นำเข้า-ส่งออกอาเซียน (AEC)ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Comm การแปล - นำเข้า-ส่งออกอาเซียน (AEC)ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Comm ไทย วิธีการพูด

นำเข้า-ส่งออกอาเซียน (AEC)ประชาคมเศ

นำเข้า-ส่งออกอาเซียน (AEC)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community – AEC) เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และ บรูไน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองกับคู่ค้า และเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจระดับโลก รวมถึงมีการยกเว้นภาษีสินค้าบางชนิดให้กับประเทศสมาชิก ส่งเสริมให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง มั่นคง ประชาชนอยู่ดีกินดี

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ถือว่าเป็นหนึ่งเสาหลักที่สำคัญในประชาคมอาเซียน ที่ประเทศสมาชิกลงนามในปฏิญญาให้เป็นประชาคมเดียวกันโดยมีผลในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558

ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC

1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า จากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ภาษีจะเปิดโอกาสให้สินค้า เคลื่อนย้ายเสรี

2. คาดว่า การส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ำกว่า 18 - 20% ต่อปี

3. เปิดโอกาสการค้าบริการ ในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและร้านอาหาร สุขภาพ ทำให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น

4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้น อุปสรรคการลงทุนระหว่างอาเซียน จะลดลง อาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมจีนและอินเดีย

5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน/เป็นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับอาเซียนอื่น ทำให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Comparative Advantage) และลดต้นทุนการผลิต

6. เพิ่มอำนาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก สร้างความเชื่อมั่นให้ประชาคมโลก

7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงว่า AEC จะทำให้รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ



จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะสร้างโอกาสในทางธุรกิจให้เพิ่มมากขึ้น ทั้งในส่วนของตลาดที่จะกว้างขึ้น และการเข้าถึงวัตถุดิบการผลิตจากประเทศในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน



บริษัท ไอเคเคไอ ชิปปิ้ง แอนด์ เทรดดิ้ง จำกัด หรือ นำเข้า-ไชน่า.com ขอนำเสนอบริการที่จะช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกให้กับท่าน

การนำเข้าสินค้าจากประเทศกลุ่มอาเซียนมายังประเทศไทย

บริการขนส่งสินค้า ดำเนินพิธีการศุลกากรสินค้าขาเข้าจากประเทศกลุ่มอาเซียนมายังประเทศไทย ทั้งทางเรือ และทางเครื่องบิน
บริการติดต่อประสานงานสั่งซื้อสินค้า
บริการจองโรงแรมที่พัก ตั๋วเครื่องบิน ทำวีซ่า
บริการรับชำระค่าสินค้าเป็นเงิน USD
การส่งออกสินค้าจากไทยไปยังประเทศกลุ่มอาเซียน

บริการการขนส่งทั้งแบบไม่เต็มตู้ (LCL) และเต็มตู้ (FCL) จากประเทศไทยไปยังทุกเมืองท่าในกลุ่มอาเซียนทางเรือ และทางเครื่องบิน
บริการดำเนินพิธีการศุลการขาออกจากประเทศไทย
บริการแพคกิ้งสินค้าเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการส่งออก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
นำเข้า-ส่งออกอาเซียน (AEC)ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน – AEC) เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศประกอบด้วยไทยพม่าลาวเวียดนามมาเลเซียสิงคโปร์อินโดนีเซียฟิลิปปินส์กัมพูชาและบรูไนเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองกับคู่ค้าและเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจระดับโลกรวมถึงมีการยกเว้นภาษีสินค้าบางชนิดให้กับประเทศสมาชิกส่งเสริมให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่งมั่นคงประชาชนอยู่ดีกินดี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนถือว่าเป็นหนึ่งเสาหลักที่สำคัญในประชาคมอาเซียนที่ประเทศสมาชิกลงนามในปฏิญญาให้เป็นประชาคมเดียวกันโดยมีผลในวันที่ 1 มกราคมพ.ศ. 2558ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้าจากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ภาษีจะเปิดโอกาสให้สินค้าเคลื่อนย้ายเสรี 2. คาดว่าการส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ำกว่า 18-20% ต่อปี 3. เปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็งเช่นท่องเที่ยวทำให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้นโรงแรมและร้านอาหารสุขภาพ 4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้น อุปสรรคการลงทุนระหว่างอาเซียน จะลดลง อาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมจีนและอินเดีย 5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน/เป็นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับอาเซียนอื่น ทำให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Comparative Advantage) และลดต้นทุนการผลิต 6. เพิ่มอำนาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก สร้างความเชื่อมั่นให้ประชาคมโลก 7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศผลการศึกษาแสดงว่า AEC จะทำให้รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะสร้างโอกาสในทางธุรกิจให้เพิ่มมากขึ้นทั้งในส่วนของตลาดที่จะกว้างขึ้นและการเข้าถึงวัตถุดิบการผลิตจากประเทศในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บริษัท ไอเคเคไอ ชิปปิ้ง แอนด์ เทรดดิ้ง จำกัด หรือ นำเข้า-ไชน่า.com ขอนำเสนอบริการที่จะช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกให้กับท่านการนำเข้าสินค้าจากประเทศกลุ่มอาเซียนมายังประเทศไทยบริการขนส่งสินค้า ดำเนินพิธีการศุลกากรสินค้าขาเข้าจากประเทศกลุ่มอาเซียนมายังประเทศไทย ทั้งทางเรือ และทางเครื่องบินบริการติดต่อประสานงานสั่งซื้อสินค้าบริการจองโรงแรมที่พัก ตั๋วเครื่องบิน ทำวีซ่าบริการรับชำระค่าสินค้าเป็นเงิน USDการส่งออกสินค้าจากไทยไปยังประเทศกลุ่มอาเซียนบริการการขนส่งทั้งแบบไม่เต็มตู้ (LCL) และเต็มตู้ (FCL) จากประเทศไทยไปยังทุกเมืองท่าในกลุ่มอาเซียนทางเรือ และทางเครื่องบินบริการดำเนินพิธีการศุลการขาออกจากประเทศไทยบริการแพคกิ้งสินค้าเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการส่งออก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
นำเข้า - ส่งออกอาเซียน (AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community - AEC) 10 ประเทศประกอบด้วยไทยพม่าลาวเวียดนามมาเลเซียสิงคโปร์อินโดนีเซียฟิลิปปินส์กัมพูชาและบรูไนเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองกับคู่ค้า มั่นคง 1 มกราคม พ.ศ. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือเออีซี1 ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า เคลื่อนย้ายเสรี2 คาดว่า 18-20% ต่อปี3 เปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็งเช่นท่องเที่ยวโรงแรมและร้านอาหารสุขภาพ สร้างเสริมโอกาสการลงทุน อุปสรรคการลงทุนระหว่างอาเซียนจะลดลง ทำให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Comparative Advantage) และลดต้นทุนการผลิต6 สร้างความเชื่อมั่นให้ประชาคมโลก7 ผลการศึกษาแสดงว่า AEC 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 ทั้งในส่วนของตลาดที่จะกว้างขึ้น ไอเคเคไอชิปปิ้งแอนด์เทรดดิ้ง จำกัด หรือนำเข้า. - ไชน่าดอทคอมขอนำเสนอบริการที่จะช่วยเหลือ ทั้งทางเรือ ตั๋วเครื่องบิน (LCL) และเต็มตู้ (FCL)








































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
นำเข้า - ส่งออกอาเซียน ( AEC )

AEBF ( Asia-Europe Business Forum ) ( อาเซียนเศรษฐกิจชุมชน ( ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ) เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศประกอบด้วยไทยพม่าลาวเวียดนามมาเลเซียสิงคโปร์อินโดนีเซียฟิลิปปินส์กัมพูชาและบรูไนและเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจระดับโลกรวมถึงมีการยกเว้นภาษีสินค้าบางชนิดให้กับประเทศสมาชิกส่งเสริมให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่งมั่นคงประชาชนอยู่ดีกินดี

AEBF ( Asia-Europe Business Forum ) ถือว่าเป็นหนึ่งเสาหลักที่สำคัญในประชาคมอาเซียนที่ประเทศสมาชิกลงนามในปฏิญญาให้เป็นประชาคมเดียวกันโดยมีผลในวันที่ 1 มกราคมพ . ศ . 2558

ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็น AEBF ( Asia-Europe Business Forum ) ค็อค AEC

1 ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้าจากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ภาษีจะเปิดโอกาสให้สินค้าเคลื่อนย้ายเสรี

2คาดว่าการส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ำกว่า 18 - 20 % ต่อปี

3เปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็งเช่นท่องเที่ยวโรงแรมและร้านอาหารสุขภาพทำให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น

4 .สร้างเสริมโอกาสการลงทุนเมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้นอุปสรรคการลงทุนระหว่างอาเซียนจะลดลงอาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมจีนและอินเดีย

5เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทยเมื่อมีการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน / เป็นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับอาเซียนอื่นทำให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขัน ( ความได้เปรียบ ) และลดต้นทุนการผลิต

6เพิ่มอำนาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลกสร้างความเชื่อมั่นให้ประชาคมโลก

7 ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศผลการศึกษาแสดงว่า AEC จะทำให้รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 53 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ



การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: