ปริญญานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาการยึดเกาะของวัสดุเสริมแรงที่อยู่ในเนื้อพื้ การแปล - ปริญญานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาการยึดเกาะของวัสดุเสริมแรงที่อยู่ในเนื้อพื้ ไทย วิธีการพูด

ปริญญานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาการยึดเก

ปริญญานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาการยึดเกาะของวัสดุเสริมแรงที่อยู่ในเนื้อพื้นวัสดุเนื้อพื้นอะลูมิเนียมเกรด AC4C และ วัสดุเสริมแรงคือ อนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ขนาด 65 ไมครอน โดยทำการศึกษาการเตรียมผิวของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ด้วยกระบวนการทางความร้อน ที่อุณหภูมิ 1,000 และ 1,100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2, 4 และ 6 ชั่วโมงตามลำดับ เพื่อเพิ่มความสามารถในการเปียกผิวของวัสดุเสริมแรง และนำไปหลอมผสมกับอะลูมิเนียม 5% โดยน้ำหนัก ด้วยกระบวนการขึ้นรูปโลหะแบบกึ่งแข็ง ซึ่งขั้นตอนประกอบไปด้วย การกวนน้ำโลหะด้วยแรงทางกล 230 รอบต่อนาที และเทผ่านรางเทมุม 45 องศา จากนั้นนำไปตรวจสอบการยึดเกาะและการกระจายตัวของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ และทดสอบสมบัติทางกล
เมื่อเติมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวด้วยกระบวนการทางความร้อนลงในอะลูมิเนียม พบว่ามีปริมาณของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่แทรกฝังอยู่ในเนื้อพื้นอะลูมิเนียม มีค่าเฉลี่ยใกล้เคียงกับการเติมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ไม่ผ่านการเตรียมผิว เมื่อนำชิ้นงานไปขัดด้วยกระดาษทรายเพื่อตรวจสอบโครงสร้างจุลภาคพบว่ามีการหลุดออกของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์
สมบัติทางกลของอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวและไม่เตรียมผิว มีความสามารถในการรับแรงกระแทกมีค่าเท่ากับ 14.33 J และ 17 J ตามลำดับ ความสามารถในการรับแรงดึงมีค่าเท่ากับ 249.63 และ 256.44 MPa ตามลำดับ และค่าการทดสอบความแข็งมีค่าเท่ากับ 116.9 และ 117.2 HB ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าสมบัติทางกลของอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวและอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ไม่ผ่านการเตรียมผิวมีสมบัติทางกลไม่แตกต่างกัน จึงเห็นได้ว่าการเตรียมผิวด้วยกระบวนการทางความร้อนไม่มีผลต่อการกระจายตัวและการยึดเกาะในอะลูมิเนียม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ปริญญานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาการยึดเกาะของวัสดุเสริมแรงที่อยู่ในเนื้อพื้นวัสดุเนื้อพื้นอะลูมิเนียมเกรด AC4C และวัสดุเสริมแรงคืออนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ขนาด 65 ไมครอนโดยทำการศึกษาการเตรียมผิวของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ด้วยกระบวนการทางความร้อนที่อุณหภูมิ 1000 และ 1100 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 2, 4 และ 6 ชั่วโมงตามลำดับเพื่อเพิ่มความสามารถในการเปียกผิวของวัสดุเสริมแรงและนำไปหลอมผสมกับอะลูมิเนียมโดยน้ำหนัก 5% ด้วยกระบวนการขึ้นรูปโลหะแบบกึ่งแข็งซึ่งขั้นตอนประกอบไปด้วยการกวนน้ำโลหะด้วยแรงทางกล 230 รและทดสอบสมบัติทางกลอบต่อนาทีและเทผ่านรางเทมุม 45 องศาจากนั้นนำไปตรวจสอบการยึดเกาะและการกระจายตัวของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ เมื่อเติมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวด้วยกระบวนการทางความร้อนลงในอะลูมิเนียม พบว่ามีปริมาณของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่แทรกฝังอยู่ในเนื้อพื้นอะลูมิเนียม มีค่าเฉลี่ยใกล้เคียงกับการเติมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ไม่ผ่านการเตรียมผิว เมื่อนำชิ้นงานไปขัดด้วยกระดาษทรายเพื่อตรวจสอบโครงสร้างจุลภาคพบว่ามีการหลุดออกของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ สมบัติทางกลของอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวและไม่เตรียมผิว มีความสามารถในการรับแรงกระแทกมีค่าเท่ากับ 14.33 J และ 17 J ตามลำดับ ความสามารถในการรับแรงดึงมีค่าเท่ากับ 249.63 และ 256.44 MPa ตามลำดับ และค่าการทดสอบความแข็งมีค่าเท่ากับ 116.9 และ 117.2 HB ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าสมบัติทางกลของอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวและอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ไม่ผ่านการเตรียมผิวมีสมบัติทางกลไม่แตกต่างกัน จึงเห็นได้ว่าการเตรียมผิวด้วยกระบวนการทางความร้อนไม่มีผลต่อการกระจายตัวและการยึดเกาะในอะลูมิเนียม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
AC4C และวัสดุเสริมแรงคืออนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ขนาด 65 ไมครอน ที่อุณหภูมิ 1,000 และ 1,100 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 2, 4 และ 6 ชั่วโมงตามลำดับ และนำไปหลอมผสมกับอะลูมิเนียม 5% โดยน้ำหนัก ซึ่งขั้นตอนประกอบไปด้วยการกวนน้ำโลหะด้วยแรงทางกล 230 รอบต่อนาทีและเทผ่านรางเทมุม 45 องศา 14.33 เจเจและ 17 ตามลำดับ 249.63 และ 256.44 MPa ตามลำดับ 116.9 และ 117.2 ตามลำดับ HB


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ปริญญานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาการยึดเกาะของวัสดุเสริมแรงที่อยู่ในเนื้อพื้นวัสดุเนื้อพื้นอะลูมิเนียมเกรด ac4c และวัสดุเสริมแรงคืออนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ขนาดไมครอน 65ที่อุณหภูมิ 1000 และ 1100 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 และ 6 ชั่วโมงตามลำดับเพื่อเพิ่มความสามารถในการเปียกผิวของวัสดุเสริมแรงและนำไปหลอมผสมกับอะลูมิเนียม 5% โดยน้ำหนักด้วยกระบวนการขึ้นรูปโลหะแบบกึ่งแข็งซึ่งขั้นตอนประกอบไปด้วยการกวนน้ำโลหะด้วยแรงทางกล 230และเทผ่านรางเทมุม 45 องศาจากนั้นนำไปตรวจสอบการยึดเกาะและการกระจายตัวของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์และทดสอบสมบัติทางกล
เมื่อเติมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวด้วยกระบวนการทางความร้อนลงในอะลูมิเนียมพบว่ามีปริมาณของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่แทรกฝังอยู่ในเนื้อพื้นอะลูมิเนียมเมื่อนำชิ้นงานไปขัดด้วยกระดาษทรายเพื่อตรวจสอบโครงสร้างจุลภาคพบว่ามีการหลุดออกของอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์
สมบัติทางกลของอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวและไม่เตรียมผิวมีความสามารถในการรับแรงกระแทกมีค่าเท่ากับ 14.33 J และ 17 J ตามลำดับความสามารถในการรับแรงดึงมีค่าเท่ากับ 249.63 และ 256 .44 MPa ตามลำดับและค่าการทดสอบความแข็งมีค่าเท่ากับ 116.9 และ 1172 HB ตามลำดับจะเห็นได้ว่าสมบัติทางกลของอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ผ่านการเตรียมผิวและอะลูมิเนียมผสมอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ที่ไม่ผ่านการเตรียมผิวมีสมบัติทางกลไม่แตกต่างกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: