ใช้แล้วไม่มา "แต่เจ้านายท่านใดใช้ไปและไปธุระเรื่องใดไม่ปรากฎอย่างไรก็ดีสุนทรภู่ได้เดินทางเลยไปถึงบ้านกร่ำเมืองแกลงจังหวัดระยองเพื่อไปพบบิดาที่จากกันกว่า๒๐สุนทรภู่เกิดล้มเจ็บหนักเกือบถึงชีวิต .ก็ล่วงถึงเดือนซ้งโคย . พ .ศ . ๒๓๔๙


วัยฉกรรจ์ ( พ . ศ . ๒๓๕๐ - ๒๓๕๙ ) Place of Birth ๒๑ - ๓๐

.หลังจากกลับจากเมืองแกลงสุนทรภู่ได้เป็นมหาดเล็กของพระองค์เจ้าปฐมวงศ์พระโอรสองค์เล็กของกรมพระราชวังหลังซึ่งทรงผนวชอยู่ที่วัดระฆังในช่วงนี้สุนทรภู่ก็สมหวังในรักได้แม่จันเป็นภรรยา

สุนทรภู่คงเป็นคนเจ้าชู้แต่งงานได้ไม่นานก็เกิดระหองระแหงกับแม่จันยังไม่ทันคืนดีสุนทรภู่ก็ต้องตามเสด็จพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ไปนมัสการพระพุทธบาท . . . .สระบุรีในวันมาฆบูชาสุนทรภู่ได้แต่งนิราศเรื่องที่สองขึ้นความนิราศพระบาทสุนทรภู่ตามเสด็จกลับถึงกรุงเทพฯกันในเดือน . พ . ศ๒๓๕๐

.ประวัติชีวิตของสุนทรภู่ในช่วงปีพ . ศ .สุนทรภู่มีบุตรกับแม่จัน๑คนชื่อหนูพัดแต่ชีวิตครอบครัวก็ยังไม่ราบรื่นนักในที่สุดแม่จันก็ร้างลาไปพระองค์เจ้าจงกล ( เจ้าครอกทองอยู่ ) ได้รับอุปการะหนูพัดไว้ชีวิตของท่านสุนทรภู่ช่วงนี้คงโศกเศร้ามิใช่น้อย

" ถึงต้นตาลบ้านคุณหม่อมบุญนาคเมื่อยามยากจนมาได้อาศัย
มารดาเจ้าคราวพระวังหลังครรไลมาทำไร่ทำนาท่านการุญ "



รับราชการครั้งที่๑ ( พ . ศ . ๒๓๕๙ - ๒๓๖๗ ) Place of Birth ๓๐ - ๓๘

.๒๓๕๐ - ๒๓๕๙ก่อนเข้ารับราชการไม่ชัดแจ้งแต่เชื่อว่าท่านหนีความเศร้าออกไปเพชรบุรีทำไร่ทำนาอยู่กับหม่อมบุญนาคในพระราชวังหลังดังความตอนหนึ่งในนิราศเมืองเพชรที่ท่านย้อนรำลึกความหลังสมัยหนุ่มว่า

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเป็นมหากวีและทรงสนพระทัยเรื่องการละครเป็นอย่างยิ่งในรัชสมัยของพระองค์ได้กวดขันการฝึกหัดวิธีรำจนได้ที่เป็นแบบอย่างของละครรำมาตราบทุกวันนี้ขึ้นใหม่อีกถึง๗เรื่องมีเรื่องอิเหนาและเรื่องรามเกียรติ์เป็นต้น

มูลเหตุที่สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการน่าจะเนื่องมาจากเรื่องละครนี้เองไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับกรณีทอดบัตรสนเท่ห์เพราะจากกรณีบัตรสนเท่ห์นั้นคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องถูกประหารชีวิตถึง๑๐คนแม้แต่นายแหโขลนก็ยังถูกประหารชีวิตด้วยมีหรือสุนทรภู่จะรอดชีวิตมาได้นอกจากนี้สุนทรภู่เป็นแต่เพียงไพร่มีชีวิตอยู่นอกวังหลวงช่วงอายุก่อนหน้านี้ก็วนเวียนและเวียนใจอยู่กับเรื่องความรักที่ไหนจะมี
( กรณีวิเคราะห์นี้มิได้รับรองโดยนักประวัติศาสตร์เป็นความเห็นของคุณปราโมทย์ทัศนาสุวรรณเขียนไว้ในหนังสือ " เที่ยวไปกับสุนทรภู่ " ซึ่งเห็นว่ามูลเหตุที่สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการซึ่งข้าพเจ้าพิเคราะห์ดูก็เห็นน่าจะจริงผิดถูกเช่นไรโปรดใช้วิจารณญาณ )

อีกคราวหนึ่งเมื่อทรงพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ตอนศึกสิบขุนสิบรถทรงพระราชนิพนธ์บทชมรถทศกัณฐ์ว่า

" นะ

รถที่นั่งบุษบกบัลลังก์ตั้งตระหง่านกว้างยาวใหญ่เท่าเขาจักรวาลยอดเยี่ยมเทียมวิมานเมืองแมนดุมวงกงหันเป็นควันคว้างเทียมสิงห์วิ่งวางข้างละแสน
สารถีขี่ขับเข้าดงแดนพื้นแผ่นดินกระเด็นไปเป็นจุณ "

ทรงพระราชนิพนธ์มาได้เพียงนี้ทรงนึกความที่จะต่อไปอย่างไรให้สมกับที่รถใหญ่โตปานนั้นก็นึกไม่ออก
จึงมีรับสั่งให้สุนทรภู่แต่งต่อสุนทรภู่แต่งต่อว่า


" นทีตีฟองนองระลอกกระฉอกกระฉ่อนชลข้นขุ่นอนนต์หนุนดินดานสะท้านสะเทือนทวยหาญโห่ร้องก้องกัมปนาทสุธาวาสไหวหวั่นลั่นเลื่อน


เขาพระเมรุเอนเอียงอ่อนละมุนบดบังสุริยันตะวันเดือนคลาดเคลื่อนจัตุรงค์ตรงมา "



กลอนบทนี้เป็นที่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยยิ่งนักนับแต่นั้นก็นับสุนทรภู่เป็นกวีที่ปรึกษาด้วยอีกคนหนึ่งทรงตั้งเป็นที่ขุนสุนทรโวหารพระราชทานที่ให้ปลูกเรือนที่ท่าช้างและให้มีตำแหน่งเฝ้าฯเป็นนิจ
๒๓๖๗พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคตนอกจากแผ่นดินและผืนฟ้าจะร่ำไห้ไพร่ธรรมดาคนหนึ่งที่มีโอกาสสูงสุดในชีวิตได้เป็นถึงกวีที่ปรึกษาในราชสำนักก็หมดวาสนาไปด้วย

" ทรงขัดเคืองสุนทรภู่ว่าแกล้งประมาทอีกครั้งหนึ่งแต่นั้นก็ว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมึนตึงต่อสุนทรภู่มาจนตลอดรัชกาลที่๒ . . . . . . . "

จะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจเพียงคิดได้ด้วยเฉพาะหน้าตรงนั้นก็ตามสุนทรภู่ก็ได้ทำการไม่เป็นที่พอพระราชหฤทัยประกอบกับความอาลัยเสียใจหนักหนาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยสุนทรภู่จึงลาออกจากราชการแม้เวลาเสด็จประพาสก็โปรดฯให้สุนทรภู่ลงเรือพระที่นั่งไปด้วยเป็นพนักงานอ่านเขียนในเวลาทรงพระราชนิพนธ์บทกลอน





ออกบวช ( พ . ศ . ๒๓๖๗ - ๒๓๘๕ ) Place of Birth ๓๘ - ๕๖ .

วันที่๒๑กรกฎาคมพ . ศ .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: