แก๊สชีวภาพ พ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริทดลองผล การแปล - แก๊สชีวภาพ พ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริทดลองผล ไทย วิธีการพูด

แก๊สชีวภาพ พ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็จพร

แก๊สชีวภาพ

พ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริทดลองผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลโคนม โดยนำเศษวัสดุจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เศษพืช และมูลสัตว์มาหมักในถังหรือบ่อที่มีสภาพไร้อากาศในช่วงเวลาหนึ่งเพื่อให้เกิดแก๊สชีวภาพ ซึ่งกว่าร้อยละ 50 โดยปริมาตร เป็นแก๊สมีเทนที่มี6 คุณสมบัติจุดติดไฟและให้ความร้อนได้ มีน้ำหนักเบากว่าอากาศและไม่มีกลิ่น ส่วนแก๊สที่เหลือ
ประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และแก๊สอื่น ๆ อีกหลายชนิด ต่อจากนั้นนำแก๊สชีวภาพที่ได้จากการหมักมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการให้ความร้อนแก่ระบบการผลิตโรงงานแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เป็นการสร้างประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้และได้พลังงานทดแทนแบบยั่งยืน เพื่อให้เกิดการทดแทนการใช้พลังงานจากฟอสซิล และเป็นแหล่งพลังงานสำรองในคราวที่จะเกิดวิกฤติการณ์พลังงานขาดแคลนในอนาคตข้างหน้า

เชื้อเพลิงเขียว

พ.ศ. 2530 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้ทำการศึกษาวิจัยการผลิตเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวาในบริเวณบึงมักกะสัน พบว่าเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวามีค่าความร้อนประมาณ 2,800 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของเชื้อเพลิงเขียว และเมื่อนำเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวาไปเผาถ่านแบบอิฐก่อ พบว่าถ่านเชื้อเพลิงเขียวจะมีค่าความร้อนประมาณ 3,000 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของถ่านเชื้อเพลิงเขียว การผลิตเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวา นอกจากจะเป็นประโยชน์ในด้านเชื้อเพลิงแล้ว ยังเป็นการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางน้ำอีกด้วย ใน พ.ศ. 2532 งานวิจัยและพัฒนา โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ได้ทำการศึกษาวิจัยการผลิตเชื้อเพลิงเขียวผสมกับขี้เลื่อยจากถุงเพาะเห็ดภายหลังจากที่เก็บดอกเห็ดในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 พบว่ามีค่าความร้อนประมาณ 3,500 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของเชื้อเพลิงเขียวนอกจากนี้ โครงการส่วนพระองค์ยังสนใจพัฒนาเชื้อเพลิงแท่งจากวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ซึ่งได้แก่ ชานอ้อย และเปลือกส้ม เป็นต้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แก๊สชีวภาพ

พ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริทดลองผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลโคนม โดยนำเศษวัสดุจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เศษพืช และมูลสัตว์มาหมักในถังหรือบ่อที่มีสภาพไร้อากาศในช่วงเวลาหนึ่งเพื่อให้เกิดแก๊สชีวภาพ ซึ่งกว่าร้อยละ 50 โดยปริมาตร เป็นแก๊สมีเทนที่มี6 คุณสมบัติจุดติดไฟและให้ความร้อนได้ มีน้ำหนักเบากว่าอากาศและไม่มีกลิ่น ส่วนแก๊สที่เหลือ
ประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และแก๊สอื่น ๆ อีกหลายชนิด ต่อจากนั้นนำแก๊สชีวภาพที่ได้จากการหมักมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการให้ความร้อนแก่ระบบการผลิตโรงงานแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เป็นการสร้างประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้และได้พลังงานทดแทนแบบยั่งยืน เพื่อให้เกิดการทดแทนการใช้พลังงานจากฟอสซิล และเป็นแหล่งพลังงานสำรองในคราวที่จะเกิดวิกฤติการณ์พลังงานขาดแคลนในอนาคตข้างหน้า

เชื้อเพลิงเขียว

พ.ศ. 2530 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้ทำการศึกษาวิจัยการผลิตเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวาในบริเวณบึงมักกะสัน พบว่าเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวามีค่าความร้อนประมาณ 2,800 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของเชื้อเพลิงเขียว และเมื่อนำเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวาไปเผาถ่านแบบอิฐก่อ พบว่าถ่านเชื้อเพลิงเขียวจะมีค่าความร้อนประมาณ 3,000 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของถ่านเชื้อเพลิงเขียว การผลิตเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวา นอกจากจะเป็นประโยชน์ในด้านเชื้อเพลิงแล้ว ยังเป็นการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางน้ำอีกด้วย ใน พ.ศ. 2532 งานวิจัยและพัฒนา โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ได้ทำการศึกษาวิจัยการผลิตเชื้อเพลิงเขียวผสมกับขี้เลื่อยจากถุงเพาะเห็ดภายหลังจากที่เก็บดอกเห็ดในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 พบว่ามีค่าความร้อนประมาณ 3,500 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของเชื้อเพลิงเขียวนอกจากนี้ โครงการส่วนพระองค์ยังสนใจพัฒนาเชื้อเพลิงแท่งจากวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ซึ่งได้แก่ ชานอ้อย และเปลือกส้ม เป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
แก๊สชีวภาพพ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เศษพืช ซึ่งกว่าร้อยละ 50 โดยปริมาตรเป็นแก๊สมีเทนที่มี 6 แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และแก๊สอื่น ๆ อีกหลายชนิด ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา 2530 2,800 3,000 การผลิตเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวา ใน พ.ศ. 2532 งานวิจัยและพัฒนาโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา 1 ต่อ 1 พบว่ามีค่าความร้อนประมาณ 3,500 ซึ่ง ได้แก่ ชานอ้อยและเปลือกส้มเป็นต้น







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
แก๊สชีวภาพ

พ . ศ .2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริทดลองผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลโคนมโดยนำเศษวัสดุจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเศษพืชซึ่งกว่าร้อยละ 50 โดยปริมาตรเป็นแก๊สมีเทนที่มีคุณสมบัติจุดติดไฟและให้ความร้อนได้มีน้ำหนักเบากว่าอากาศและไม่มีกลิ่นส่วนแก๊สที่เหลือ
6ประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และแก๊สอื่นจะอีกหลายชนิดต่อจากนั้นนำแก๊สชีวภาพที่ได้จากการหมักมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการให้ความร้อนแก่ระบบการผลิตโรงงานแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเป็นการสร้างประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้และได้พลังงานทดแทนแบบยั่งยืนเพื่อให้เกิดการทดแทนการใช้พลังงานจากฟอสซิลและเป็นแหล่งพลังงานสำรองในคราวที่จะเกิดวิกฤติการณ์พลังงานขาดแคลนในอนาคตข้างหน้า



เชื้อเพลิงเขียวพ . ศ . 2530 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้ทำการศึกษาวิจัยการผลิตเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวาในบริเวณบึงมักกะสันพบว่าเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวามีค่าความร้อนประมาณ 2800 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของเชื้อเพลิงเขียวและเมื่อนำเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวาไปเผาถ่านแบบอิฐก่อพบว่าถ่านเชื้อเพลิงเขียวจะมีค่าความร้อนประมาณ 3000 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของถ่านเชื้อเพลิงเขียวการผลิตเชื้อเพลิงเขียวจากผักตบชวานอกจากจะเป็นประโยชน์ในด้านเชื้อเพลิงแล้วยังเป็นการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางน้ำอีกด้วย the พ . ศ .2532 งานวิจัยและพัฒนาโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้ทำการศึกษาวิจัยการผลิตเชื้อเพลิงเขียวผสมกับขี้เลื่อยจากถุงเพาะเห็ดภายหลังจากที่เก็บดอกเห็ดในอัตราส่วน 1 ใหม่ให้ 1 พบว่ามีค่าความร้อนประมาณ 3500 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของเชื้อเพลิงเขียวนอกจากนี้โครงการส่วนพระองค์ยังสนใจพัฒนาเชื้อเพลิงแท่งจากวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรซึ่งได้แก่ชานอ้อยและเปลือกส้มเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: