กลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจชาเขียวแบบ (RED OCEAN) “ใครดีใครอยู่”คงจะไม่มีก การแปล - กลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจชาเขียวแบบ (RED OCEAN) “ใครดีใครอยู่”คงจะไม่มีก ไทย วิธีการพูด

กลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจชาเขียวแบบ (

กลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจชาเขียวแบบ (RED OCEAN) “ใครดีใครอยู่”
คงจะไม่มีกระแสใดที่ตอนนี้มาแรงเท่ากับการชิงโชคที่กระหน่ำเปิดฝาและส่ง SMS แจกทอง หรือแจกทองกันเป็นแบบวินาทีต่อวินาที
กิจกรรมการให้ส่วนลด แลก แจก แถม เราเห็นตั้งแต่สมัยโบราณ อาจเป็นพื้นฐานของการตลาดที่จูงใจผู้บริโภคได้ดีที่สุด
“การใช้กลยุทธ์แบบแจกกันทุกนาที และเป็นกิจกรรมกระหน่ำ ซึ่งเราจะเห็นในยุคที่ทองคำเป็นสิ่งที่มีคุณค่า ดังนั้นกิจกรรมแบบนี้จึงเป็น Tool ที่ใช้ได้ผลของ Promotion Mix”
กิจกรรมชิงโชคของโออิชิและอิชิตัน คงจะเป็นกิจกรรมชิงโชคแบบสู้กันแบบ “กลยุทธ์ตามกันไป Strategic Follower ” จะรอว่าใครจะออกกลยุทธ์ก่อน และประกอบกับธรรมชาติของคนไทยที่จะชอบการเสี่ยงโชคแบบง่ายๆ โดยไม่ต้องพยายามมาก จึงทำให้กิจกรรมทางการตลาดแบบนี้ยังคงได้รับความนิยม กลยุทธ์ของชาเขียวเริ่มเป็นที่ฮือฮาตั้งแต่เปิดฝาพบโชคกับโออิชิ พบฝาพบโชคกับโออิชิ ซึ่งต้องบอกได้เลยว่าเป็นกลยุทธ์ที่เชือดเฉือนกันรุนแรง
การใช้กลยุทธ์มุ่งตรงแบบนี้ ในเชิงการตลาดอาจเรียกว่า “Frontal Attack” โดยใช้การเข้าตีแบบ ตีจุดแข็งคู่แข่ง เมื่อกลยุทธ์ที่คุณตันเคยวางเกมให้กับโออิชิ โดยใช้กลยุทธ์ 1 ฝา 1 ล้าน ได้ผล มาถึงทีที่คุณตันจะออกอิชิตันบ้าง กลยุทธ์แบบนี้จึงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรที่คุณตันจะนำกลับมาใช้บ้าง เพียงแต่ต่างวาระเท่านั้น
อาจจะเป็นเรื่องศักดิ์ศรีที่เคยมีระหว่างโออิชิกับคุณตันมากกว่า จึงเกิดเกมทางการตลาดที่แบบไม่มีใครยอมใคร
การใช้กลยุทธ์แบบ Frontal Attack คือตีตรงกับคู่แข่งเลย โดยใช้จุดแข็งเข้ามาห้ำหั่นกัน ซึ่งผลสุดท้ายเกมแบบนี้ ผู้ที่ได้รับประโยชน์ก็คือผู้บริโภค และแน่นอนคงต้องมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจจะสูญเสียไปได้
เกมแบบนี้หรือที่เรียกว่า Zero-Sum Game โดยต่างฝ่ายต่างไม่ยอมซึ่งกันและกัน ซึ่งเกมแบบนี้ต่างฝ่ายต่างใช้กลยุทธ์ห้ำหั่น โดยถือว่าเมื่อฝ่ายหนึ่งได้ อีกฝ่ายจะเสียประโยชน์
หากเราจะดูลักษณะกิจกรรมลด แลก แจก แถม แบบไม่มีใครยอมใครแบบนี้แล้ว อาจจะเปลี่ยน Lifestyle คนไทยที่ต้องซื้อของทุกอย่าง ซื้อเพราะ Option ที่มีหรือซื้อเพราะมีกิจกรรมมากกว่าเหตุผลในการบริโภค
การตลาด บางครั้งจะเป็นตัวขับเคลื่อนหรือปรับพฤติกรรมผู้บริโภคพอสมควร ดังนั้นกลยุทธ์ที่ใช้กันแบบไม่มีใครยอมใครคงจะเข้าทางคนไทยที่ชอบลุ้น
เมื่อการแข่งขันที่มีแต่ใช้วิธีลด แลก แจก แถม จนเป็นความเคยชินไปแล้ว ไม่นานคงจะถึงจุดที่การแถมเป็นเรื่องธรรมดาซึ่งไม่มีอะไรที่แตกต่าง และอาจถึงจุดอิ่มตัว เพราะสิ่งที่ให้นั้นเป็นกิจกรรมมุกเดิมๆ จนผู้บริโภคเห็นเป็นเรื่องปกติ
ดังนั้นในการแข่งขันในอนาคต หากคู่กัดระหว่าง โออิชิ กับ อิชิตัน เล่นเกมแข่งขันแบบนี้ไปเรื่อยๆ อาจมีกิจกรรมอะไรแปลกที่จะดึงความอยากของผู้บริโภคได้เรื่อยๆ
คงจะไม่มีอะไรที่ทำกิจกรรมทางการตลาดได้มากมายเท่าการแข่งขันในธุรกิจชาเขียวในปัจจุบัน ทั้งกลยุทธ์ที่ทำกันแบบไม่ยอมเสียหน้าเลย คงจะกลับเข้ามาสู่ยุคที่เป็นลักษณะ Red Ocean อีกครั้ง ในสงครามธุรกิจชาเขียว ซึ่งใช้กลยุทธ์แบบลด แลกแจก แถม และมุ่งเน้นเอาชนะเหนือคู่แข่ง
ซึ่งมองดูแล้วการแข่งขันทางธุรกิจที่เราพบเห็นในปัจจุบันล้วนแต่ถูกจัดเป็น Red Ocean ทั้งสิ้น เนื่องจากธุรกิจหรืออุตสาหกรรมแต่ละรายที่มุ่งเน้นในการเอาชนะคู่แข่งอื่นๆ เพื่อแย่งลูกค้ามาให้ได้มากที่สุด และให้ได้กำไรมากที่สุด แนวทางที่สำคัญยิ่งคือการเอาชนะคู่แข่งให้ได้ หรือเหนือกว่าคู่แข่ง Competitive Advantage
สำคัญคือจะต้องมองดูว่าคู่แข่งเราทำอะไรบ้าง สินค้าหรือบริการของคู่แข่งมีอะไร และเมื่อคู่แข่งออกสินค้าหรือบริการอะไรใหม่ออกมา ก็จะออกมาบ้างเพื่อไม่ให้น้อยหน้าคู่แข่ง วงจรแบบนี้จะเกิดขึ้นเรื่อยๆ และในที่สุดสินค้าและบริการในอุตสาหกรรมก็จะมีลักษณะที่เหมือนๆ กัน หรือทำตามกัน หรือที่เราเรียกว่า “Me too Product” ไม่เกิดความแตกต่าง รอแต่คู่แข่งออกกลยุทธ์ สินค้า บริการ อะไรก็จะทำตามแบบ “Imitator” นักลอกเลียนแบบไปเลย
และเมื่อไม่เกิดความแตกต่างหรือ “Un-Differentiation” ก็นำไปสู่การแข่งขันด้านราคา หรือ “Price-Discount Strategy” และสิ่งที่ตามมาก็คือ “Cheaper-goods Strategy”
“ที่หนักคืออาจจะเข้าไปถึงขนาดที่เรียกว่า “การแข่งขันแบบสงครามกองโจร” หรือ “Guerrilla Strategy” ที่ต่อสู้กันแบบตัดราคา, ปล่อยข่าวลือ, แย่งเอเย่นต์, แย่งผู้บริหารและหนักที่สุด คือ ผิดจรรยาบรรณธุรกิจ สู้กันแบบเลือดออกซิบๆ จนเป็นทะเลแดง “Red Ocean”
แต่ไม่ใช่เป็นแบบนี้ในทุกธุรกิจ เพราะยังมีหลายธุรกิจเน้นการตอบสนองความต้องการลูกค้า ต่อองค์กร ต่อตนเอง หรือ Blue Ocean เช่นกัน บางองค์กรหรือบางอุตสาหกรรมก็อาจไม่มุ่งเน้นการแข่งขันแล้ว เพราะ Brand ติดหู ติดตา และติดใจไปแล้ว หรือ Top of Mind Brand คือเป็น Brand ที่เข้มแข็งพอจนสามารถคืนกลับให้สังคม หรือ CSR (Corporate Social Responsibility) ซึ่งเป็นกระแสฮิตในการรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม แต่สิ่งที่สำคัญต้องไม่แฝงในเรื่องการหากำไรมากไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจชาเขียวแบบ "ใครดีใครอยู่" (RED OCEAN)คงจะไม่มีกระแสใดที่ตอนนี้มาแรงเท่ากับการชิงโชคที่กระหน่ำเปิดฝาและส่ง SMS แจกทองหรือแจกทองกันเป็นแบบวินาทีต่อวินาทีกิจกรรมการให้ส่วนลดแลกแจกแถมเราเห็นตั้งแต่สมัยโบราณอาจเป็นพื้นฐานของการตลาดที่จูงใจผู้บริโภคได้ดีที่สุด"การใช้กลยุทธ์แบบแจกกันทุกนาทีและเป็นกิจกรรมกระหน่ำซึ่งเราจะเห็นในยุคที่ทองคำเป็นสิ่งที่มีคุณค่าดังนั้นกิจกรรมแบบนี้จึงเป็นมือที่ใช้ได้ผลของโปรโมชั่นผสม"กิจกรรมชิงโชคของโออิชิและอิชิตันคงจะเป็นกิจกรรมชิงโชคแบบสู้กันแบบ "กลยุทธ์ตามกันไปหล่อเชิงกลยุทธ์" จะรอว่าใครจะออกกลยุทธ์ก่อนและประกอบกับธรรมชาติของคนไทยที่จะชอบการเสี่ยงโชคแบบง่าย ๆ โดยไม่ต้องพยายามมากจึงทำให้กิจกรรมทางการตลาดแบบนี้ยังคงได้รับความนิยมกลยุทธ์ของชาเขียวเริ่มเป็นที่ฮือฮาตั้งแต่เปิดฝาพบโชคกับโออิชิพบฝาพบโชคกับโออิชิซึ่งต้องบอกได้เลยว่าเป็นกลยุทธ์ที่เชือดเฉือนกันรุนแรงการใช้กลยุทธ์มุ่งตรงแบบนี้ในเชิงการตลาดอาจเรียกว่า "หน้าผากโจมตี" โดยใช้การเข้าตีแบบตีจุดแข็งคู่แข่งเมื่อกลยุทธ์ที่คุณตันเคยวางเกมให้กับโออิชิโดยใช้กลยุทธ์ 1 ฝา 1 ล้านได้ผลมาถึงทีที่คุณตันจะออกอิชิตันบ้างกลยุทธ์แบบนี้จึงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรที่คุณตันจะนำกลับมาใช้บ้างเพียงแต่ต่างวาระเท่านั้นอาจจะเป็นเรื่องศักดิ์ศรีที่เคยมีระหว่างโออิชิกับคุณตันมากกว่าจึงเกิดเกมทางการตลาดที่แบบไม่มีใครยอมใครการใช้กลยุทธ์แบบโจมตีหน้าผากคือตีตรงกับคู่แข่งเลยโดยใช้จุดแข็งเข้ามาห้ำหั่นกันซึ่งผลสุดท้ายเกมแบบนี้ผู้ที่ได้รับประโยชน์ก็คือผู้บริโภคและแน่นอนคงต้องมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจจะสูญเสียไปได้เกมแบบนี้หรือที่เรียกว่าศูนย์–รวมเกมโดยต่างฝ่ายต่างไม่ยอมซึ่งกันและกันซึ่งเกมแบบนี้ต่างฝ่ายต่างใช้กลยุทธ์ห้ำหั่นโดยถือว่าเมื่อฝ่ายหนึ่งได้อีกฝ่ายจะเสียประโยชน์หากเราจะดูลักษณะกิจกรรมลดแลกแจกแถมแบบไม่มีใครยอมใครแบบนี้แล้วอาจจะเปลี่ยนชีวิตคนไทยที่ต้องซื้อของทุกอย่างซื้อเพราะตัวเลือกที่มีหรือซื้อเพราะมีกิจกรรมมากกว่าเหตุผลในการบริโภคการตลาดบางครั้งจะเป็นตัวขับเคลื่อนหรือปรับพฤติกรรมผู้บริโภคพอสมควรดังนั้นกลยุทธ์ที่ใช้กันแบบไม่มีใครยอมใครคงจะเข้าทางคนไทยที่ชอบลุ้นเมื่อการแข่งขันที่มีแต่ใช้วิธีลดแลกแจกแถมจนเป็นความเคยชินไปแล้วไม่นานคงจะถึงจุดที่การแถมเป็นเรื่องธรรมดาซึ่งไม่มีอะไรที่แตกต่างและอาจถึงจุดอิ่มตัวเพราะสิ่งที่ให้นั้นเป็นกิจกรรมมุกเดิม ๆ จนผู้บริโภคเห็นเป็นเรื่องปกติดังนั้นในการแข่งขันในอนาคตหากคู่กัดระหว่างโออิชิดื่มด่ำอิชิตันเล่นเกมแข่งขันแบบนี้ไปเรื่อย ๆ อาจมีกิจกรรมอะไรแปลกที่จะดึงความอยากของผู้บริโภคได้เรื่อย ๆคงจะไม่มีอะไรที่ทำกิจกรรมทางการตลาดได้มากมายเท่าการแข่งขันในธุรกิจชาเขียวในปัจจุบันทั้งกลยุทธ์ที่ทำกันแบบไม่ยอมเสียหน้าเลยคงจะกลับเข้ามาสู่ยุคที่เป็นลักษณะเรดโอเชี่ยนอีกครั้งในสงครามธุรกิจชาเขียวซึ่งใช้กลยุทธ์แบบลดแลกแจกแถมและมุ่งเน้นเอาชนะเหนือคู่แข่งซึ่งมองดูแล้วการแข่งขันทางธุรกิจที่เราพบเห็นในปัจจุบันล้วนแต่ถูกจัดเป็นทะเลแดงทั้งสิ้นเนื่องจากธุรกิจหรืออุตสาหกรรมแต่ละรายที่มุ่งเน้นในการเอาชนะคู่แข่งอื่น ๆ เพื่อแย่งลูกค้ามาให้ได้มากที่สุดและให้ได้กำไรมากที่สุดแนวทางที่สำคัญยิ่งคือการเอาชนะคู่แข่งให้ได้หรือเหนือกว่าคู่แข่งเปรียบสำคัญคือจะต้องมองดูว่าคู่แข่งเราทำอะไรบ้างสินค้าหรือบริการของคู่แข่งมีอะไรและเมื่อคู่แข่งออกสินค้าหรือบริการอะไรใหม่ออกมาก็จะออกมาบ้างเพื่อไม่ให้น้อยหน้าคู่แข่งวงจรแบบนี้จะเกิดขึ้นเรื่อย ๆ และในที่สุดสินค้าและบริการในอุตสาหกรรมก็จะมีลักษณะที่เหมือน ๆ กันหรือทำตามกันหรือที่เราเรียกว่า "ฉันเกินไปสินค้า" ไม่เกิดความแตกต่างรอแต่คู่แข่งออกกลยุทธ์สินค้าบริการอะไรก็จะทำตามแบบ "Imitator" นักลอกเลียนแบบไปเลยและเมื่อไม่เกิดความแตกต่างหรือ "สหประชาชาติสร้างความแตกต่าง" ก็นำไปสู่การแข่งขันด้านราคาหรือ "กลยุทธ์ราคาส่วนลด" และสิ่งที่ตามมาก็คือ "ราคาถูกกว่าสินค้ากลยุทธ์""ที่หนักคืออาจจะเข้าไปถึงขนาดที่เรียกว่า"การแข่งขันแบบสงครามกองโจร"หรือ"กลยุทธ์กองโจร"ที่ต่อสู้กันแบบตัดราคา ปล่อยข่าวลือ แย่งเอเย่นต์ แย่งผู้บริหารและหนักที่สุดคือผิดจรรยาบรรณธุรกิจสู้กันแบบเลือดออกซิบ ๆ จนเป็นทะเลแดง"เรดโอเชี่ยน"แต่ไม่ใช่เป็นแบบนี้ในทุกธุรกิจเพราะยังมีหลายธุรกิจเน้นการตอบสนองความต้องการลูกค้าต่อองค์กรต่อตนเองหรือบลูโอเชี่ยนเช่นกันบางองค์กรหรือบางอุตสาหกรรมก็อาจไม่มุ่งเน้นการแข่งขันแล้วเพราะแบรนด์ติดหูติดตาและติดใจไปแล้วหรือบนใจแบรนด์คือเป็นยี่ห้อที่เข้มแข็งพอจนสามารถคืนกลับให้สังคมหรือ CSR (Corporate Social Responsibility) ซึ่งเป็นกระแสฮิตในการรับผิดชอบต่อสังคมสิ่งแวดล้อมแต่สิ่งที่สำคัญต้องไม่แฝงในเรื่องการหากำไรมากไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
กลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจชาเขียวแบบ (RED OCEAN) “ใครดีใครอยู่”
คงจะไม่มีกระแสใดที่ตอนนี้มาแรงเท่ากับการชิงโชคที่กระหน่ำเปิดฝาและส่ง SMS แจกทอง หรือแจกทองกันเป็นแบบวินาทีต่อวินาที
กิจกรรมการให้ส่วนลด แลก แจก แถม เราเห็นตั้งแต่สมัยโบราณ อาจเป็นพื้นฐานของการตลาดที่จูงใจผู้บริโภคได้ดีที่สุด
“การใช้กลยุทธ์แบบแจกกันทุกนาที และเป็นกิจกรรมกระหน่ำ ซึ่งเราจะเห็นในยุคที่ทองคำเป็นสิ่งที่มีคุณค่า ดังนั้นกิจกรรมแบบนี้จึงเป็น Tool ที่ใช้ได้ผลของ Promotion Mix”
กิจกรรมชิงโชคของโออิชิและอิชิตัน คงจะเป็นกิจกรรมชิงโชคแบบสู้กันแบบ “กลยุทธ์ตามกันไป Strategic Follower ” จะรอว่าใครจะออกกลยุทธ์ก่อน และประกอบกับธรรมชาติของคนไทยที่จะชอบการเสี่ยงโชคแบบง่ายๆ โดยไม่ต้องพยายามมาก จึงทำให้กิจกรรมทางการตลาดแบบนี้ยังคงได้รับความนิยม กลยุทธ์ของชาเขียวเริ่มเป็นที่ฮือฮาตั้งแต่เปิดฝาพบโชคกับโออิชิ พบฝาพบโชคกับโออิชิ ซึ่งต้องบอกได้เลยว่าเป็นกลยุทธ์ที่เชือดเฉือนกันรุนแรง
การใช้กลยุทธ์มุ่งตรงแบบนี้ ในเชิงการตลาดอาจเรียกว่า “Frontal Attack” โดยใช้การเข้าตีแบบ ตีจุดแข็งคู่แข่ง เมื่อกลยุทธ์ที่คุณตันเคยวางเกมให้กับโออิชิ โดยใช้กลยุทธ์ 1 ฝา 1 ล้าน ได้ผล มาถึงทีที่คุณตันจะออกอิชิตันบ้าง กลยุทธ์แบบนี้จึงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรที่คุณตันจะนำกลับมาใช้บ้าง เพียงแต่ต่างวาระเท่านั้น
อาจจะเป็นเรื่องศักดิ์ศรีที่เคยมีระหว่างโออิชิกับคุณตันมากกว่า จึงเกิดเกมทางการตลาดที่แบบไม่มีใครยอมใคร
การใช้กลยุทธ์แบบ Frontal Attack คือตีตรงกับคู่แข่งเลย โดยใช้จุดแข็งเข้ามาห้ำหั่นกัน ซึ่งผลสุดท้ายเกมแบบนี้ ผู้ที่ได้รับประโยชน์ก็คือผู้บริโภค และแน่นอนคงต้องมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจจะสูญเสียไปได้
เกมแบบนี้หรือที่เรียกว่า Zero-Sum Game โดยต่างฝ่ายต่างไม่ยอมซึ่งกันและกัน ซึ่งเกมแบบนี้ต่างฝ่ายต่างใช้กลยุทธ์ห้ำหั่น โดยถือว่าเมื่อฝ่ายหนึ่งได้ อีกฝ่ายจะเสียประโยชน์
หากเราจะดูลักษณะกิจกรรมลด แลก แจก แถม แบบไม่มีใครยอมใครแบบนี้แล้ว อาจจะเปลี่ยน Lifestyle คนไทยที่ต้องซื้อของทุกอย่าง ซื้อเพราะ Option ที่มีหรือซื้อเพราะมีกิจกรรมมากกว่าเหตุผลในการบริโภค
การตลาด บางครั้งจะเป็นตัวขับเคลื่อนหรือปรับพฤติกรรมผู้บริโภคพอสมควร ดังนั้นกลยุทธ์ที่ใช้กันแบบไม่มีใครยอมใครคงจะเข้าทางคนไทยที่ชอบลุ้น
เมื่อการแข่งขันที่มีแต่ใช้วิธีลด แลก แจก แถม จนเป็นความเคยชินไปแล้ว ไม่นานคงจะถึงจุดที่การแถมเป็นเรื่องธรรมดาซึ่งไม่มีอะไรที่แตกต่าง และอาจถึงจุดอิ่มตัว เพราะสิ่งที่ให้นั้นเป็นกิจกรรมมุกเดิมๆ จนผู้บริโภคเห็นเป็นเรื่องปกติ
ดังนั้นในการแข่งขันในอนาคต หากคู่กัดระหว่าง โออิชิ กับ อิชิตัน เล่นเกมแข่งขันแบบนี้ไปเรื่อยๆ อาจมีกิจกรรมอะไรแปลกที่จะดึงความอยากของผู้บริโภคได้เรื่อยๆ
คงจะไม่มีอะไรที่ทำกิจกรรมทางการตลาดได้มากมายเท่าการแข่งขันในธุรกิจชาเขียวในปัจจุบัน ทั้งกลยุทธ์ที่ทำกันแบบไม่ยอมเสียหน้าเลย คงจะกลับเข้ามาสู่ยุคที่เป็นลักษณะ Red Ocean อีกครั้ง ในสงครามธุรกิจชาเขียว ซึ่งใช้กลยุทธ์แบบลด แลกแจก แถม และมุ่งเน้นเอาชนะเหนือคู่แข่ง
ซึ่งมองดูแล้วการแข่งขันทางธุรกิจที่เราพบเห็นในปัจจุบันล้วนแต่ถูกจัดเป็น Red Ocean ทั้งสิ้น เนื่องจากธุรกิจหรืออุตสาหกรรมแต่ละรายที่มุ่งเน้นในการเอาชนะคู่แข่งอื่นๆ เพื่อแย่งลูกค้ามาให้ได้มากที่สุด และให้ได้กำไรมากที่สุด แนวทางที่สำคัญยิ่งคือการเอาชนะคู่แข่งให้ได้ หรือเหนือกว่าคู่แข่ง Competitive Advantage
สำคัญคือจะต้องมองดูว่าคู่แข่งเราทำอะไรบ้าง สินค้าหรือบริการของคู่แข่งมีอะไร และเมื่อคู่แข่งออกสินค้าหรือบริการอะไรใหม่ออกมา ก็จะออกมาบ้างเพื่อไม่ให้น้อยหน้าคู่แข่ง วงจรแบบนี้จะเกิดขึ้นเรื่อยๆ และในที่สุดสินค้าและบริการในอุตสาหกรรมก็จะมีลักษณะที่เหมือนๆ กัน หรือทำตามกัน หรือที่เราเรียกว่า “Me too Product” ไม่เกิดความแตกต่าง รอแต่คู่แข่งออกกลยุทธ์ สินค้า บริการ อะไรก็จะทำตามแบบ “Imitator” นักลอกเลียนแบบไปเลย
และเมื่อไม่เกิดความแตกต่างหรือ “Un-Differentiation” ก็นำไปสู่การแข่งขันด้านราคา หรือ “Price-Discount Strategy” และสิ่งที่ตามมาก็คือ “Cheaper-goods Strategy”
“ที่หนักคืออาจจะเข้าไปถึงขนาดที่เรียกว่า “การแข่งขันแบบสงครามกองโจร” หรือ “Guerrilla Strategy” ที่ต่อสู้กันแบบตัดราคา, ปล่อยข่าวลือ, แย่งเอเย่นต์, แย่งผู้บริหารและหนักที่สุด คือ ผิดจรรยาบรรณธุรกิจ สู้กันแบบเลือดออกซิบๆ จนเป็นทะเลแดง “Red Ocean”
แต่ไม่ใช่เป็นแบบนี้ในทุกธุรกิจ เพราะยังมีหลายธุรกิจเน้นการตอบสนองความต้องการลูกค้า ต่อองค์กร ต่อตนเอง หรือ Blue Ocean เช่นกัน บางองค์กรหรือบางอุตสาหกรรมก็อาจไม่มุ่งเน้นการแข่งขันแล้ว เพราะ Brand ติดหู ติดตา และติดใจไปแล้ว หรือ Top of Mind Brand คือเป็น Brand ที่เข้มแข็งพอจนสามารถคืนกลับให้สังคม หรือ CSR (Corporate Social Responsibility) ซึ่งเป็นกระแสฮิตในการรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม แต่สิ่งที่สำคัญต้องไม่แฝงในเรื่องการหากำไรมากไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
กลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจชาเขียวแบบ ( ทะเลสีแดง ) " ใครดีใครอยู่ "

คงจะไม่มีกระแสใดที่ตอนนี้มาแรงเท่ากับการชิงโชคที่กระหน่ำเปิดฝาและส่ง SMS แจกทองหรือแจกทองกันเป็นแบบวินาทีต่อวินาทีกิจกรรมการให้ส่วนลดแลกแจกแถมเราเห็นตั้งแต่สมัยโบราณอาจเป็นพื้นฐานของการตลาดที่จูงใจผู้บริโภคได้ดีที่สุด
" ผสม " ส่งเสริมที่ใช้ได้ผลของการใช้กลยุทธ์แบบแจกกันทุกนาทีและเป็นกิจกรรมกระหน่ำซึ่งเราจะเห็นในยุคที่ทองคำเป็นสิ่งที่มีคุณค่า
ดังนั้นกิจกรรมแบบนี้จึงเป็นเครื่องมือกิจกรรมชิงโชคของโออิชิและอิชิตันคงจะเป็นกิจกรรมชิงโชคแบบสู้กันแบบ " กลยุทธ์ตามกันไปกลยุทธ์ผู้ตาม " จะรอว่าใครจะออกกลยุทธ์ก่อนและประกอบกับธรรมชาติของคนไทยที่จะชอบการเสี่ยงโชคแบบง่ายๆโดยไม่ต้องพยายามมากกลยุทธ์ของชาเขียวเริ่มเป็นที่ฮือฮาตั้งแต่เปิดฝาพบโชคกับโออิชิพบฝาพบโชคกับโออิชิซึ่งต้องบอกได้เลยว่าเป็นกลยุทธ์ที่เชือดเฉือนกันรุนแรง
การใช้กลยุทธ์มุ่งตรงแบบนี้ในเชิงการตลาดอาจเรียกว่า " โจมตีหน้าผาก " โดยใช้การเข้าตีแบบตีจุดแข็งคู่แข่งเมื่อกลยุทธ์ที่คุณตันเคยวางเกมให้กับโออิชิโดยใช้กลยุทธ์ 1 ฝา 1 ล้านได้ผลมาถึงทีที่คุณตันจะออกอิชิตันบ้างเพียงแต่ต่างวาระเท่านั้น
อาจจะเป็นเรื่องศักดิ์ศรีที่เคยมีระหว่างโออิชิกับคุณตันมากกว่าจึงเกิดเกมทางการตลาดที่แบบไม่มีใครยอมใคร
การใช้กลยุทธ์แบบโจมตีหน้าผากคือตีตรงกับคู่แข่งเลยโดยใช้จุดแข็งเข้ามาห้ำหั่นกันซึ่งผลสุดท้ายเกมแบบนี้ผู้ที่ได้รับประโยชน์ก็คือผู้บริโภคและแน่นอนคงต้องมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจจะสูญเสียไปได้
เกมแบบนี้หรือที่เรียกว่าเกมศูนย์โดยต่างฝ่ายต่างไม่ยอมซึ่งกันและกันซึ่งเกมแบบนี้ต่างฝ่ายต่างใช้กลยุทธ์ห้ำหั่นโดยถือว่าเมื่อฝ่ายหนึ่งได้อีกฝ่ายจะเสียประโยชน์
หากเราจะดูลักษณะกิจกรรมลดแลกแจกแถมแบบไม่มีใครยอมใครแบบนี้แล้วอาจจะเปลี่ยนวิถีชีวิตคนไทยที่ต้องซื้อของทุกอย่างซื้อเพราะตัวเลือกที่มีหรือซื้อเพราะมีกิจกรรมมากกว่าเหตุผลในการบริโภค
การตลาดบางครั้งจะเป็นตัวขับเคลื่อนหรือปรับพฤติกรรมผู้บริโภคพอสมควรดังนั้นกลยุทธ์ที่ใช้กันแบบไม่มีใครยอมใครคงจะเข้าทางคนไทยที่ชอบลุ้น
เมื่อการแข่งขันที่มีแต่ใช้วิธีลดแลกแจกแถมจนเป็นความเคยชินไปแล้วไม่นานคงจะถึงจุดที่การแถมเป็นเรื่องธรรมดาซึ่งไม่มีอะไรที่แตกต่างและอาจถึงจุดอิ่มตัวเพราะสิ่งที่ให้นั้นเป็นกิจกรรมมุกเดิมๆดังนั้นในการแข่งขันในอนาคตหากคู่กัดระหว่างโออิชิกับอิชิตันเล่นเกมแข่งขันแบบนี้ไปเรื่อยๆอาจมีกิจกรรมอะไรแปลกที่จะดึงความอยากของผู้บริโภคได้เรื่อยๆ
คงจะไม่มีอะไรที่ทำกิจกรรมทางการตลาดได้มากมายเท่าการแข่งขันในธุรกิจชาเขียวในปัจจุบันทั้งกลยุทธ์ที่ทำกันแบบไม่ยอมเสียหน้าเลยคงจะกลับเข้ามาสู่ยุคที่เป็นลักษณะอีกครั้งในสงครามธุรกิจชาเขียวมหาสมุทรสีแดงแลกแจกแถมและมุ่งเน้นเอาชนะเหนือคู่แข่ง
ซึ่งมองดูแล้วการแข่งขันทางธุรกิจที่เราพบเห็นในปัจจุบันล้วนแต่ถูกจัดเป็นทั้งสิ้นเนื่องจากธุรกิจหรืออุตสาหกรรมแต่ละรายที่มุ่งเน้นในการเอาชนะคู่แข่งอื่นๆเพื่อแย่งลูกค้ามาให้ได้มากที่สุดมหาสมุทรสีแดงแนวทางที่สำคัญยิ่งคือการเอาชนะคู่แข่งให้ได้
หรือเหนือกว่าคู่แข่งความได้เปรียบทางการแข่งขันสำคัญคือจะต้องมองดูว่าคู่แข่งเราทำอะไรบ้างสินค้าหรือบริการของคู่แข่งมีอะไรและเมื่อคู่แข่งออกสินค้าหรือบริการอะไรใหม่ออกมาก็จะออกมาบ้างเพื่อไม่ให้น้อยหน้าคู่แข่งวงจรแบบนี้จะเกิดขึ้นเรื่อยๆ' หรือทำตามกันหรือที่เราเรียกว่า " ผมด้วยผลิตภัณฑ์ " ไม่เกิดความแตกต่างรอแต่คู่แข่งออกกลยุทธ์สินค้าบริการอะไรก็จะทำตามแบบ " เลียนแบบ " นักลอกเลียนแบบไปเลย
และเมื่อไม่เกิดความแตกต่างหรือ " และการ " ก็นำไปสู่การแข่งขันด้านราคาค็อค " กลยุทธ์ " ราคา " ถูกกว่า สินค้าที่ใช้กลยุทธ์ "
และสิ่งที่ตามมาก็คือ" ที่หนักคืออาจจะเข้าไปถึงขนาดที่เรียกว่า " การแข่งขันแบบสงครามกองโจร " ค็อค " กลยุทธ์ " กองโจรที่ต่อสู้กันแบบตัดราคาปล่อยข่าวลือแย่งเอเย่นต์ , , ,แย่งผู้บริหารและหนักที่สุดความผิดจรรยาบรรณธุรกิจสู้กันแบบเลือดออกซิบๆจนเป็นทะเลแดง
" มหาสมุทร " สีแดงแต่ไม่ใช่เป็นแบบนี้ในทุกธุรกิจเพราะยังมีหลายธุรกิจเน้นการตอบสนองความต้องการลูกค้าต่อองค์กรต่อตนเองค็อค บลูโอเชี่ยน เช่นกันบางองค์กรหรือบางอุตสาหกรรมก็อาจไม่มุ่งเน้นการแข่งขันแล้วเพราะติดหูติดตาแบรนด์ค็อคด้านบนของจิตใจคือเป็นแบรนด์แบรนด์ที่เข้มแข็งพอจนสามารถคืนกลับให้สังคมค็อค CSR ( ความรับผิดชอบต่อสังคม ) ซึ่งเป็นกระแสฮิตในการรับผิดชอบต่อสังคมสิ่งแวดล้อมแต่สิ่งที่สำคัญต้องไม่แฝงในเรื่องการหากำไรมากไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: